คิดเรื่อง ไม่ใช่รู้ที่ลักษณะ
ผู้ฟัง เรียนใหม่ๆ ขั้นต้นก็ต้องเป็นชื่อ เรื่องราวทั้งหมด และจะกลายเป็นหายไปได้อย่างไรครับ หรือเพิ่มความเข้าใจ
ท่านอาจารย์ คือแต่ก่อนเราเรียนชื่อ แต่ชื่อนั้นชื่อของอะไร อย่างเราใช้คำว่า “จิต” เป็นชื่อของอะไร เป็นชื่อของสภาพธรรมที่มีจริงๆ ซึ่งเป็นธาตุรู้หรือสภาพรู้ เพราะฉะนั้นเราไม่ไปติดที่คำว่า “จิต” เปลี่ยนชื่อจิตเป็น “วิญญาณ” ก็ได้ เป็น “มโน” ก็ได้ เป็นอะไรก็ได้ แต่หมายความถึงสภาพที่รู้ เวลาที่จิตเกิด ต้องรู้ ไม่รู้ไม่ได้ ถ้าเรายืนหยัดอย่างนี้ เวลานอนหลับ มีจิตไหม มี ขณะนอนหลับ จิตรู้อารมณ์ไหม ต้องรู้ คือจะเปลี่ยนไม่ได้เลย จิตเป็นสภาพรู้ ก็ต้องเป็นสภาพรู้ แต่อารมณ์ในขณะที่นอนหลับไม่ปรากฏ เพราะเป็นภวังค์ สืบต่อจากปฏิสนธิ ซึ่งสืบต่อมาจากจิตใกล้จะตายของชาติก่อน
เพราะฉะนั้นภวังคจิตเราก็เข้าใจ ถ้ามีคนบอกเราว่า ไม่ได้อาศัยตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็สามารถรู้อารมณ์ได้ เพราะว่าจิตเป็นสภาพที่ต้องรู้ คือ ทุกอย่างต้องเข้ากัน กลมกลืนกัน จึงจะเป็นความถูกต้อง ถ้าไปติดขัด ตันตรงหนึ่งตรงไหน ก็แปลว่า ขณะนั้นไม่ถูก ไม่ใช่ความเข้าใจถูก
ยิ่งเรียนก็ยิ่งเข้าใจว่า แต่ละคำ หมายความถึงสภาพธรรม หรือว่าเป็นแต่เพียงบัญญัติเรื่องราว
ผู้ฟัง หมายความว่าพอเข้าใจสภาพจิต เจตสิกก็ทำงานกันไปเองหรือครับ
ท่านอาจารย์ เวลานี้ทำอยู่แล้วค่ะ แต่ทีนี้เราไม่รู้ว่า เป็นจิต เป็นเจตสิก เราไม่ได้แยก ๒ อย่าง แต่เวลาที่ศึกษา เราก็สามารถแยกได้ว่า จิตเป็นใหญ่ เป็นประธานในการรู้อย่างเดียว ไม่จำ ไม่โกรธ ไม่รัก ไม่ชัง นี่คือหน้าที่ของจิต คือ เป็นใหญ่ สามารถจะรู้ว่า สิ่งที่ปรากฏขณะนี้มีลักษณะอย่างไร ทางตาที่กำลังปรากฏ ปรากฏกับจิต เวลาที่เสียงปรากฏ เสียงมีตั้งหลายเสียง แต่จิตสามารถรู้ทุกเสียงได้ คือ จิตเขาเป็นใหญ่ เป็นประธานในการรู้แจ้ง รู้ชัดในลักษณะต่างๆ ของอารมณ์ แต่ไม่ใช่ปัญญา ปัญญาเป็นความเห็นถูก ความเข้าใจถูกว่าไม่ใช่เรา เป็นสภาพธรรม
ผู้ฟัง ตอนที่ถามตอนต้นๆ ที่ไปนึกว่า ตรงนี้แข็ง ตรงนี้อะไร
ท่านอาจารย์ เป็นชื่อ
ผู้ฟัง อาจารย์ก็บอกว่า ก็ยังดีกว่าไปคิดเรื่องอื่น ใช่ไหมครับ
ท่านอาจารย์ ค่ะ ที่ไม่ได้คิดเรื่องจิต เจตสิก รูป
ผู้ฟัง ก็คล้ายๆ เราติดที่เคยปฏิบัติธรรม meditation ก็ไปกำหนดรู้อะไรพวกนี้
ท่านอาจารย์ อันนี้หมายความว่า ทุกคนห้ามความคิดไม่ได้ ต้องคิดเรื่อยๆ แต่ทีนี้เราเคยคิดเรื่องคนนั้น คนนี้ สิ่งนั้นสิ่งนี้ พอเราได้ฟังธรรม ก็เกิดคิดเรื่องจิตบ้าง คิดเรื่องเจตสิกบ้าง แต่คนนั้นก็จะต้องรู้ว่า ขณะนั้นเป็นเพียงความคิด ไม่ใช่การระลึกลักษณะ คือ ปัญญาจะต้องรู้ทั่วทุกขณะเพิ่มขึ้น
ผู้ฟัง ก็เลยติดกลายเป็นนิสัยว่า ต้องไปกำหนดรู้อย่างนั้นหรือเปล่าครับ
ท่านอาจารย์ เพราะฉะนั้นปัญญาถึงต้องเพิ่มขึ้นที่จะรู้ว่า ขณะนั้นไม่ใช่การรู้ลักษณะ เป็นการคิดเรื่องสภาพธรรม นี่ต้องแยก ลักษณะที่แข็ง นี่ลักษณะแข็ง แต่ถ้าบอกว่า แข็งเป็นรูป นั่นคือไปนึกถึงชื่อ คำ
เพราะฉะนั้นขณะต่อไปก็ต้องรู้ว่า ขณะนั้นไม่ใช่สติปัฏฐานที่กำลังรู้คำ รู้คำต้องมีลักษณะที่ปรากฏ แล้วจริงๆ ลักษณะที่แข็งเกิดดับ แต่ต้องรู้ด้วยปัญญา เราเหมือนกับมีอยู่ตลอดเวลา แต่ความจริงไม่ใช่ ต้องเกิดจึงปรากฏ กระทบได้ แล้วก็ดับทันที
ฟังแล้วเหมือนเป็นเหตุผลที่ถูก แต่ประจักษ์จริงๆ ก็ต้องอย่างนี้
ผู้ฟัง เรียนใหม่ๆ ขั้นต้นก็ต้องเป็นชื่อ เรื่องราวทั้งหมด และจะกลายเป็นหายไปได้อย่างไรครับ หรือเพิ่มความเข้าใจ
ท่านอาจารย์ คือแต่ก่อนเราเรียนชื่อ แต่ชื่อนั้นชื่อของอะไร อย่างเราใช้คำว่า “จิต” เป็นชื่อของอะไร เป็นชื่อของสภาพธรรมที่มีจริงๆ ซึ่งเป็นธาตุรู้หรือสภาพรู้ เพราะฉะนั้นเราไม่ไปติดที่คำว่า “จิต” เปลี่ยนชื่อจิตเป็น “วิญญาณ” ก็ได้ เป็น “มโน” ก็ได้ เป็นอะไรก็ได้ แต่หมายความถึงสภาพที่รู้ เวลาที่จิตเกิด ต้องรู้ ไม่รู้ไม่ได้ ถ้าเรายืนหยัดอย่างนี้ เวลานอนหลับ มีจิตไหม มี ขณะนอนหลับ จิตรู้อารมณ์ไหม ต้องรู้ คือจะเปลี่ยนไม่ได้เลย จิตเป็นสภาพรู้ ก็ต้องเป็นสภาพรู้ แต่อารมณ์ในขณะที่นอนหลับไม่ปรากฏ เพราะเป็นภวังค์ สืบต่อจากปฏิสนธิ ซึ่งสืบต่อมาจากจิตใกล้จะตายของชาติก่อน
เพราะฉะนั้นภวังคจิตเราก็เข้าใจ ถ้ามีคนบอกเราว่า ไม่ได้อาศัยตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็สามารถรู้อารมณ์ได้ เพราะว่าจิตเป็นสภาพที่ต้องรู้ คือ ทุกอย่างต้องเข้ากัน กลมกลืนกัน จึงจะเป็นความถูกต้อง ถ้าไปติดขัด ตันตรงหนึ่งตรงไหน ก็แปลว่า ขณะนั้นไม่ถูก ไม่ใช่ความเข้าใจถูก
ยิ่งเรียนก็ยิ่งเข้าใจว่า แต่ละคำ หมายความถึงสภาพธรรม หรือว่าเป็นแต่เพียงบัญญัติเรื่องราว
ผู้ฟัง หมายความว่าพอเข้าใจสภาพจิต เจตสิกก็ทำงานกันไปเองหรือครับ
ท่านอาจารย์ เวลานี้ทำอยู่แล้วค่ะ แต่ทีนี้เราไม่รู้ว่า เป็นจิต เป็นเจตสิก เราไม่ได้แยก ๒ อย่าง แต่เวลาที่ศึกษา เราก็สามารถแยกได้ว่า จิตเป็นใหญ่ เป็นประธานในการรู้อย่างเดียว ไม่จำ ไม่โกรธ ไม่รัก ไม่ชัง นี่คือหน้าที่ของจิต คือ เป็นใหญ่ สามารถจะรู้ว่า สิ่งที่ปรากฏขณะนี้มีลักษณะอย่างไร ทางตาที่กำลังปรากฏ ปรากฏกับจิต เวลาที่เสียงปรากฏ เสียงมีตั้งหลายเสียง แต่จิตสามารถรู้ทุกเสียงได้ คือ จิตเขาเป็นใหญ่ เป็นประธานในการรู้แจ้ง รู้ชัดในลักษณะต่างๆ ของอารมณ์ แต่ไม่ใช่ปัญญา ปัญญาเป็นความเห็นถูก ความเข้าใจถูกว่าไม่ใช่เรา เป็นสภาพธรรม
ผู้ฟัง ตอนที่ถามตอนต้นๆ ที่ไปนึกว่า ตรงนี้แข็ง ตรงนี้อะไร
ท่านอาจารย์ เป็นชื่อ
ผู้ฟัง อาจารย์ก็บอกว่า ก็ยังดีกว่าไปคิดเรื่องอื่น ใช่ไหมครับ
ท่านอาจารย์ ค่ะ ที่ไม่ได้คิดเรื่องจิต เจตสิก รูป
ผู้ฟัง ก็คล้ายๆ เราติดที่เคยปฏิบัติธรรม meditation ก็ไปกำหนดรู้อะไรพวกนี้
ท่านอาจารย์ อันนี้หมายความว่า ทุกคนห้ามความคิดไม่ได้ ต้องคิดเรื่อยๆ แต่ทีนี้เราเคยคิดเรื่องคนนั้น คนนี้ สิ่งนั้นสิ่งนี้ พอเราได้ฟังธรรม ก็เกิดคิดเรื่องจิตบ้าง คิดเรื่องเจตสิกบ้าง แต่คนนั้นก็จะต้องรู้ว่า ขณะนั้นเป็นเพียงความคิด ไม่ใช่การระลึกลักษณะ คือ ปัญญาจะต้องรู้ทั่วทุกขณะเพิ่มขึ้น
ผู้ฟัง ก็เลยติดกลายเป็นนิสัยว่า ต้องไปกำหนดรู้อย่างนั้นหรือเปล่าครับ
ท่านอาจารย์ เพราะฉะนั้นปัญญาถึงต้องเพิ่มขึ้นที่จะรู้ว่า ขณะนั้นไม่ใช่การรู้ลักษณะ เป็นการคิดเรื่องสภาพธรรม นี่ต้องแยก ลักษณะที่แข็ง นี่ลักษณะแข็ง แต่ถ้าบอกว่า แข็งเป็นรูป นั่นคือไปนึกถึงชื่อ คำ
เพราะฉะนั้นขณะต่อไปก็ต้องรู้ว่า ขณะนั้นไม่ใช่สติปัฏฐานที่กำลังรู้คำ รู้คำต้องมีลักษณะที่ปรากฏ แล้วจริงๆ ลักษณะที่แข็งเกิดดับ แต่ต้องรู้ด้วยปัญญา เราเหมือนกับมีอยู่ตลอดเวลา แต่ความจริงไม่ใช่ ต้องเกิดจึงปรากฏ กระทบได้ แล้วก็ดับทันที
ฟังแล้วเหมือนเป็นเหตุผลที่ถูก แต่ประจักษ์จริงๆ ก็ต้องอย่างนี้
ผู้ฟัง เรียนใหม่ๆ ขั้นต้นก็ต้องเป็นชื่อ เรื่องราวทั้งหมด และจะกลายเป็นหายไปได้อย่างไรครับ หรือเพิ่มความเข้าใจ
ท่านอาจารย์ คือแต่ก่อนเราเรียนชื่อ แต่ชื่อนั้นชื่อของอะไร อย่างเราใช้คำว่า “จิต” เป็นชื่อของอะไร เป็นชื่อของสภาพธรรมที่มีจริงๆ ซึ่งเป็นธาตุรู้หรือสภาพรู้ เพราะฉะนั้นเราไม่ไปติดที่คำว่า “จิต” เปลี่ยนชื่อจิตเป็น “วิญญาณ” ก็ได้ เป็น “มโน” ก็ได้ เป็นอะไรก็ได้ แต่หมายความถึงสภาพที่รู้ เวลาที่จิตเกิด ต้องรู้ ไม่รู้ไม่ได้ ถ้าเรายืนหยัดอย่างนี้ เวลานอนหลับ มีจิตไหม มี ขณะนอนหลับ จิตรู้อารมณ์ไหม ต้องรู้ คือจะเปลี่ยนไม่ได้เลย จิตเป็นสภาพรู้ ก็ต้องเป็นสภาพรู้ แต่อารมณ์ในขณะที่นอนหลับไม่ปรากฏ เพราะเป็นภวังค์ สืบต่อจากปฏิสนธิ ซึ่งสืบต่อมาจากจิตใกล้จะตายของชาติก่อน
เพราะฉะนั้นภวังคจิตเราก็เข้าใจ ถ้ามีคนบอกเราว่า ไม่ได้อาศัยตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็สามารถรู้อารมณ์ได้ เพราะว่าจิตเป็นสภาพที่ต้องรู้ คือ ทุกอย่างต้องเข้ากัน กลมกลืนกัน จึงจะเป็นความถูกต้อง ถ้าไปติดขัด ตันตรงหนึ่งตรงไหน ก็แปลว่า ขณะนั้นไม่ถูก ไม่ใช่ความเข้าใจถูก
ยิ่งเรียนก็ยิ่งเข้าใจว่า แต่ละคำ หมายความถึงสภาพธรรม หรือว่าเป็นแต่เพียงบัญญัติเรื่องราว
ผู้ฟัง หมายความว่าพอเข้าใจสภาพจิต เจตสิกก็ทำงานกันไปเองหรือครับ
ท่านอาจารย์ เวลานี้ทำอยู่แล้วค่ะ แต่ทีนี้เราไม่รู้ว่า เป็นจิต เป็นเจตสิก เราไม่ได้แยก ๒ อย่าง แต่เวลาที่ศึกษา เราก็สามารถแยกได้ว่า จิตเป็นใหญ่ เป็นประธานในการรู้อย่างเดียว ไม่จำ ไม่โกรธ ไม่รัก ไม่ชัง นี่คือหน้าที่ของจิต คือ เป็นใหญ่ สามารถจะรู้ว่า สิ่งที่ปรากฏขณะนี้มีลักษณะอย่างไร ทางตาที่กำลังปรากฏ ปรากฏกับจิต เวลาที่เสียงปรากฏ เสียงมีตั้งหลายเสียง แต่จิตสามารถรู้ทุกเสียงได้ คือ จิตเขาเป็นใหญ่ เป็นประธานในการรู้แจ้ง รู้ชัดในลักษณะต่างๆ ของอารมณ์ แต่ไม่ใช่ปัญญา ปัญญาเป็นความเห็นถูก ความเข้าใจถูกว่าไม่ใช่เรา เป็นสภาพธรรม
ผู้ฟัง ตอนที่ถามตอนต้นๆ ที่ไปนึกว่า ตรงนี้แข็ง ตรงนี้อะไร
ท่านอาจารย์ เป็นชื่อ
ผู้ฟัง อาจารย์ก็บอกว่า ก็ยังดีกว่าไปคิดเรื่องอื่น ใช่ไหมครับ
ท่านอาจารย์ ค่ะ ที่ไม่ได้คิดเรื่องจิต เจตสิก รูป
ผู้ฟัง ก็คล้ายๆ เราติดที่เคยปฏิบัติธรรม meditation ก็ไปกำหนดรู้อะไรพวกนี้
ท่านอาจารย์ อันนี้หมายความว่า ทุกคนห้ามความคิดไม่ได้ ต้องคิดเรื่อยๆ แต่ทีนี้เราเคยคิดเรื่องคนนั้น คนนี้ สิ่งนั้นสิ่งนี้ พอเราได้ฟังธรรม ก็เกิดคิดเรื่องจิตบ้าง คิดเรื่องเจตสิกบ้าง แต่คนนั้นก็จะต้องรู้ว่า ขณะนั้นเป็นเพียงความคิด ไม่ใช่การระลึกลักษณะ คือ ปัญญาจะต้องรู้ทั่วทุกขณะเพิ่มขึ้น
ผู้ฟัง ก็เลยติดกลายเป็นนิสัยว่า ต้องไปกำหนดรู้อย่างนั้นหรือเปล่าครับ
ท่านอาจารย์ เพราะฉะนั้นปัญญาถึงต้องเพิ่มขึ้นที่จะรู้ว่า ขณะนั้นไม่ใช่การรู้ลักษณะ เป็นการคิดเรื่องสภาพธรรม นี่ต้องแยก ลักษณะที่แข็ง นี่ลักษณะแข็ง แต่ถ้าบอกว่า แข็งเป็นรูป นั่นคือไปนึกถึงชื่อ คำ
เพราะฉะนั้นขณะต่อไปก็ต้องรู้ว่า ขณะนั้นไม่ใช่สติปัฏฐานที่กำลังรู้คำ รู้คำต้องมีลักษณะที่ปรากฏ แล้วจริงๆ ลักษณะที่แข็งเกิดดับ แต่ต้องรู้ด้วยปัญญา เราเหมือนกับมีอยู่ตลอดเวลา แต่ความจริงไม่ใช่ ต้องเกิดจึงปรากฏ กระทบได้ แล้วก็ดับทันที
ฟังแล้วเหมือนเป็นเหตุผลที่ถูก แต่ประจักษ์จริงๆ ก็ต้องอย่างนี้