[เล่มที่ 87] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓
พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๓
อนุโลมติกปัฏฐาน
๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย 92
๑. เหตุปัจจัย 767/92
๒. อารัมมณปัจจัย 772/96
๓. อธิปติปัจจัย 779/98
๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย 99
๖. สหชาตปัจจัย 783/100
๗. อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย 786/102
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 103
ปัจจนียนัย 103
๑. นเหตุปัจจัย 103
๒. นอารัมมณปัจจัย 104
๓. นอธิปติปัจจัย 106
๔. นอนันตรปัจจัย ๗. นอุปนิสสยปัจจัย 106
๘. นปุเรชาตปัจจัย 106
๙. นปัจฉาชาติปัจจัย ฯลฯ ๑๑. นกัมมปัจจัย 109
๑๒. นวิปากปัจจัย 111
๑๓. นอาหารปัจจัย 111
๑๔. นอินทริยปัจจัย 111
๑๕. นฌานปัจจัย 111
๑๖. นมัคคปัจจัย 112
๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย 112
๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย 112
๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย 114
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 114
อนุโลมปัจจนียนัย 115
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 115
ปัจจนียานุโลมนัย 116
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 116
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย 117
๑. เหตุปัจจัย 816/117
๒. อารัมมณปัจจัย 820/120
๓. อธิปติปัจจัย 824/125
๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย 125
๖. สหชาตปัจจัย 827/125
๗. อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ๑๘. สัมปยุตตปัจจัย 831/130
๑๙. วิปปยุตตปัจจัย 832/130
๒๐. อัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย 135
การนับจํานวนวาระในอนุโลม สุทธมูลกนัย 135
ปัจจนียนัย 136
๑. นเหตุปัจจัย 837/136
๒. นอารัมมณปัจจัย 842/138
๓. นอธิปติปัจจัย 847/139
๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย 140
๑๑. นกัมมปัจจัย 848/140
๑๒. นวิปากปัจจัย 853/142
๑๓. นอาหารปัจจัย 142
๑๔. นอินทริยปัจจัย 142
๑๕. นฌานปัจจัย 143
๑๖. นมัคคปัจจัย 143
๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย ๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย 143
๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย 143
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ สุทธมูลกนัย 143
อนุโลมปัจจนียนัย 144
การนับวาระในอนุโลมปัจจนียนัย สุทธมูลกนัย 144
ปัจจนียานุโลม 145
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม สุทธมูลกนัย 145
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย 146
๑. เหตุปัจจัย 857/146
๒. อารัมมณปัจจัย 862/148
๓. อธิปติปัจจัย 866/149
๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย 150
๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย 867/150
การนับจํานวนวาระในอนุโลม สุทธมูลกนัย 151
ปัจจนียนัย 151
๑. เหตุปัจจัย 869/151
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 152
อนุโลมปัจจนียนัย 153
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 153
ปัจจนียานุโลมนัย 153
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 153
สัมปยุตตวาระ
เหมือนสังสัฏฐวาระ 154
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย 155
๑. เหตุปัจจัย 876/155
๒. อารัมมณปัจจัย 883/157
๓. อธิปติปัจจัย 904/165
๔. อนันตรปัจจัย 905/165
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 920/171
๙. อุปนิสสยปัจจัย 921/171
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 942/182
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 947/185
๑๒. อาเสวนปัจจัย 952/186
๑๓. กัมมปัจจัย 956/187
๑๔. วิปากปัจจัย 963/190
๑๕. อาหารปัจจัย 964/190
๑๖. อินทริยปัจจัย 968/191
๑๗. ฌานปัจจัย ๑๘. มัคคปัจจัย 192
๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 192
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 192
๒๑. อัตถิปัจจัย 979/196
๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 203
การนับจํานวนวาระในอนุโลม สุทธมูลกนัย 203
ปัจจนียนัย 204
การยกปัจจัยในปัจจนียะ 204
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 209
อนุโลมปัจจนียนัย 210
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 210
ปัจจนียานุโลม 211
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 211
อรรถกถาทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ 212
อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 87]
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 92
๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๗๖๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม.
๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
[๗๖๘] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 93
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุธรรม อาศัย ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม.
๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๗๖๙] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ, ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 94
๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหุตกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๑๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
[๗๗๐] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 95
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และโมหะ.
๑๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา และโมหะ.
๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรมและเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และโมหะ ฯลฯ
[๗๗๑] ๑๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และโมหะ.
๑๖. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 96
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย อุทธัจจะและโมหะ.
๑๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ
๒. อารัมมณปัจจัย
[๗๗๒] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหุตกธรรม อาศัยทัสสเนน ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา.
๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 97
คือ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ฯลฯ ขันธ์ ๒ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๒.
[๗๗๓] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงจำแนกเหมือนกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม.
[๗๗๔] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ.
[๗๗๕] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
[๗๗๖] ๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 98
[๗๗๗] ๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหุตกธรรม ฯลฯ เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และโมหะ.
[๗๗๘] ๑๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และโมหะ.
๓. อธิปติปัจจัย
[๗๗๙] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับเหตุปัจจัย (วาระที่ ๑ - ๓)
๔. ฯลฯ อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ เหมือนกับเหตุปัจจัย (วาระที่ ๔ - ๖)
ในอธิปติปัจจัย โมหะไม่มี.
[๗๘๐] ๗. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุธรรม อาศัยเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 99
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๗๘๑] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๗๘๒] ๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะอนันตรปัจจัย เพราะ สมนันตรปัจจัย เหมือนกับอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 100
๖. สหชาตปัจจัย
[๗๘๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา.
๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.
[๗๘๔] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 101
๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์หลาย ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม.
โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนน ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.
ขันธ์ ๓ และ โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ ฯลฯ.
[๗๘๕] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 102
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย ฯลฯ
พึงกระทำเหมือนกับเหตุปัจจัย (มี ๑๗ วาระ)
๗. อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
[๗๘๖] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะ นิสสยปัจจัย เพราะ อุปนิสสยปัจจัย เพราะ ปุเรชาตปัจจัย เพราะ อาเสวนปัจจัย เพราะ กัมมปัจจัย เพราะ วิปากปัจจัย เพราะ อาหารปัจจัย เพราะ อินทริยปัจจัย เพราะ ฌานปัจจัย เพราะ มัคคปัจจัย เพราะ สัมปยุตตปัจจัย เพราะ วิปปยุตตปัจจัย เพราะ อัตถิปัจจัย เพราะ นัตถิปัจจัย เพราะ วิตตปัจจัย เพราะ อวิคตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 103
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๗๘๗] ในเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ใน นัตถิปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๗๘๘] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 104
[๗๘๙] ๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ.
[๗๙๐] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
... อาศัยมหาภูตรูป ๑.
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ. ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๗๙๑] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 105
[๗๙๒] ๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม.
[๗๙๓] ๓. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย ปหาตัพพเหตุกธรรม, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม, หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
[๗๙๔] ๔. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา และโมหะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 106
[๗๙๕] ๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ.
๓. นอธิปติปัจจัย
[๗๙๖] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย เหมือนกับ สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย
เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย (ทุกปัจจัยมี ๕ วาระ).
๘. นปุเรชาตปัจจัย
[๗๙๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 107
๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม.
๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนน ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
๔. อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เหมือน กับทัสสเนนะ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๖)
[๗๙๘] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมฯสฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 108
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ.
[๗๙๙] ๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ โมหะ ฯลฯ.
๑๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 109
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ.
[๘๐๐] ๑๒. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
แม้เหล่านี้ พึงกระทำเป็น ๒ วาระ (รวมมี ๑๓ วาระ)
๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย ๑๑. นกัมมปัจจัย
[๘๐๑] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม.
[๘๐๒] ๒. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 110
[๘๐๓] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม.
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
[๘๐๔] ๖. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ โมหะ.
[๘๐๕] ๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 111
คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ.
๑๒. นวิปากปัจจัย
[๘๐๖] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย. ปฏิสนธิ ไม่มี.
๑๓. นอาหารปัจจัย
[๘๐๗] เนวทัสสเนนนภาวนาย ฯลฯ เพราะนอาหารปัจจัย
คือ พาหิรรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ... ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๑๔. นอินทริยปัจจัย
เพราะนอินทริยปัจจัย
คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๑๕. นฌานปัจจัย
เพราะนฌานปัจจัย
คือ ปัญจวิญญาณ ... ฯลฯ พึงกระทำมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 112
๑๖. นมัคคปัจจัย
ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย
ฯลฯ เพราะนสัมปยุตตปัจจัย
๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย
[๘๐๘] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม.
๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 113
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๘๐๙] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ...
ภาวนาย ฯลฯ มี ๓ วาระ.
[๘๑๐] ๗. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมอาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 114
คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ.
[๘๑๑] ๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ โมหะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
[๘๑๒] ๑๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๑๙. เพราะโนนัตถิปัจจัย ๒๐. เพราะโนวิคตปัจจัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๘๑๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 115
มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียะ จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๘๑๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียะ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 116
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๘๑๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัยมี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาระ จบ
สหชาตวาระเหมือนกับปฏิจจวาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 117
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๘๑๖] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย.
มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ (วาระที่ ๑ - ๓)
๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ (วาระที่ ๔ - ๖)
๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มี ๑ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
[๘๑๗] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 118
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคต ด้วยวิจิกิจฉา.
๑๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
[๘๑๘] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรมและเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 119
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และโมหะ.
๑๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.
๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ.
[๘๑๙] ๑๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (รวม ๑๗ วาระ)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 120
๒. อารัมมณปัจจัย
[๘๒๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
มี ๓ วาระ เหมือนกับอารัมมณปัจจัย ในปฏิจจวาระ (วาระที่๑ - ๔).
๔. ภาวนาย ฯลฯ มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
[๘๒๑] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ. สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 121
๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ อาศัยหทยวัตถุ.
๑๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ อาศัยหทยวัตถุ.
[๘๒๒] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และโมหะ.
๑๖. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา และหทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 122
๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ ฯลฯ.
[๘๒๓] ๑๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๑๖. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และหทยวัตถุ.
๑๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหุตกธรรม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 123
และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ ฯลฯ.
๓. อธิปติปัจจัย
[๘๒๔] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ.
๔. อาศัยภาวนาย ฯลฯ มี ๓ วาระ.
๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ.
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 124
๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย หทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๑๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๘๒๕] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ ฯลฯ.
๑๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 125
๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ ฯลฯ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๘๒๖] ๑๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และหทยวัตถุ มี ๓ วาระ เหมือนกับทัสสเนนะ (จึงรวมเป็น ๑๗ วาระ)
๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย
เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย ฯลฯ
๖. สหชาตปัจจัย
[๘๒๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 126
๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม.
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๓ และโมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๔. อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ เหมือนกับทัสสเนน.
[๘๒๘] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 127
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะสหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัย หทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ. สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 128
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ อาศัยหทยวัตถุ.
๑๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคด้วยอุทธัจจะ และโมหะ อาศัยหทยวัตถุ.
[๘๒๙] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหายตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ.
๑๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 129
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา และหทยวัตถุ.
๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ.
[๘๓๐] ๑๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 130
๗. อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ๑๘. สัมปยุตตปัจจัย
[๘๓๑] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย, เพราะนิสสยปัจจัย, เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย, เพราะอาเสวนปัจจัย, เพราะกัมมปัจจัย, เพราะวิปากปัจจัย, เพราะอาหารปัจจัย, เพราะอินทริยปัจจัย, เพราะฌานปัจจัย, เพราะมัคคปัจจัย, เพราะสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ
๑๙. วิปปยุตตปัจจัย
[๘๓๒] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม, จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา, โมหะ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 131
๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหา ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ ๓ โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ขันธ์ทั้งหลาย และโมหะ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
[๘๓๓] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ เหมือนกับ ทัสสเนนะ (วาระที่ ๓ - ๖)
[๘๓๔] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ วิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 132
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ.
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโมหะเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัย หทยวัตถุ.
ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย, หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ฯลฯ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
จักขุวิญญาณอาศัยจักขายตะ, กายวิญญาณอาศัยกายายตนะ.
ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 133
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ อาศัยหทยวัตถุ, ขันธ์ ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๑๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็น ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ ฯลฯ เหมือนกับ ทัสสเนนะ.
[๘๓๕] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 134
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ , ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะ วิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๑๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย และโมหะ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย. ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 135
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา หทยวัตถุ และโมหะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ และ ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย และโมหะ เกิดขึ้น เพราะ วิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และหทยวัตถุ ฯลฯ และอาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๑๕. ฯลฯ อาศัย ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ เหมือนกับ ทัสสเนนะ.
๒๐. อัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อัตถิปัจจัย, เพราะ นัตถิปัจจัย, เพราะ วิคตปัจจัย เพราะ อวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๘๓๖] ในเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 136
๑๗ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ ใน อินทริยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลม จบ
ปัจจนียนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๘๓๗] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
[๘๓๘] ๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 137
[๘๓๙] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงกระทำให้เต็ม.
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทยวัตถุ
[๘๔๐] ๔. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และหทยวัตถุ.
[๘๔๑] ๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 138
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๘๔๒] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายเป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม.
[๘๔๓] ๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม.
[๘๔๔] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 139
[๘๔๕] ๔. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ โมหะ.
[๘๔๖] ๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ.
๓. นอธิปติปัจจัย
[๘๔๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย เหมือนกับ สหชาตปัจจัย (คือมี ๑๗ วาระ)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 140
๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย
เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย
เหมือนกับปัจจนียะ ในปฏิจจวาระ, มี ๑๓ วาระ ไม่มีแตกต่างกัน.
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย
๑๑. นกัมมปัจจัย
[๘๔๘] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม.
[๘๔๙] ๒. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม.
[๘๕๐] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 141
คือ เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม.
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
สัมปยุตตเจตนา อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ
สัมยุตตเจตนา อาศัยโมหะ ที่สหรคตอุทธัจจะ.
[๘๕๑] ๖. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และหทยวัตถุ
สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 142
[๘๕๒] ๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ.
๑๒. นวิปากปัจจัย
[๘๕๓] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย. พึงการทำให้บริบูรณ์.
ปฏิสนธิ ไม่มี. (มี ๑๗ วาระ)
๑๓. นอาหารปัจจัย
ฯลฯ เพราะนอาหารปัจจัย
คือ พาหิรรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๑๔. นอินทรีย์ปัจจัย
ฯลฯ เพราะนอินทริยปัจจัย
คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 143
๑๕. นฌานปัจจัย
ฯลฯ เพราะนฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๑๖. นมัคคปัจจัย
ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ
๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย ๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย
ฯลฯ เพราะนสัมปยุตตปัจจัย, เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
เหมือนกับนวิปปยุตตปัจจัย ในปัจจนียะแห่งปฏิจจวาระ ไม่มีแตกต่างกัน มี ๑๑ วาระ.
๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย
เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
สุทธมูลกนัย
[๘๕๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 144
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียนัย
สุทธมูลกนัย
[๘๕๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ... .ใน นอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัยมี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 145
ปัจจนียานุโลม
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
สุทธมูลกนัย
[๘๕๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๕ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๕ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัจจยวาระ จบ
นิสสยวาระ เหมือนกับปัจจยวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 146
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๘๕๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒.
[๘๕๘] ๒. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เ จือกับภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒
[๘๕๙] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 147
๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
[๘๖๐] ๖. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๘๖๑] ๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 148
๒. อารัมมณปัจจัย
[๘๖๒] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และโมหะ เจือกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๔. ฯลฯ เจือกับภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ.
[๘๖๓] ๗. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 149
๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับโมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
[๘๖๔] ๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒ และโมหะ.
[๘๖๕] ๑๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๓. อธิปติปัจจัย
[๘๖๖] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 150
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๒. ฯลฯ เจือกับภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๑ วาระ.
๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย
เพราะ อนันตรปัจจัย เพราะ สมนันตรปัจจัย
๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
[๘๖๗] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทริยปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 151
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๘๖๘] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๑ วาระ ใน อินทริยปัจจัย มี ๑๑ วาระ. ในฌานปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลม จบ
ปัจจนียนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๘๖๙] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เจือกับขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 152
[๘๗๐] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกั ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ
[๘๗๑] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับ เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๘๗๒] ฯลฯ เจือกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัย.
เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย เพราะนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ.
เพราะนวิปากปัจจัย เพราะนฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๘๗๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ใน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 153
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียะ จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๘๗๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ... ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียะ จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๘๗๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสย-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 154
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
สัมปยุตตวาระ
สัมปยุตตวาระ เหมือนกับสังสัฏฐวาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 155
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๘๗๖] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๘๗๗] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๘๗๘] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 156
๔. ภาวนาย ฯลฯ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๖)
๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๑ วาระ
[๘๗๙] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๘๘๐] ๙. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๘๘๑] ๑๐. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 157
[๘๘๒] ๑๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๘๘๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนเปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เพราะปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งทิฏฐิ เพราะปรารภทิฏฐินั้น ราคะ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภวิจิกิจฉา วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 158
[๘๘๔] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้วที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ที่ข่มแล้ว ฯลฯ ที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๘๘๕] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น
[๘๒๖] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 159
คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เพราะปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสเป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภอุทธัจจะ อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น, โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โทมนัสที่ เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น.
[๘๘๗] ๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เพราะปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็น ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภอุทธัจจะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โทมนัสที่ เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 160
[๘๘๘] ๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้วที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ ที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๘๘๙] ๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะย่อมเกิดขึ้น.
[๘๙๐] ๘. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 161
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
[๘๙๑] ๙. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ พึงให้พิสดารเหมือนกับ ทัสสนติกะ.
ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๘๙๒] ๑๐. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทานฯฯ เหมือนกับ ทัสสนติกะ.
[๘๙๓] ๑๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ เหมือนกับ ทัสสนติกะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 162
[๘๙๔] ๑๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เพราะปรารภจักษุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภ โสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
[๘๙๕] ๑๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย อุทธัจจะและโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
[๘๙๖] ๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 163
[๘๙๗] ๑๕. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
[๘๙๘] ๑๖. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
[๘๙๙] ๑๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 164
[๙๐๐] ๑๘. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
[๙๐๑] ๑๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
[๙๐๒] ๒๐. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 165
[๙๐๓] ๒๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
๓. อธิปติปัจจัย
[๙๐๔] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย เหมือนกับ ทัสสนติกะ มี ๑๐ วาระ.
๔. อนันตรปัจจัย
[๙๐๕] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๐๖] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 166
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๐๗] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลังๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๐๘] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๐๙] ๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 167
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ โมหะที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๑๐] ๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลังๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๑๑] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 168
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน ฯลฯ
เนวสัญญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๑๒] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๑๓] ๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจ อนันตรปัจจัย.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 169
[๙๑๔] ๑๐. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเป็น ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดหลังๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๑๕] ๑๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดหลังๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๑๖] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 170
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดก่อนๆ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.
[๙๑๗] ๑๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดก่อนๆ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่โมหะที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๑๘] ๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดก่อนๆ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดหลังๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 171
[๙๑๙] ๑๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
มี ๓ วาระ เหมือนกับทัสสเนนะ.
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย
[๙๒๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับสหชาตปัจจัย ในปฏิจจวาระ.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับ สหชาตปัจจัย ในปฏิจจวาระ.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับนิสสยปัจจัย วาระที่ต่างกันไม่มี.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๙๒๑] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 172
มี ๓ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลที่เข้าไปอาศัยราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรมแล้ว ฆ่า สัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ โมหะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๒๒] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ โมหะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 173
ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมาบัติ และแก่โมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๒๓] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๒๔] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ มานะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่มานะ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 174
[๙๒๕] ๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โมหะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ฉันทราคะในภัณฑะของตน เป็นปัจจัยแก่ฉันทราคะในภัณฑะของผู้อื่น ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, ฉันทราคะในของที่ตนหวงแหน เป็นปัจจัยแก่ฉันทราคะในของที่คนอื่นหวงแหน ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๒๖] ๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 175
บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ โมหะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมาบัติ และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๒๗] ๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๒๘] ๘. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 176
ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๒๙] ๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เสนาสนะฯสฯ โมหะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ
ศรัทธา ฯลฯ โมหะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ผลสมาบัติ และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๓๐] ๑๐. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 177
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ฯลฯ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย เสนาสนะ ฯลฯ โมหะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็น ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๓๑] ๑๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ฯลฯ ก่อมานะ.
บุคคลเข้าไปอาศัยโมหะ ฯลฯ ก่อมานะ.
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 178
[๙๓๒] ๑๒. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย เสนาสนะ ฯลฯ และ โมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๓๓] ๑๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๓๔] ๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 179
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๓๕] ๑๕. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมาบัติ และโมหะ ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๓๖] ๑๖. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 180
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๓๗] ๑๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๓๘] ๑๘. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 181
[๙๓๙] ๑๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๔๐] ๒๐. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
[๙๔๑] ๒๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 182
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๙๔๒] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ
บุคคลพิจารณาเห็น โสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ
บุคคลเห็นรูป ด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ ฟังเสียง ด้วยทิพโสตธาตุ ฯลฯ
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๙๔๓] ๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 183
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๙๔๔] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ อารัมมณปุเรชาตะ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๙๔๕] ๔. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 184
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
จักษุ ฯลฯ เพราะปรารภหทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ โมหะ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๙๔๖] ๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
จักษุ ฯลฯ เพราะปรารภหทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย อุทธัจจะและโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 185
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๙๔๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๙๔๘] ๒. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๙๔๙] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๙๕๐] ๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 186
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๙๕๑] ๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๙๕๒] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๙๕๓] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ โมหะ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 187
[๙๕๔] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทสัสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลังๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๙๕๕] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม มี ๓ วาระ
เนวทัสสเนนนภาวนาย ฯลฯ ในอาเสวนมูลกะ วุฏฐานะก็ดี อาวัชชนะก็ดี พึงทิ้งเสีย. มี ๑๓ วาระ พึงใส่ให้เต็ม เหมือนกับอนันตรปัจจัย.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๙๕๖] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจยัแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 188
[๙๕๗] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๙๕๘] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๙๕๙] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 189
[๙๖๐] ๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๙๖๑] ๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๙๖๒] ๗. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ. ฯลฯ
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 190
๑๔. วิปากปัจจัย
[๙๖๓] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัย แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจ ของวิปากปัจจัย
คือ ทั้งปวัตติและปฏิสนธิ วิบากขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ.
๑๕.อาหารปัจจัย
[๙๖๔] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
[๙๖๕] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
[๙๖๖] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 191
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
๔. ภาวนาย ฯลฯ ๓ วาระ เหมือนกับ ทัสสเนน.
[๙๖๗] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจจัย
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวหายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ฯลฯ
๑๖. อินทริยปัจจัย
[๙๖๘] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับอาหารปัจจัย โมหะต้องนับเข้าด้วย.
ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ.
[๙๖๙] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 192
จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ ฯลฯ
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๑๗. ฌานปัจจัย ๑๘. มัคคปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของมัคคปัจจัย เหล่านี้พึงกระทำให้เป็นสเหตุกธรรม. (มี ๗ วาระ)
๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย เหมือนกับสัมปยุตตวาระ (๑) ในปฏิจจวาระ (มี ๑๑ วาระ)
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
[๙๗๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ เหมือนกับ ทัสสนติกะ.
(๑). น่าจะเป็นสัมปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 193
[๙๗๑] ๒. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ เหมือนกับ ทัสสนติกะ.
[๙๗๒] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ เหมือนกับทัสสนติกะ.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิด ภายหลัง และโมหะ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน.
[๙๗๓] ๔. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 194
[๙๗๔] ๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
[๙๗๕] ๖. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๙๗๖] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 195
[๙๗๗] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดพร้อมกัน และโมหะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดภายหลัง และโมหะ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๙๗๘] ๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดพร้อมกัน และโมหะ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดภายหลัง และโมหะ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 196
๒๑.อัตถิปัจจัย
[๙๗๙] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
[๙๘๐] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดพร้อมกันเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๙๘๑] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 197
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓, โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.
๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ.
[๙๘๒] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ
ที่เป็น สชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ของอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุฯสฯ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 198
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมที่เกิดภายหลัง และโมหะ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย.
[๙๘๓] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรมย่อมเกิดขึ้น
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 199
ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๙๘๔] ๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๙๘๕] ๑๐. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 200
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
เพราะปรารภจักษุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ เพราะปรารภหทัยวัตถุ ฯลฯ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
[๙๘๖] ๑๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
เพราะปรารภซึ่งจักษุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะย่อมเกิดขึ้น, เพราะปรารภหทยวัตถุ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 201
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๙๘๗] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และสหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม หทยวัตถุ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๙๘๘] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มี ๕ อย่าง
คือ สหชาตะ,สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ, ปัจฉาชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดพร้อมกัน และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 202
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดพร้อมกัน และโมหะ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดพร้อมกัน และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่โมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดภายหลัง และโมหะ เป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๙๘๙] ๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 203
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดพร้อมกัน และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และโมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดพร้อมกัน และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และโมหะ ฯลฯ
[๙๙๐] ๑๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย ฯลฯ พึงแจกเป็น ๓ วาระ โดยนัยแห่งทัสสเนนะ พึงกำหนดเอาอุทธัจจะ.
๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ นัตถิปัจจัย ด้วยอำนาจของ วิคตปัจจัย ด้วยอำนาจของ อวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๙๙๑] ในเหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสมนันตร-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 204
ปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัยมี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ใน มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลม จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๙๙๒] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
[๙๙๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 205
[๙๙๔] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๙๕] ๓. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๙๖] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
[๙๙๗] ๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๙๙๘] ๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนายของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๙๙] ๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 206
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๐๐๐] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๑๐๐๑] ๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสปุเรชาตปัจจัย.
[๑๐๐๒] ๑๐. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๐๐๓] ๑๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 207
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๐๐๔] ๑๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๐๐๕] ๑๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ในข้อนี้ สหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย เจือปนกันมีอยู่ พึงกระทำตามในบาลี เพื่อที่จะนับ พึงใคร่คราญแล้วจึงนับ.
[๑๐๐๖] ๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ
แม้ในข้อนี้ เพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย ก็มีอยู่ แต่ในบาลีไม่มี เมื่อจะนับ พึงใคร่ครวญแล้วจึงนับ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 208
[๑๐๐๗] ๑๕. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ในข้อนี้ สหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัยเจือปนด้วยปัจจัยใดมีอยู่ ปัจจัยนั้นก็พึงกระทำตามในบาลี.
[๑๐๐๘] ๑๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๐๐๙] ๑๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
แม้ในข้อนี้ สหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย มีหัวข้อนี้ปัจจัยเจือปนด้วย ปัจจัยใดมีอยู่.
[๑๐๑๐] ๑๘. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 209
มี ๕ อย่าง
คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ
แม้ในข้อนี้ อารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ก็มี.
[๑๐๑๑] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
[๑๐๑๒] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
แม้ในข้อนี้ก็มี สหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย วาระนั้นใดที่ไม่ได้ เขียนไว้ วาระเหล่านั้นเมื่อนั้นในบาลี ย่อมไม่เสมอกันโดยพยัญชนะ วาระที่ ไม่ได้เขียนไว้ให้บาลีเหล่านั้น จำนวนปรากฏแล้ว ถ้าเกิดสงสัย พึงพิจารณา ดูในอัตถปัจจัย ในอนุโลม.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๐๑๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอัญญ-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 210
มัญญปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย ๒๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ใน โนอวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ.
ทั้งหมด พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๐๑๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๑ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วารในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 211
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๑๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียะ จบ
ปัจจนียานุโลม
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๐๑๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ ... ในอธิปติปัจจัยมี ๑๐ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนิสสปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในปุเรชาต ปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัยมี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ที่ ๙ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 212
อรรถกถาทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ
ใน ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ผู้ศึกษาพึงทราบการจำแนก ธรรมที่มีเหตุอันพึงละด้วยทัสสนะ โดยนัยที่ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถากัณฑ์ (ใน ธัมมสังคณีบาลี) โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและอุทธัจจะ จัดเข้าในหมวดที่ ๓ เพราะไม่มีเหตุ. ในอธิการนี้ธรรมเหล่าใดมีเหตุที่พึงละด้วยทัสสนะและภาวนา ดังกล่าวมาแล้วนั้น ธรรมเหล่านั้นชื่อว่ามีเหตุที่พึงละ. ธรรมเหล่าใดไม่มีเหตุ ธรรมเหล่านั้นชื่อว่าไม่มีเหตุที่พึงละด้วยทัสสนะและภาวนา ผู้ศึกษาพึงทราบ วิภาคแห่ง ปหาตัพพเหตุกธรรม และ นปหาตัพพเหตุกธรรม ดังนี้แล้ว พึงทราบคำที่เหลือ ตามแนวแห่งลักษณะที่แสดงไว้ในทัสสเนนปหาตัพพติกะ และกุสลติกะ.
อรรถกถาทัสสเนนปหาตัพพเหตุติกะ จบ