[เล่มที่ 23] พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 334 - 346
๑๐. ธาตุวิภังคสูตร
[๖๗๓] ขาพเจาไดสดับมาอยางนี้:- สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคเจาเมื่อเสด็จจาริกไปในมคธชนบท ทรงแวะยังพระนครราชคฤห เสด็จเขาไปหานายชางหมอชื่อภัคควะยังที่อยู แลวตรัสดังนี้วา ดูกอนนายภัคควะ ถาไมเปนความหนักใจแกทาน เราจะขอพักอยูในโรงสักคืนหนึ่งเถิด. นายภัคควะทูลวา ขาแตทานผูเจริญ ขาพเจาไมมีความหนักใจเลย แตในโรงนี้มีบรรพชิตเขาไปอยูกอนแลว ถาบรรพชิตนั้น อนุญาต ก็นิมนตทานพักตามสบายเถิด.
[๖๗๔] ก็สมัยนั้นแล กุลบุตรชื่อปุกกุสาติ ออกจากเรือนบวชเปนบรรพชิตอุทิศพระผูมีพระภาคเจาดวยศรัทธา. ปุกกุสาติกุลบุตรนั้นเขาไปพักอยูในโรงของนายชางหมอนั้นกอนแลว. ครั้งนั้นแล พระผูมีพระภาคเจาเสด็จเขาไปหาทานปุกกุสาติยังที่พัก แลวตรัสกะทานปุกกุสาติดังนี้วา ดูกอนภิกษุ ถาไมเปนความหนักใจแกทาน เราจะขอพักอยูในโรงสักคืนหนึ่งเถิด. ทานปุกกุสาติ ตอบวา ดูกอนทานผูมีอายุ โรงชางหมอกวางขวาง นิมนตทานผูมีอายุพัก ตามสบายเถิด.
[๖๗๕] ลําดับนั้น พระผูมีพระภาคเจาเสด็จเขาไปสูโรงชางหมอแลว ทรงลาดสันถัดหญา ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง ประทับนั่งคูบัลลังกตั้งพระกายตรง ดํารงพระสติมั่นเฉพาะหนา พระองคประทับนั่งลวงเลยราตรีไปเปนอันมาก. แมทานปุกกุสาติก็นั่งลวงเลยราตรีไปเปนอันมากเหมือนกัน ครั้งนั้น พระผูมีพระภาคเจาทรงพระดําริดังนี้วา กุลบุตรนี้ประพฤตินาเลื่อมใสหนอ เราควรถามดูบาง. ตอนั้น พระองคจึงตรัสถามทานปุกกุสาติดังนี้วา ดูกอนภิกษุ ทานบวชอุทิศใครเลา หรือวาใครเปนศาสดาของทาน หรือทานชอบใจธรรมของใคร
[๖๗๖] ทานปุกกุสาติ ตอบวา ดูกอนทานผูมีอายุ มีพระสมณโคดมผูศากยบุตร เสด็จออกจากศากยราชสกุลทรงผนวชแลวก็พระโคดมผูมีพระภาคเจาพระองคนั้นแล มีกิตติศัพทงามฟุงไปอยางนี้วา แมเพราะเหตุดังนี้ พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้นเปนผูไกลจากกิเลส รูเองโดยชอบ ถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ ดําเนินไปดี รูแจงโลก เปนสารถีผูฝกบุรุษที่ควรฝกอยางหาคนอื่นยิ่งกวามิได เปนครูของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย เปนผูตื่นแลว เปนผูแจกธรรม ดังนี้ ขาพเจาบวชอุทิศพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น และพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้นเปนศาสดาของขาพเจา ขาพเจาชอบใจธรรมของพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น.
พ. ดูกอนภิกษุ ก็เดี๋ยวนี้ พระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคนั้น ประทับอยูที่ไหน.
ปุ. ดูกอนทานผูมีอายุ มีพระนครชื่อวาสาวัตถีอยูในชนบททางทิศเหนือ เดี่ยวนี้ พระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคนั้น ประทับอยูที่นั่น.
พ. ดูกอนภิกษุ ก็ทานเคยเห็นพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้นหรือ และทานเห็นแลวจะรูจักไหม.
ปุ. ดูกอนผูมีอายุ ขาพเจาไมเคยเห็นพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้นเลย ถึงเห็นแลวก็ไมรูจัก .
[๖๗๗] ลําดับนั้น พระผูมีพระภาคเจาไดมีพระดําริดังนี้วา กุลบุตรนี้บวชอุทิศเรา เราควรจะแสดงธรรมแกเขา. แตนั้น พระองคจึงตรัสเรียกทานปุกกุสาติวา ดูกอนภิกษุ เราจักแสดงธรรมแกทาน ทานจงฟังธรรมนั้น จงใสใจใหดี เราจักกลาวตอไป ทานปุกกุสาติทูลรับพระผูมีพระภาคเจาวา ชอบแลว ทานผูมีอายุ
[๖๗๖] พระผูมีพระภาคเจาจึงไดตรัสดังนี้วา ดูกอนภิกษุ คนเรานี้ มีธาตุ ๖ มีแดนสัมผัส ๖ มีความหนวงนึกของใจ ๑๘ มีธรรมที่ควรตั้งไวในใจ ๔ อันเปนธรรมที่ผูตั้งอยูแลว ไมมีกิเลสเครื่องสําคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมเปนไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสําคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมไมเปนไปอยู บัณฑิตจะเรียกเขาวามุนีผูสงบแลว ไมพึงประมาทปญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเทานั้น นี้อุเทศแหงธาตุวิภังคหก.
[๖๗๙] ก็ขอที่เรากลาวดังนี้วา ดูกอนภิกษุ คนเรานี้มีธาตุ ๖ นั้น เราอาศัยอะไรกลาวแลว. ดูกอนภิกษุ ธาตุนี้มี ๖ อยางนี้ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ. ขอที่เรากลาวดังนี้วา ดูกอนภิกษุ คนเรานี้มีธาตุ ๖ นั้น เราอาศัยธาตุดังนี้ กลาวแลว .
[๖๘๐] ก็ขอที่เรากลาวดังนี้วา ดูกอนภิกษุ คนเรานี้มีแดนสัมผัส ๖ นั้นเราอาศัยอะไรกลาวแลว. คือ จักษุ โสต ฆานะ ชิวหา กาย มโน เปนแดนสัมผัส. ขอที่เรากลาวดังนี้วา ดูกอนภิกษุ คนเรานี้มีแดนสัมผัส. นั่น เราอาศัยอายตนะนี้ กลาวแลว.
[๖๘๑] ก็ขอที่เรากลาวดังนี้วา ดูกอนภิกษุ คนเรานี้มีความหนวงนึกของใจ ๑๘ นั้น เราอาศัยอะไรกลาวแลว. คือ บุคคลเห็นรูปดวยจักษุแลว ยอมหนวงนึกรูปเปนที่ตั้งแหงโสมนัส หนวงนึกรูปเปนที่ตั้งแหงโทมนัส หนวงนึกรูปเปนที่ตั้งแหงอุเบกขา ฟงเสียงดวยโสตแลว ... ดมกลิ่นดวยฆานะแลว ... ลิ้มรสดวยชิวหาแลว ... ถูกตองโผฏฐัพพะดวยกายแลว ... รูธรรมารมณดวยมโนแลว ยอมหนวงนึกธรรมารมณเปนที่ตั้งแหงโสมนัส หนวงนึกธรรมารมณเปนที่ตั้งแหงโทมนัส หนวงนึกธรรมารมณเปนที่ตั้งแหงอุเบกขา นี้เปนการหนวงนึกโสมนัส ๖ หนวงนึกโทมนัส ๖ หนวงนึกอุเบกขา ๖. ขอที่เรากลาวดังนี้วา ดูกอนภิกษุ คนเรานี้มีความหนวงนึกของใจ ๑๘ นั่น เราอาศัยความหนวงนึกนี้ กลาวแลว
[๖๘๒] ก็ขอที่เรากลาวดังนี้วา ดูกอนภิกษุ คนเรานี้มีธรรมที่ควรตั้งไวในใจ ๔ นั่น เราอาศัยอะไรกลาวแลว. คือ มีปญญาเปนธรรมควรตั้งไวในใจ มีสัจจะเปนธรรมควรตั้งไวในใจ มีจาคะเปนธรรมควรตั้งไวในใจ มีอุปสมะเปนธรรมควรตั้งไวในใจ ขอที่เรากลาวดังนี้วา ดูกอนภิกษุ คนเรานี้ มีธรรมที่ควรตั้งไวในใจ ๔ นั้น เราอาศัยธรรมที่ควรตั้งไวในใจนี้ กลาวแลว.
[๖๘๓] ก็ขอที่เรากลาวดังนี้วา ไมพึงประมาทปญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเทานั้น นั่น เราอาศัยอะไรกลาวแลว. ดูกอนภิกษุ อยางไรเลา ชื่อวาไมประมาทปญญา. ดูกอนภิกษุ ธาตุนี้มี ๖ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ.
[๖๘๔] ดูกอนภิกษุ ก็ปฐวีธาตุเปนไฉน คือ ปฐวีธาตุภายในก็มี ภายนอกก็มี. ก็ปฐวีธาตุภายในเปนไฉน. ไดแกสิ่งที่แขนแข็ง กําหนดไดมีในตน อาศัยตน คือ ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก มาม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไสใหญ ไสนอย อาหารใหม อาหารเกา หรือแมสิ่งอื่นไมวาชนิดไรๆ ที่แขนแข็ง กําหนดได มีในตน อาศัยตน นี้เรียกวาปฐวีธาตุภายใน. ก็ปฐวีธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เปนปฐวีธาตุ ทั้งนั้น. พึงเห็นปฐวีธาตุนั้น ดวยปญญาชอบตามความเปนจริงอยางนี้วา นั่นไมใชของเรา นั่นไมใชเรา นั่นไมใชอัตตาของเรา ครั้นเห็นแลวจะเบื่อหนายปฐวีธาตุ และจะใหจิตคลายกําหนัดปฐวีธาตุได
[๖๘๕] ดูกอนภิกษุ ก็อาโปธาตุเปนไฉน. คืออาโปธาตุภายในก็มี ภายนอกก็มี. ก็อาโปธาตุภายใน เปนไฉน. ไดแกสิ่งที่เอิบอาบ ซึมซาบไป กําหนดได มีในตน อาศัยตน คือ ดี เสลด น้ําเหลือง เลือด เหงื่อ มันขน น้ําตา เปลวมัน น้ําลาย น้ํามูก ไขขอ มูตร หรือแมสิ่งอื่นไมวาชนิดไรๆ ที่เอิบอาบซึมซาบไป กําหนดได มีในตน อาศัยตน นี้เรียกวา อาโปธาตุภายใน. ก็อาโปธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เปนอาโปธาตุทั้งนั้น. พึงเห็นอาโปธาตุนั้น ดวยปญญาชอบตามความเปนจริงอยางนี้วา นั่นไมใชของเรา นั่นไมใชเรา นั่นไมใชอัตตาของเรา. ครั้นเห็นแลว จะเบื่อหนายอาโปธาตุ และจะใหจิตคลายกําหนัดอาโปธาตุได.
[๖๘๖] ดูกอนภิกษุ ก็เตโชธาตุเปนไฉน. คือ เตโชธาตุภายในก็มี ภายนอกก็มี. ก็เตโชธาตุภายในเปนไฉน. ไดแกสิ่งที่อบอุน ถึงความเรารอน กําหนดได มีในตน อาศัยตน คือ ธาตุที่เปนเครื่องยังกายใหอบอุน ยังกายใหทรุดโทรม ยังกายใหกระวนกระวาย และธาตุที่เปนเหตุใหของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้มแลวถึงความยอยไปดวยดี หรือแมสิ่งอื่นไมวาชนิดไรๆ ที่อบอุน ถึงความเรารอนกําหนดได มีในตน อาศัยตน นี้เรียกวา เตโชธาตุ ภายใน. ก็เตโชธาตุทั้งภายในและภายนอกนี้แล เปนเตโชธาตุทั้งนั้น. พึงเห็นเตโชธาตุนั้นดวยปญญาชอบตามความเปนจริงอยางนี้วา นั่นไมใชของเรา นั่นไมใชเรา นั่นไมใชอัตตาของเรา ครั้นเห็นแลว จะเบื่อหนายเตโชธาตุ และจะใหจิตคลายกําหนัดเตโชธาตุได.
[๖๘๗] ดูกอนภิกษุ ก็วาโยธาตุเปนไฉน. คือ วาโยธาตุภายในก็มี ภายนอกก็มี. ก็วาโยธาตุภายในเปนไฉน. ไดแกสิ่งที่พัดผันไป กําหนดได มีในตน อาศัยตน คือ ลมพัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องต่ํา ลมในทอง ลมในลําไส ลมแลนไปตามอวัยวะนอยใหญ ลมหายใจออก ลมหายใจเขา หรือแมสิ่งอื่นไมวาชนิดไรๆ ที่พัดผันไป กําหนดได มีในตน อาศัยตน นี้เรียกวาวาโยธาตุภายใน. ก็วาโยธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เปนวาโยธาตุทั้งนั้น . พึงเห็นวาโยธาตุนั้น ดวยปญญาชอบตามความเปนจริงอยางนี้วา นั่นไมใชของเรา นั่นไมใชเรา นั่นไมใชอัตตาของเรา ครั้นเห็นแลว จะเบื่อหนายวาโยธาตุ และจะใหจิตคลายกําหนัดวาโยธาตุได
[๖๘๘] ดูกอนภิกษุ ก็อากาสธาตุเปนไฉน คือ อากาสธาตุภายในก็มี ภายนอกก็มี ก็อากาสธาตุภายในเปนไฉน. ไดแกสิ่งที่วาง ปรุโปรง กําหนดได มีในตน อาศัยตน คือ ชองหู ชองจมูก ชองปากซึ่งเปนทางใหกลืนของที่กิน ที่ดม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม. เปนที่ตั้งของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม และเปนทางระบายของที่กิน ที่ดม ที่เคี้ยว ที่ลิ้มแลวออกทางเบื้องลาง หรือแมสิ่งอื่น ไมวาชนิดไรๆ ที่วาง ปรุโปรง กําหนดได มีในตน อาศัยตน นี้เรียกวา อากาสธาตุภายใน. ก็อากาสธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เปนอากาสธาตุ ทั้งนั้น. พึงเห็นอากาสธาตุนั้นดวยปญญาชอบตามความเปนจริงอยางนี้วา นั้นไมใชของเรา นั่นไมใชเรา นั้นไมใชอัตตาของเรา. ครั้นเห็นแลว จะเบื่อหนายอากาสธาตุ และจะใหจิตคลายกําหนัดอากาสธาตุได.
[๖๘๙] ตอนั้น สิ่งที่จะเหลืออยูอีกก็คือวิญญาณอันบริสุทธิ์ผุดผอง บุคคลยอมรูอะไรๆ ไดดวยวิญญาณนั้น คือ รูชัดวา สุขบาง ทุกขบาง ไมทุกขไมสุขบาง. ดูกอนภิกษุ เพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงสุขเวทนา ยอมเกิดสุขเวทนา. บุคคลนั้นเมื่อเสวยสุขเวทนา ยอมรูชัดวา กําลังเสวยสุขเวทนาอยู เพราะผัสสะเปนที่ตั้งแหงสุขเวทนานั้นแลดับไป ยอมรูชัดวา ความเสวยอารมณที่เกิดแตผัสสะนั้น คือตัวสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงสุขเวทนา ยอมดับ ยอมเขาไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงทุกขเวทนา ยอมเกิดทุกขเวทนา. บุคคลนั้น เมื่อเสวยทุกขเวทนา ยอมรูชัดวา กําลังเสวยทุกขเวทนาอยู เพราะผัสสะเปนที่ตั้งแหงทุกขเวทนานั้นแลดับไป ยอมรูชัดวา ความเสวยอารมณที่เกิดแตผัสสะนั้น คือตัวทุกขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงทุกขเวทนา ยอมดับ ยอมเขาไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงอทุกขมสุขเวทนา ยอมเกิดอทุกขมสุขเวทนา บุคคลนั้น เมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา ยอมรูชัดวา กําลังเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู เพราะผัสสะเปนที่ตั้งแหงอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ยอมรูชัดวาความเสวยอารมณที่เกิดแตผัสสะนั้น คือตัวอทุกขมสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงอทุกขมสุขเวทนา ยอมดับ ยอมเขาไปสงบ
[๖๙๐] ดูกอนภิกษุ เปรียบเหมือนเกิดความรอน เกิดไฟได เพราะไมสองทอนประชุมสีกัน ความรอนที่เกิดแตไมสองทอนนั้น ยอมดับ ยอมเขาไปสงบ เพราะไมสองทอนนั้นเองแยกกันไปเสียคนละทาง แมฉันใด ดูกอนภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล เพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงสุขเวทนา ยอมเกิดสุขเวทนา. บุคคลนั้น เมื่อเสวยสุขเวทนา ยอมรูชัดวา กําลังเสวยสุขเวทนาอยู เพราะผัสสะเปนที่ตั้งแหงสุขเวทนานั้นแลดับไป ยอมรูชัดวา ความเสวยอารมณที่เกิดแตผัสสะนั้น คือตัวสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงสุขเวทนา ยอมดับ ยอมเขาไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงทุกขเวทนา ยอมเกิดทุกขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยทุกขเวทนา ยอมรูชัดวา กําลังเสวยทุกขเวทนาอยู เพราะผัสสะเปนที่ตั้งแหงทุกขเวทนานั้นแลดับไป ยอมรูชัดวา ความเสวยอารมณที่เกิดแตผัสสะนั้น คือตัวทุกขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงทุกขเวทนา ยอมดับ ยอมเขาไปสงบ. เพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงอทุกขมสุขเวทนา ยอมเกิดอทุกขมสุขเวทนา. บุคคลนั้น เมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา ยอมรูชัดวา กําลังเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู เพราะผัสสะเปนที่ตั้งแหงอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ยอมรูชัดวา ความเสวยอารมณที่เกิดแตผัสสะนั้น คือตัวอทุกขมสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะ เปนที่ตั้งแหงอทุกขมสุขเวทนา ยอมดับ ยอมเขาไปสงบ. ตอนั้น สิ่งที่จะ เหลืออยูอีกก็คือ อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผอง ออน ควรแกการงานและผองแผว
[๖๙๑] ดูกอนภิกษุ เปรียบเหมือนนายชางทอง หรือลูกมือของนายชางทองผูฉลาด ติดเตาสุมเบาแลว เอาคีมคีบทองใสเบา หลอมไป ซัดน้ําไป สังเกตดูไปเปนระยะๆ ทองนั้น จะเปนของถูกไลขี้แลว หมดฝา เปนเนื้อออน สลวย และผองแผว เขาประสงคชนิดเครื่องประดับใดๆ จะเปนแหวน ตุมหู เครื่องประดับคอ มาลัยทองก็ตาม ยอมสําเร็จความประสงคอันนั้นแตทองนั้นได ฉันใด ดูกอนภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล เมื่อเหลืออยูแตอุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผอง ออน ควรแกการงาน และผองแผว บุคคลนั้นยอมรูชัดอยางนี้วา ถาเรานอมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผองอยางนี้ เขาไปสูอากาสานัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแกฌานนั้น เมื่อเปนเชนนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเปนอุเบกขาอาศัยอากาสานัญจายตนฌานนั้น ยึดอากาสานัญจายตนฌานนั้น ดํารงอยูตลอดกาลยืนนาน ถาเรานอมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผองอยางนี้ เขาไปสูวิญญาณัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแกฌานนั้น เมื่อเปนเชนนี้ อุเบกขาของเรานี้ก็จะเปนอุเบกขาอาศัยวิญญาณัญจายตนฌานนั้น ยึดวิญญาณัญจายตนฌานนั้น ดํารงอยูตลอดกาลยืนนาน ถาเรานอมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผองอยางนี้ เขาไปสูอากิญจัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแกฌานนั้น เมื่อเปนเชนนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเปนอุเบกขาอาศัยอากิญจัญญายตนฌานนั้น ยึดอากิญจัญญายตนฌานนั้น ดํารงอยูตลอดกาลยืนนาน ถาเรานอมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผองอยางนี้ เขาไปสูเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น และเจริญจิตมีธรรมควรแกฌานนั้น เมื่อเปนเชนนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเปนอุเบกขาอาศัยเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น ยึดเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น ดํารงอยูตลอดกาลยืนนาน
บุคคลนั้น ยอมรูชัดอยางนี้วา ถาเรานอมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผองอยางนี้ เขาไปสูอากาสานัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแกฌานนั้น จิตนี้ก็เปนสังขตะ ถาเรานอมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผองอยางนี้ เขาไปสูวิญญาณัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแกฌานนั้น จิตนี้ก็เปนสังขตะ ถาเรานอมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผองอยางนี้ เขาไปสูอากิญจัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแกฌานนั้น จิตนี้ก็เปนสังขตะ ถาเรานอมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผองอยางนี้ เขาไปสูเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแกฌานนั้น จิตนี้ก็เปนสังขตะ. บุคคลนั้นจะไมคํานึง จะไมคิดถึงความเจริญหรือความเสื่อมเลย เมื่อไมคํานึง ไมคิดถึง ยอมไมยึดมั่นอะไรๆ ในโลก เมื่อไมยึดมั่น ยอมไมหวาดเสียว เมื่อไมหวาดเสียว ยอมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ยอมทราบชัดวา ชาติสิ้นแลว พรหมจรรยอยูจบแลว กิจที่ควรทําไดทําเสร็จแลว กิจอื่นเพื่อความเปนอยางนี้มิไดมี. ถาเขาเสวยสุขเวทนาอยู ยอมรูชัดวา สุขเวทนานั้นไมเที่ยง อันบัณฑิตไมติดใจ ไมเพลิดเพลิน ถาเสวยทุกขเวทนาอยู ยอมรูชัดวา ทุกขเวทนานั้น ไมเที่ยง อันบัณฑิตไมติดใจ ไมเพลิดเพลิน ถาเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู ยอมรูชัดวา อทุกขมสุขเวทนานั้น ไมเที่ยง อันบัณฑิตไมติดใจ ไมเพลิดเพลิน ถาเสวยสุขเวทนาก็เปนผูไมประกอบเสวย ถาเสวยทุกขเวทนาก็เปนผูไมประกอบเสวย ถาเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เปนผูไมประกอบเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเปนที่สุด ยอมรูชัดวา กําลังเสวยเวทนามีกายเปนที่สุด เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเปนที่สุด ยอมรูชัดวา กําลังเสวยเวทนามีชีวิตเปนที่สุด และรูชัดวา เบื้องหนา แตสิ้นชีวิต เพราะตายไปแลว ความเสวยอารมณทั้งหมดที่ยินดีกันแลวในโลกนี้แล จักเปนของสงบ
[๖๙๒] ดูกอนภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ํามัน อาศัยน้ํามันและไส จึงโพลงอยูได เพราะสิ้นน้ํามันและไสนั้น และไมเติมน้ํามัน และไสอื่น ยอมเปนประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด ดูกอนภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล บุคคลนั้นเมื่อเสวยเวทนามีกายเปนที่สุด ยอมรูชัดวา กําลังเสวยเวทนามีกาย เปนที่สุด เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเปนที่สุด ยอมรูชัดวา กําลังเสวยเวทนามีชีวิต เปนที่สุด และรูชัดวา เบื้องหนาแตสิ้นชีวิต เพราะตายไปแลว ความเสวยอารมณทั้งหมดที่ยินดีกันแลวในโลกนี้แล จักเปนของสงบ. เพราะเหตุนั้น ผูถึงพรอมดวยความรูสึกอยางนี้ ชื่อวาเปนผูถึงพรอมดวยปญญาอันเปนธรรม ควรตั้งไวในใจอยางยิ่งดวยประการนี้. ก็ปญญานี้ คือความรูในความสิ้นทุกขทั้งปวงเปนปญญาอันประเสริฐยิ่ง ความหลุดพนของเขานั้น จัดวาตั้งอยูในสัจจะ เปนคุณไมกําเริบ. ดูกอนภิกษุ เพราะสิ่งที่เปลาประโยชนเปนธรรมดา นั้นเท็จ สิ่งที่ไมเลอะเลือนเปนธรรมดา ไดแกนิพพาน นั้นจริง ฉะนั้น ผูถึงพรอม ดวยสัจจะอยางนี้ ชื่อวา เปนผูถึงพรอมดวยสัจจะอันเปนธรรมควรตั้งไวในใจ อยางยิ่งประการนี้. ก็สัจจะนี้ คือนิพพาน มีความไมเลอะเลือนเปนธรรมดา เปนสัจจะอันประเสริฐยิ่ง
อนึ่ง บุคคลนั่นแล ยังไมทราบในกาลกอน จึงเปนอันพรั่งพรอม สมาทานอุปธิเขาไป อุปธิเหลานั้นเปนอันเขาละไดแลว ถอนรากขึ้นแลว ทําใหเหมือนตาลยอดดวนแลว ถึงความเปนอีกไมได มีความไมเกิดตอไปเปนธรรมดา เพราะฉะนั้น ผูถึงพรอมดวยการสละอยางนี้ ชื่อวา เปนผูถึงพรอมดวยจาคะอันเปนธรรมควรตั้งไวในใจอยางยิ่งประการนี้. ก็จาคะนี้ คือความสละคืนอุปธิทั้งปวง เปนจาคะอันประเสริฐยิ่ง. อนึ่ง บุคคลนั้นแล ยังไมทราบในกาลกอน จึงมีอภิชฌา ฉันทะ ราคะกลา อาฆาต พยาบาท ความคิดประทุษราย อวิชชา ความหลงพรอม และความหลงงมงาย อกุศลธรรมนั้นๆ เปนอันเขาละไดแลว ถอนรากขึ้นแลว ทําใหเหมือนตาลยอดดวนแลว ถึงความเปนอีกไมได มีความไมเกิดตอไปเปนธรรมดา เพราะฉะนั้น ผูถึงพรอมดวยความสงบอยางนี้ ชื่อวา เปนผูถึงพรอม ดวยอุปสมะอันเปนธรรมควรตั้งไวในใจอยางยิ่งประการนี้. ก็อุปสมะนี้ คือความเขาไปสงบราคะ โทสะ โมหะ เปนอุปสนะอันประเสริฐอยางยิ่ง ขอที่เรากลาวดังนี้วา ไมพึง ประมาทปญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเทานั้น. นั่น เราอาศัยเนื้อความนี้ กลาวแลว
[๖๙๓] ก็ขอที่เรากลาวดังนี้วา คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไวในใจ ๔ อันเปนธรรมที่ผูตั้งอยูแลว ไมมีกิเลสเครื่องสําคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม เปนไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสําคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไมเปนไปอยู บัณฑิตจะเรียกเขาวา มุนีผูสงบแลว นั่น เราอาศัยอะไรกลาวแลว. ดูกอนภิกษุ ความสําคัญตนมีอยูดังนี้วา เราเปน เราไมเปน เราจักเปน เราจัก ไมเปน เราจักตองเปนสัตวมีรูป เราจักตองเปนสัตวไมมีรูป เราจักตองเปนสัตวมีสัญญา เราจักตองเปนสัตวไมมีสัญญา เราจักตองเปนสัตวไมมีสัญญา ก็มิใชมีสัญญาก็มิใช.
ดูกอนภิกษุ ความสําคัญตนจัดเปนโรค เปนหัวผี เปนลูกศร ก็ทานเรียกบุคคลวา เปนมุนีผูสงบแลว เพราะลวงความสําคัญตน ไดทั้งหมดเทียว และมุนีผูสงบแลวแล ยอมไมเกิดไมแก ไมตาย ไมกําเริบ. ไมทะเยอทะยาน. แมมุนีนั้นก็ไมมีเหตุที่จะตองเกิดเมื่อไมเกิด จักแกไดอยางไร เมื้อไมแก จักตายไดอยางไร เมื่อไมตาย จักกําเริบไดอยางไร เมื่อไมกําเริบ จักทะเยอทะยานไดอยางไร. ขอที่เรากลาวดังนี้วา คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว ในใจ ๔ อันเปนธรรมที่ผูตั้งอยูแลว ไมมีกิเลสเครื่องสําคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม เปนไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสําคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไมเปนไปอยู บัณฑิตจะเรียกเขาวา มุนีผูสงบแลว นั่นเราอาศัยเนื้อความกลาวแลว
ดูกอนภิกษุ ทานจงทรงจําธาตุวิภังค ๖ โดยยอนี้ของเราไวเถิด
[๖๙๔] ลําดับนั้นแล ทานปุกกุสาติทราบแนนอนวา พระศาสดา พระสุคต พระสัมมาสัมพุทธเจาเสด็จมาถึงแลวโดยลําดับ จึงลุกจากอาสนะ ทําจีวรเฉวียงบาขางหนึ่ง ซบเศียรลงแทบพระยุคลบาทของพระผูมีพระภาคเจา แลวทูลพระผูมีพระภาคเจาดังนี้วา ขาแตพระองคผูเจริญ โทษลวงเกินไดตองขาพระองคเขาแลว ผูมีอาการโงเขลาไมฉลาด ซึ่งขาพระองคไดสําคัญถอยคําที่เรียกพระผูมีพระภาคเจาดวยวาทะวา ดูกอนทานผูมีอายุ ขอพระผูมีพระภาคเจาจงรับอดโทษลวงเกินแกขาพระองค เพื่อจะสํารวมตอไปเถิด
[๖๙๕] พ. ดูกอนภิกษุ เอาเถอะ โทษลวงเกินไดตองเธอผูมีอาการโงเขลา ไมฉลาด ซึ่งเธอไดสําคัญถอยคําที่เรียกเราดวยวาทะวา ดูกอนทานผูมีอายุ แตเพราะเธอเห็นโทษลวงเกินโดยความเปนโทษแลวกระทําคืนตามธรรม เราขอรับอดโทษนั้นแกเธอ ดูกอนภิกษุ ก็ขอที่บุคคลเห็นโทษลวงเกินโดยความเปนโทษแลวกระทําคืนตามธรรม ถึงความสํารวมตอไปได นั้น เปนความเจริญในอริยวินัย
ปุ. ขาแตพระองคผูเจริญ ขอขาพระองคพึงไดอุปสมบทในสํานักของพระผูมีพระภาคเจาเถิด.
พ. ดูกอนภิกษุ ก็บาตรจีวรของเธอครบแลวหรือ
ปุ. ยังไมครบ พระพุทธเจาขา.
พ. ดูกอนภิกษุ ตถาคตทั้งหลาย จะใหกุลบุตรผูมีบาตรและจีวรยังไมครบ อุปสมบทไมไดเลย
[๖๙๖] ลําดับนั้นทานปุกกุสาติ ยินดี อนุโมทนาพระภาษิตของพระผูมีพระภาคเจาแลว ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผูมีพระภาคเจากระทําประทักษิณแลว หลีกไปหาบาตรจีวร. ทันใดนั้นแล แมโคไดปลิดชีพทานปุกกุสาติ ผูกําลังเที่ยวหาบาตรจีวรอยู. ตอนั้น ภิกษุมากรูปดวยกัน ไดเขาไปเฝาพระผูมีพระภาคเจายังที่ประทับแลวถวายอภิวาทพระผูมีพระภาคเจา นั่ง ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง พอนั่งเรียบรอยแลวไดทูลพระผูมีพระภาคเจาดังนี้วา ขาแตพระองคผูเจริญ กุลบุตรชื่อปุกกุสาติที่พระผูมีพระภาคเจาตรัสสอนดวย พระโอวาทยอๆ คนนั้น ทํากาละเสียแลว เขาจะมีคติอยางไร มีสัมปรายภพ อยางไร
[๖๙๗] พ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตรเปนบัณฑิต ไดบรรลุธรรมสมควรแกธรรมแลว ทั้งไมใหเราลําบากเพราะเหตุแหงธรรม ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตร เปนผูเขาถึงอุปปาติกเทพ เพราะสิ้นสัญโญชนอันเปนสวนเบื้องต่ํา ๕ เปนอันปรินิพพานในโลกนั้น มีความไมกลับมาจากโลกนั้นอีกเปนธรรมดา. พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสพระภาษิตนี้แลว ภิกษุเหลานั้น ตางชื่นชมยินดีพระภาษิตของพระผูมีพระภาคเจาแล
จบ ธาตุวิภังคสูตร ที่ ๑๐
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
ขอเชิญอ่านเพิ่มเติม ...
อรรถกถาธาตุวิภังคสูตร
ขอเชิญรับฟัง ...
พระเจ้าปุกกุสาติ ๑
พระเจ้าปุกกุสาติ ๒
ยินดีในกุศลจิตค่ะ