๘. ทัสสนติกะ - อนุโลมติกปัฏฐาน
โดย บ้านธัมมะ  23 ก.พ. 2565
หัวข้อหมายเลข 42212

[เล่มที่ 87] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓

พระอภิธรรมปิฎก

เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๓

อนุโลมติกปัฏฐาน

๘. ทัสสนติกะ หน้า 1-91

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 1

๑. เหตุปัจจัย 577/1

๒. อารัมมณปัจจัย 582/4

๓. อธิปติปัจจัย 585/4

๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย 586/6

๖. สหชาตปัจจัย 587/6

๗. อัญญมัญญปัจจัย 588/7

๘. นิสสยปัจจัย ฯลฯ ๑๒. กัมมปัจจัย 588/7

๑๓. วิปากปัจจัย 590/8

๑๔. อาหารปัจจัย 591/8

๑๕. อินทริยปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย 9

การนับจํานวนวาระในอนุโลม สุทธมูลกนัย 9

ปัจจนียนัย 10

๑. นเหตุปัจจัย 593/10

๒. นอารัมมณปัจจัย 596/11

๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ 601/12

๘. นปุเรชาตปัจจัย 602/13

๙. นปัจฉาชาติปัจจัย ฯลฯ ๑๑. นกัมมปัจจัย 603/14

๑๒. นวิปากปัจจัย 605/15

๑๓. นอาหารปัจจัย 606/16

๑๔. นอินทริยปัจจัย 607/16

๑๕. นฌานปัจจัย 608/16

๑๖. นมัคคปัจจัย 609/17

๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย 610/17

๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย 611/17

๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย 612/18

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะสุทธมูลกนัย 18

อนุโลมปัจจนียนัย 19

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 19

ปัจจนียานุโลม 20

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 20

สหชาตวาระ

อนุโลมนัย 21

เหตุปัจจัย 616/21

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 22

๑. เหตุปัจจัย 617/22

๒. อารัมมณปัจจัย 621/25

๓. อธิปติปัจจัย 626/27

๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย 27

๖. สหชาตปัจจัย 627/27

๗. อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย 628/28

การนับจํานวนวาระในอนุโลม สุทธมูลกนัย 29

ปัจจนียนัย 30

๑. นเหตุปัจจัย 630/30

๒. นอารัมมณปัจจัย 635/32

๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย 640/33

๘. นปุเรชาตปัจจัย 641/34

๙. นปัจฉาชาติปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย 35

๑๑. นกัมมปัจจัย 643/36

๑๒. นวิปากปัจจัย 645/37

๑๓. นอาหารปัจจัย 37

๑๔. นอินทริยปัจจัย 37

๑๕. นฌานปัจจัย 38

๑๖. นมัคคปัจจัย 38

๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย 38

๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย 38

๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย 39

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 39

อนุโลมปัจจนียนัย 40

การนับจํานวนวาระในปัจจนียนัย 40

ปัจจนียานุโลมนัย 40

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 40

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 42

เหตุปัจจัย 649/42

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 43

ปัจจนียนัย 43

๑. นเหตุปัจจัย 654/43

๒. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย 657/44

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 44

อนุโลมปัจจนียนัย 45

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 45

ปัจจนียานุโลมนัย 45

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 45

สัมปยุตตวาระ

อนุโลมนัย 46

เหตุปัจจัย 46

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 47

๑. เหตุปัจจัย 662/47

๒. อารัมมณปัจจัย 669/49

๓. อธิปติปัจจัย 677/54

๔. อนันตรปัจจัย 687/59

๕. สมนันตรปัจจัย 694/62

๖. สหชาตปัจจัย 695/62

๗. อัญญมัญญปัจจัย 700/63

๘. นิสสยปัจจัย 703/64

๙. อุปนิสสยปัจจัย 709/67

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 717/71

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 720/74

๑๒. อาเสวนปัจจัย 723/74

๑๓. กัมมปัจจัย 726/75

๑๔. วิปากปัจจัย 733/78

๑๕. อาหารปัจจัย 734/78

๑๖. อินทริยปัจจัย 78

๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 79

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 79

๒๑. อัตถิปัจจัย 739/81

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 748/85

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 85

ปัจจนียนัย 86

การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ 86

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 89

อนุโลมปัจจนียนัย 90

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 90

ปัจจนียานุโลมนัย 90

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 90

อรรถกถาทัสสนติกะ 91


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 87]



ความคิดเห็น 1    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 1

พระอภิธรรมปิฎก

เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๓ (๑)

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

๘. ทัสสนติกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๗๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม.


(๑) บาลีเล่มที่ ๔๑


ความคิดเห็น 2    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 2

๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.

[๕๗๘] ๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม.

๖. ภาวนายปทาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.

[๕๗๙] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 3    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 3

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒. จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป ๒ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

[๕๘๐] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

[๕๘๑] ๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.


ความคิดเห็น 4    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 4

๒. อารัมมณปัจจัย

[๕๘๒] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

[๕๘๓] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

[๕๘๔] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย ปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒

ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๓. อธิปติปัจจัย

[๕๘๕] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ.


ความคิดเห็น 5    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 5

๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๖)

๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนน นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.


ความคิดเห็น 6    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 6

๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย

[๕๘๖] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย.

เหมือนกับอารัมมณปัจจัย.

๖. สหชาตปัจจัย

[๕๘๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ.

๔. ภาวนาย ฯลฯ มี ๓ วาระ.

๗. เนวทัสสเนน ฯลฯ

คือ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ... ฯลฯ

๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย


ความคิดเห็น 7    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 7

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๗. อัญญมัญญปัจจัย

[๕๘๘] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ.

๒. อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๑ วาระ.

๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุอาศัยขันธ์ ๒.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒. พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

๘. นิสสยปัจจัย ฯลฯ ๑๒. กัมมปัจจัย

[๕๘๙] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนิสสยปัจจัย


ความคิดเห็น 8    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 8

เหมือนกับเหตุปัจจัย.

เพราะปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ไม่มีปฏิสนธิ.

เพราะอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ.

เพราะอุปนิสสยปัจจัย ไม่มีวิปากปฏิสนธิ.

เพราะกัมมปัจจัย อัชฌัตติกรูป และมหาภูตรูปของอสัญญสัตว์ ทั้งหลายมีบริบูรณ์.

๑๓. วิปากปัจจัย

[๕๙๐] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๑๔. อาหารปัจจัย

[๕๙๑] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอาหารปัจจัย

อัชฌัตติกรูป มหาภูตรูป และอาหารสมุฏฐานรูปมีบริบูรณ์.


ความคิดเห็น 9    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 9

๑๕. อินทริยปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย

เพราะอินทริยปัจจัย เหมือนกับกัมมปัจจัย.

เพราะฌานปัจจัย, เพราะมัคคปัจจัย เหมือนกับเหตุปัจจัย.

เพราะสัมปยุตตปัจจัย เหมือนกับอารัมมณปัจจัย.

เพราะวิปปยุตตปัจจัย เหมือนกับวิปปยุตตปัจจัย ในกุสลติกะ.

เพราะอัตถิปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัย.

เพราะนัตถิปัจจัย ฯลฯ เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

สุทธมูลกนัย

[๕๙๒] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ใน วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

บทเหล่านั้นผู้มีปัญญาพึงนับอนุโลม.

อนุโลม จบ


ความคิดเห็น 10    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 10

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๙๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา.

[๕๙๔] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ.

[๕๙๕] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒.

หทยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ, มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูปะ..อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.


ความคิดเห็น 11    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 11

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑, กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตทั้งหลาย.

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๕๙๖] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย ทัสสเนนปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม.

[๕๙๗] ๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม.

[๕๙๘] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม, หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป.. อุตุสมุฏฐานรูป ... ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ... ฯลฯ


ความคิดเห็น 12    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 12

[๕๙๙] ๔. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย-

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

[๖๐๐] ๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๓. นอธิปติปัจจัย

[๖๐๑] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

พึงทำให้บริบูรณ์ เหมือนกับเหตุปัจจัย.

๔. เพราะนอนันตรปัจจัย

๕. เพราะนสมนันตรปัจจัย

๖. เพราะนอัญญมัญญปัจจัย

๗. เพราะนอุปนิสสยปัจจัย ... ฯลฯ


ความคิดเห็น 13    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 13

๘. นปุเรชาตปัจจัย

[๖๐๒] ๑. ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ

๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย.

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม.

๓. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

๔. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม

๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย ปหาตัพพธรรม.


ความคิดเห็น 14    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 14

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูปะ ... อุตุสมุฏฐานรูป ... ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๖. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย ๑๑. นกัมมปัจจัย

[๖๐๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย เพราะนกัมมปัจจัย


ความคิดเห็น 15    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 15

คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม.

[๖๐๔] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น ภาวนายปหาตัพพธรรม.

๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม.

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูปะ ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

๑๒. นวิปากปัจจัย

[๖๐๕] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย เหมือนกับ เพราะอธิปติปัจจัย ฯลฯ ปฏิสนธิไม่มี.


ความคิดเห็น 16    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 16

๑๓. นอาหารปัจจัย

[๖๐๖] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาหารปัจจัย

คือ พาหิรรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ...

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ... ฯลฯ

๑๔. นอินทริยปัจจัย

[๖๐๗] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะ นอินทริยปัจจัย

คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ... มหาภูตรูป ๑ ... ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๑๕. นฌานปัจจัย

[๖๐๘] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนฌานปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ. พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ... ฯลฯ.


ความคิดเห็น 17    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 17

๑๖. นมัคคปัจจัย

[๖๐๙] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย

คือ เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ.

ในอเหตุกปฏิสนธิ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย

[๖๑๐] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เหมือนกับ เพราะนอารัมมณปัจจัย (มี ๕ วาระ)

๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย

[๖๑๑] ๑. อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ.

๒. อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนวิปปยุตตปัจจัย


ความคิดเห็น 18    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 18

คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ.

๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะ นวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ (ขันธ์ ๓) อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย ปหาตัพพธรรม.

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ... ฯลฯ

๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย

[๖๑๒] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะในนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย เหมือนกับ เพราะนอารัมมณปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

สุทธมูลกนัย

[๖๑๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย


ความคิดเห็น 19    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 19

มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

รู้แล้ว พึงนับ.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๖๑๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ผู้มีปัญญา พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียะ จบ


ความคิดเห็น 20    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 20

ปัจจนียานุโลม

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๖๑๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ใน กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ผู้มีปัญญา พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลม จบ

ปฏิจจวาระ จบ


ความคิดเห็น 21    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 21

สหชาตวาระ

อนุโลมนัย

เหตุปัจจัย

[๖๐๖] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดร่วมกับทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เกิดร่วมกับขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ เกิดร่วมกับขันธ์ ๒ ฯลฯ.

สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

สหชาตวาระ จบ


ความคิดเห็น 22    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 22

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๑๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่๑ - ๓)

๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ (วาระที่๔ - ๖)

[๖๑๘] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ. มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย


ความคิดเห็น 23    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 23

ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย หทยวัตถุ

๘. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๙. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ,

๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๑๑. ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

[๖๑๙] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 24    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 24

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ.

๑๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

[๖๒๐] ๑๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ... อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ.


ความคิดเห็น 25    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 25

๑๖. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๑๗. ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และหทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๖๒๑] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒.

[๖๒๒] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ


ความคิดเห็น 26    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 26

[๖๒๓] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ. ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ

๔. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

[๖๒๔] ๖. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย


ความคิดเห็น 27    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 27

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และหทยวัตถุ.

[๖๒๕] ๗. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพ ธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ.

๓. อธิปติปัจจัย

[๖๒๖] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม ไม่มีปฏิสนธิ.

๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย

เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เหมือนกับเพราะอารัมมณปัจจัย.

๖. สหชาตปัจจัย

[๖๒๗] ๑. ฯลฯ เพราะสหชาตปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ.


ความคิดเห็น 28    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 28

๔. ฯลฯ อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ

๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัย หทยวัตถุ

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ... ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ. ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๖. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย

วาระที่เหลือ เหมือนกับเหตุปัจจัย (มี ๑๗ วาระ)

๗. อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย

[๖๒๘] ทัสสเนนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะ อุปนิสสยปัจจัย


ความคิดเห็น 29    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 29

เพราะ ปุเรชาตปัจจัย ไม่มีปฏิสนธิ.

เพราะ อาเสวนปัจจัย ไม่มีปฏิสนธิ และวิบาก.

เพราะ กัมมปัจจัย เพราะ วิปากปัจจัย เพราะ อาหารปัจจัย เพราะ อินทริยปัจจัย เพราะ ฌานปัจจัย เพราะ มัคคปัจจัย เพราะ สัมปยุตตปัจจัย เพราะ วิปปยุตตปัจจัย เพราะ อัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะ วิคตปัจจัย เพราะ อวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

สุทธมูลกนัย

[๖๒๙] ในเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ ใน วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ พึงนับอย่างนี้.

อนุโลม จบ


ความคิดเห็น 30    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 30

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๖๓๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา.

[๖๓๑] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ

[๖๓๒] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.


ความคิดเห็น 31    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 31

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ. ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

๔. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยหทยวัตถุ.

๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทยวัตถุ.

[๖๓๓] ๕. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา และหทยวัตถุ.

[๖๓๘] ๗. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 32    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 32

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๖๓๕] ๑. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม.

[๖๓๖] ๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม.

[๖๓๗] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนนภาวนาย ปหาตัพพธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย.


ความคิดเห็น 33    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 33

... อาศัยมหาภูตรูป ๑

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ... ฯลฯ

[๖๓๘] ๔. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

[๖๓๙] ๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย.

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย

[๖๔๐] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัย เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย.


ความคิดเห็น 34    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 34

๘. นปุเรชาตปัจจัย

[๖๔๑] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ.

๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม.

[๖๔๒] ๓. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ.

๔. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม

๕. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย ปหาตัพพธรรม ฯลฯ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม.


ความคิดเห็น 35    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 35

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

๖. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมอาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย

ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย ฯลฯ


ความคิดเห็น 36    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 36

๑๑. นกัมมปัจจัย

[๖๔๓] ๑. ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น ทัสสเนนปหาตัพพธรรม.

๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม.

๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะ นกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม.

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

๔. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาว นายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ

[๖๔๔] ๖. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย


ความคิดเห็น 37    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 37

คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และหทยวัตถุ.

๗. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และหทยวัตถุ.

๑๒. นวิปากปัจจัย

[๖๔๕] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม ปฏิสนธิไม่มี.

๑๓. นอาหารปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอาหารปัจจัย

คือ พาหิรรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.

๑๔. นอินทริยปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอินทริยปัจจัย

คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วน อสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.


ความคิดเห็น 38    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 38

๑๕. นฌานปัจจัย

ฯลฯ เพราะนฌานปัจจัย

คือ ปัญจวิญญาณ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.

๑๖. นมัคคปัจจัย

ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ ทั้งหลาย ฯลฯ.

๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เพราะนสัมปยุตตปัจจัย

๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ.

ในอรูปภูมิขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ.


ความคิดเห็น 39    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 39

เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ

๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย

เพราะในนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๔๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย จบ


ความคิดเห็น 40    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 40

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๖๔๗] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

อนุโลมปัจจัยนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๖๔๘] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัยมี ๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย


ความคิดเห็น 41    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 41

มี ๖ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ. พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลม จบ

ปัจจยวาระ จบ

นิสสยวาระ พึงกระทำเหมือนกับปัจจยวาระ.


ความคิดเห็น 42    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 42

สังสัฏฐวาระ

อนุโลม

เหตุปัจจัย

[๖๔๙] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒.

[๖๕๐] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม เจือกับภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ.

[๖๕๑] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เจือกับเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ.

[๖๕๒] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

ทุกๆ บท พึงแจกให้พิสดารปัจจัยละ ๓ วาระ.


ความคิดเห็น 43    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 43

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๕๓] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลม จบ

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๖๕๔] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เจือกับขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคต ด้วยวิจิกิจฉา.

[๖๕๕] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม เจือกับภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เจือกับขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ.

[๖๕๖] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เจือกับเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 44    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 44

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย

[๖๕๗] ทัสสเนนปหาตัพพธรรมเจือกับทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย เพราะนกัมมปัจจัย เพราะนวิปากปัจจัย.

เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนฌานปัจจัย

คือ ปัญจวิญญาณ ฯลฯ

ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย

คือ ฯลฯ ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ

เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๕๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียนัย จบ


ความคิดเห็น 45    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 45

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๖๕๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียะ จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๖๖๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ใน อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลม จบ

สังสัฏฐวาระ จบ


ความคิดเห็น 46    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 46

สัมปยุตตวาระ

อนุโลมนัย

เหตุปัจจัย

[๖๖๑] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ประกอบกับทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

สมปยุตตวาระ เหมือนกับสังสัฏฐวาระ.


ความคิดเห็น 47    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 47

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๖๒] ๑.ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

[๖๖๓] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

[๖๖๔] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.


ความคิดเห็น 48    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 48

[๖๖๕] ๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

[๖๖๖] ๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

[๖๖๗] ๖. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

[๖๖๘] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ เหตุปัจจัย.


ความคิดเห็น 49    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 49

๒. อารัมมณปัจจัย

[๖๖๙] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เพราะปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งทิฏฐิ เพระปรารภทิฏฐินั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภวิจิกิจฉา วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น.

[๖๗๐] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.


ความคิดเห็น 50    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 50

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่นาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๖๗๑] ๓. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เพราะปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสเป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

เพระปรารภอุทธัจจะ อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น.

[๖๗๒] ๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เพราะปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.


ความคิดเห็น 51    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 51

เพราะปรารภอุทธัจจะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น.

[๖๗๓] ๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณาเห็นกิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม, พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้ว ในกาลก่อน.

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่ อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๖๗๔] ๖. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย


ความคิดเห็น 52    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 52

บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมพิจารณากุศลกรรมนั้น, ย่อมพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.

บุคคลออกจากฌาน แล้วพิจารณาฌาน.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล แก่ อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.

บุคคลพิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทัยวัตถุ เห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ.

อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.


ความคิดเห็น 53    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 53

[๖๗๕] ๗. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งกุศลกรรมนั้น เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะที่เป็น ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลย่อมพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้ว ในกาลก่อน.

บุคคลออกจากฌานแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งฌาน เพราะปรารภฌานนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ

เมื่อฌานเสื่อมแล้ว โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้มีความเดือดร้อน.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งโสตะ ฯลฯ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ

[๖๗๖] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย


ความคิดเห็น 54    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 54

คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งกุศลกรรมนั้น เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจากฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เพราะปรารภจักษุเป็น ต้นนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๖๗๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำราคะนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำทิฏฐิให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว ครั้นกระทำทิฏฐินั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.


ความคิดเห็น 55    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 55

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๖๗๘] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๖๗๙] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๖๘๐] ๔. ภาวนาปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ


ความคิดเห็น 56    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 56

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ครั้นกระทำราคะนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อม เกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๖๘๑] ๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาอธิปติ ได้แก่

บุคคลกระทำราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

[๖๘๒] ๖. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.


ความคิดเห็น 57    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 57

[๖๘๓] ๗. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.

[๖๘๔] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติ ปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศล กรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมพิจารณา.

กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ.

ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมพิจารณา.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมพิจารณา, กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมพิจารณา กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมพิจารณา.


ความคิดเห็น 58    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 58

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๖๘๕] ๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็น ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ.

ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ฯลฯ ... ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำหทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น กระทำหทัยวัตถุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.


ความคิดเห็น 59    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 59

[๖๘๖] ๑๐. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งกุศลกรรมนั้น เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรมย่อมเกิดขึ้น.

กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ.

บุคคลย่อมยินดีย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่ เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย

[๖๘๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๖๘๘] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ


ความคิดเห็น 60    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 60

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๖๘๙] ๓. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจ ของอนันตรปัจจัย.

[๖๙๐] ๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๖๙๑] ๕. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.


ความคิดเห็น 61    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 61

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน

โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค

โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค

มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล

ผล เป็นปัจจัยแก่ผล

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ

เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๖๙๒] ๖. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ

คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๖๙๓] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนายของอนันตรปัจจัย

คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.


ความคิดเห็น 62    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 62

๕. สมนันตรปัจจัย

[๖๙๔] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

เหมือนกับ อนันตรปัจจัย.

๖. สหชาตปัจจัย

[๖๙๕] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ.

[๖๙๖] ๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ.

[๖๙๗] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย.


ความคิดเห็น 63    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 63

มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ...

[๖๙๘] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.

[๖๙๙] ๙. ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.

๗. อัญญมัญญปัจจัย

[๗๐๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญญปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ.


ความคิดเห็น 64    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 64

[๗๐๑] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ

[๗๐๒] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลาย.

มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ

๘. นิสสยปัจจัย

[๗๐๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.


ความคิดเห็น 65    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 65

๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ

๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ, หทยวัตถุ ฯลฯ

[๗๐๔] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.


ความคิดเห็น 66    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 66

[๗๐๕] ๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

[๗๐๖] ๑๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.

[๗๐๗] ๑๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

[๗๐๘] ๑๓. ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย


ความคิดเห็น 67    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 67

คือ ขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๗๐๙] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมแล้ว ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ โมหะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๗๑๐] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่


ความคิดเห็น 68    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 68

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ความ ปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ ทางกาย แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

[๗๑๑] ๓. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ มานะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่มานะ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๗๑๒] ๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่


ความคิดเห็น 69    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 69

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรมแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ โมหะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ มานะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสัยปัจจัย.

ฉันทราคะในภัณฑะของตน เป็นปัจจัยแก่ฉันทราคะในภัณฑะของผู้อื่น ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ฉันทราคะในสิ่งของที่หวงแหนของตน เป็นปัจจัย แก่ฉันทราคะในสิ่งของที่หวงแหนของผู้อื่น ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๗๑๓] ๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสะ และ ปกตปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ โมหะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.


ความคิดเห็น 70    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 70

ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ มานะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๗๑๔] ๖. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ สุตะ จาคะ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น

ศรัทธา ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๗๑๕] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ


ความคิดเห็น 71    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 71

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ฯลฯ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

[๗๑๖] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ก่อมานะ.

ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่มานะ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๗๑๗] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย


ความคิดเห็น 72    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 72

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์เป็นอนัตตา

บุคคลพิจารณาเห็น โสตะ ฯลฯ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทัยวัตถุ ฯลฯ

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ. หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[๗๑๘] ๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ


ความคิดเห็น 73    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 73

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งหทยวัตถุ เพราะปรารภหทยวัตถุนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[๗๑๙] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่างคือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งโสตะ ฯลฯ กายะ รูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.


ความคิดเห็น 74    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 74

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๗๒๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

[๗๒๑] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

[๗๒๒] ๓. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๗๒๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย


ความคิดเห็น 75    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 75

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายเกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

[๗๒๔] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

[๗๒๕] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน, โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๗๒๖] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.


ความคิดเห็น 76    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 76

[๗๒๗] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๗๒๘] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๗๒๙] ๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.


ความคิดเห็น 77    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 77

[๗๓๐] ๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๗๓๑] ๖. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๗๓๒] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่างคือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่


ความคิดเห็น 78    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 78

เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๗๓๓] ๑. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.

๑๕. อาหารปัจจัย

[๗๓๔] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ กวฬีการาหาร ฯลฯ.

อาหารปัจจัย มี ๗ วาระ.

๑๖. อินทริยปัจจัย

... เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ จักขุนทรีย์ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์ ฯลฯ

มี ๗ วาระ.


ความคิดเห็น 79    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 79

๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของมัคคปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิด พร้อมกันเป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

[๗๓๕] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ แม้บทนี้ก็เหมือนกับทัสสเนนะ.

[๗๓๖] ๓. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.


ความคิดเห็น 80    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 80

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย. หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

[๗๓๗] ๔. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

[๗๓๘] ๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่


ความคิดเห็น 81    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 81

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๗๓๙] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

[๗๔๐] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัย แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๗๔๑] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย


ความคิดเห็น 82    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 82

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๖)

พึงกระทำเหมือนกับทัสสเนนะ.

[๗๔๒] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายเป็น ปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

สำหรับอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น อนัตตา.

บุคคลพิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ กายะ รูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.


ความคิดเห็น 83    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 83

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น

ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

กวฬีการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้, รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย.

[๗๔๓] ๘. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลย่อมยินดีซึ่งโสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.


ความคิดเห็น 84    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 84

[๗๔๘] ๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ภาวนายปาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๗๔๕] ๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปทาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดพร้อมกัน และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ ฯลฯ.

[๗๔๖] ๑๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ


ความคิดเห็น 85    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 85

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดพร้อมกัน และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๗๔๗] ๑๒. ภาวนาปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

พึงกระทำเป็น ๒ วาระ. (วาระที่ ๑๒ - ๑๓)

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

[๗๔๘] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๔๙] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๘ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสย-


ความคิดเห็น 86    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 86

ปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วานะ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้

อนุโลม จบ

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัย ในปัจจนียะ แห่งปัญหาวาระ

[๗๕๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๗๕๑] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.


ความคิดเห็น 87    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 87

[๗๕๒] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน ปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

[๗๕๓] ๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๗๕๔] ๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๗๕๕] ๖. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

[๗๕๖] ๗. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

[๗๕๗] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย


ความคิดเห็น 88    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 88

ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย.

[๗๕๘] ๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[๗๕๙] ๑๐. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[๗๖๐] ๑๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

[๗๖๑] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

[๗๖๒] ๑๓. ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ


ความคิดเห็น 89    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 89

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

[๗๖๓] ๑๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๗๖๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑๔ วานะ ในนฌานปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๘ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๘ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ


ความคิดเห็น 90    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 90

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๗๖๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียะ จบ

ปัจจนียนุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๗๖๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๘ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ใน


ความคิดเห็น 91    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 91

กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลม จบ

ทัสสนติกะที่ ๘ จบ

อรรถกถาทัสสนติกะ

ใน ทัสสนติกะ ในคำทั้งหลายมีอาทิว่า ราคะ ที่พึงละด้วย ทัสสนะ (พระโสดาบัน) ย่อมเกิดขึ้น ผู้ศึกษาพึงทราบว่า ธรรมที่เกิดขึ้น แก่พระอริยบุคคลเบื้องต่ำ ย่อมไม่เกิดแก่พระอริยบุคคลเบื้องสูงอย่างนี้

คือ ราคะ ที่พึงละด้วยทัสสนะย่อมเกิดแก่ปุถุชน ราคะที่พึงละด้วยภาวนาย่อมเกิดแม้แก่พระโสดาบัน ธรรมที่พึงละด้วยทัสสนะย่อมไม่เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่พึงละด้วย ภาวนา ด้วยอำนาจของปัจจัยแม้อย่างหนึ่ง. คำที่เหลือในอธิการนี้ ผู้ศึกษาพึง ติดตามบาลี แล้วทราบด้วยอำนาจแห่งลักษณะที่กล่าวไว้ในกุสลติกะ.

อรรถกถาทัสสนติกะ จบ