๗๑. อุปาทานสัมปยตตทุกะ
โดย บ้านธัมมะ  28 ก.พ. 2565
หัวข้อหมายเลข 42315

[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๕

อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)

๗๑. อุปาทานสัมปยตตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 469

๑. เหตุปัจจัย 426/469

๒. อารัมมณปัจจัย 427/471

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 428/472

ปัจจนียนัย 473

๑. นเหตุปัจจัย 429/473

๒. นอารัมมณปัจจัย 430/473

๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๖. นอุปนิสสยปัจจัย 474

๗. นปุเรชาตปัจจัย 431/475

๘. นปัจฉาชาตปัจจัย ๙. นอาเสวนปัจจัย 476

๑๐. นกัมมปัจจยั 432/476

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 433/477

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 475

๑. เหตุปัจจัย 434/479

๒. อารัมมณปัจจัย 481

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 435/481

ปัจจนียนัย 481

๑. นเหตุปัจจัย 436/481

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 437/482

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 483

๑. เหตุปัจจัย 438/483

ปัจจนียนัย 484

๑. นเหตุปัจจัย 440/484

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 441/484

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 485

๑. เหตุปัจจัย 442/485

๒. อารัมมณปัจจัย 443/487

๓. อธิปติปัจจัย 444/490

๔. อนันตรปัจจัย 445/484

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 446/496

๙. อุปนิสสยปัจจัย 447/497

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 448/500

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 449/502

๑๒. อาเสวนปัจจัย 502

๑๓. กัมมปัจจัย 450/502

๑๔. วิปากปัจจัย 451/504

๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 452/504

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 453/505

๒๑. อัตถิปัจจัย 454/506

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 510

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 455/510

ปัจจนียนัย 510

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 456/510

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 457/512

อนุโลมปัจจนียนัย 513

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 458/513

ปัจจนียานุโลมนัย 513

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 459/513


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]



ความคิดเห็น 1    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 469

๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๒๖] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๒. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม.

โลภะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่ เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต.

๓. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ขันธ์ ๓, โลภะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.


ความคิดเห็น 2    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 470

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

๕. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต.

๖. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะที่เป็น ทิฏฐิคตวิปปยุต.

๗. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.


ความคิดเห็น 3    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 471

๘. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิ- คตวิปปยุต และโลภะ.

๙. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย โลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๔๒๗] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

๒. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ โลภะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต.

๓. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย


ความคิดเห็น 4    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 472

คือ ขันธ์ ๓ และโลภะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็น ทิฏฐิคตวิปปยุต ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๕. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต.

๖. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตและโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ฯลฯ

การนับจํานวนวาระในอนุโลม

[๔๒๘] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ


ความคิดเห็น 5    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 473

ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ใน วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ใน วิคตปัจจัย มี ๖ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๒๙] ๑. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้ง หลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๔๓๐] ๑. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย


ความคิดเห็น 6    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 474

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม.

๒. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ.

๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๖. อุปนิสสยปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย

เพราะนอนันตรปัจจัย

เพราะนสมนันตรปัจจัย

เพราะนอุปนิสสยปัจจัย


ความคิดเห็น 7    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 475

๗. นปุเรชาตปัจจัย

[๔๓๑] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๒. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ โลภะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็น ทิฏฐิคตวิปปยุต.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม.

๓. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ และโลภะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.


ความคิดเห็น 8    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 476

๕. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต.

๖. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็น ทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๗. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิ- คตวิปปยุต และโลภะ

๘. ปัจฉาชาตะ ฯลฯ ๙. นอาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย

๑๐. นกัมมปัจจัย

[๔๓๒] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย


ความคิดเห็น 9    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 477

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม.

๒. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม.

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

๓. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย.

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต.

๔. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย.

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็น ทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๓๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ


ความคิดเห็น 10    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 478

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคต ปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ ก็พึงกระทำ.

สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.


ความคิดเห็น 11    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 479

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๓๔] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัยมี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓) เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ฯลฯ ตลอด ถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต อาศัยหทยวัตถุ.

๕. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต.

๖. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.


ความคิดเห็น 12    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 480

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะที่เป็น ทิฏฐิคตวิปปยุต.

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ อาศัยหทยวัตถุ.

๗. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และ โลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๘. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิ- คตวิปปยุต และโลภะ.

โลภะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และหทยวัตถุ.

๙. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 13    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 481

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ขันธ์ ๓ และโลภะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตต และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

ในอารัมมณปัจจัย พึงกระทำปัญจวิญญาณ.

การนับจํานวนวาระในอนุโลม

[๔๓๕] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ใน อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๔๓๖] ๑. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 14    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 482

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัย หทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๓๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.


ความคิดเห็น 15    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 483

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๓๘] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เจือกับอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ. (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เจือกับอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อรูปภูมิ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๕. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เจือกับอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อรูปภูมิ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๖. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เจือกับอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อรูปภูมิ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

การนับจํานวนวาระในอนุโลม

[๔๓๙] ในเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๖ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.


ความคิดเห็น 16    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 484

ปัจจนียนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๔๐] ๑. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เจือกับอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ

[๔๔๑] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.


ความคิดเห็น 17    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 485

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๔๒] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

เหตุทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัย แก่โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ เหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓).

เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

เหตุทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, โลภะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ ของเหตุปัจจัย.


ความคิดเห็น 18    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 486

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

โลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๕)

โลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๖)

โลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๗. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๘)

โมหะ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ เป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.


ความคิดเห็น 19    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 487

๙. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุ ปัจจัย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๔๔๓] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น. พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๒)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๓)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย


ความคิดเห็น 20    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 488

คือ ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กุศลที่ได้สั่งสม ไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจากฌาน แล้วพิจารณาฌาน.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ เมื่อฌานเสื่อมไป โทมนัส ย่อมเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้เดือดร้อนใจ.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค, ผล ฯลฯ พิจารณา นิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่ อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ และขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็น ทิฏฐิคตวิปปยุต ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ฯลฯ พึงใส่ ให้ครบถ้วน เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ตลอดถึงกายวิญญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่ อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.


ความคิดเห็น 21    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 489

๕. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ฌาน ฯลฯ จักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ เพราะปรารภทานเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

๖. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน สัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย

คือ พิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็น ทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ย่อมเกิดขึ้น.

๗. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๘)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ ย่อมเกิดขึ้น.


ความคิดเห็น 22    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 490

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๙)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตและโลภะ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิควิปปยุต และโลภะ ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๔๔๔] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๒)

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่


ความคิดเห็น 23    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 491

อธิปติธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

อธิปติธรรมที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัยแก่ โลภะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๓)

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

อธิปติธรรมที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โลภะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อธิปติปัจจัย.

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่


ความคิดเห็น 24    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 492

ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำ ทานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ย่อมเกิดขึ้น.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจ ของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ ให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ให้ทาน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ ให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.


ความคิดเห็น 25    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 493

๖. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน สัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติ- ปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

จักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ย่อมเกิดขึ้น.

๗. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติ ปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๘)

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ย่อม เกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๙)


ความคิดเห็น 26    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 494

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย

[๔๔๕] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อุปาทานสัมปยุตตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจ ของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๒)

ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิด หลังๆ และโลภะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.


ความคิดเห็น 27    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 495

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่โลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๕)

โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๖)

โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดหลังๆ และโลภะ ด้วยอำนาจ ของอนันตรปัจจัย.


ความคิดเห็น 28    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 496

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็น ทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๗. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิด ก่อนๆ และโลภะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิ- คตวิปปยุต ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดก่อนๆ และโลภะ เป็นปัจจัยแก่โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจ ของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดก่อนๆ และโลภะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดหลังๆ และโลภะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

[๔๔๖] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย


ความคิดเห็น 29    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 497

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนกับปัจจยวาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๔๔๗] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้ง หลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)


ความคิดเห็น 30    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 498

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อมานะ

อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ

บุคคลเข้าไปอาศัย ราคะ มานะ ความปรารถนา ฯลฯ เสนาสนะ ที่ เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ ราคะ แก่มานะ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ วาระ

คือ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ก่อมานะ ถือทิฏฐิ ศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะ มานะ ความปรารถนา ฯลฯ เสนาสนะ ที่เป็น อุปาทานวิปปยุตตธรรมแล้วทำอทินนาทาน ฯลฯ มุสาวาท ฯลฯ ปิสุณาวาท ฯลฯ


ความคิดเห็น 31    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 499

ผรุสวาท ฯลฯ สัมผัปปลาปะ ฯลฯ ตัดช่องย่องเบา ฯลฯ ลอบขึ้นไปลัก ทรัพย์ ฯลฯ ปล้นบ้านหลังหนึ่ง ฯลฯ ปล้นตามทาง ฯลฯ ผิดภริยาผู้อื่น ฯลฯ ฆ่าคนในหมู่บ้าน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ฯลฯ

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะ แก่โมหะ แก่มานะ แก่ ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

๖. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา แล้วก่อมานะ ฯลฯ ศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะ ฯลฯ เสนาสนะ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม แล้วถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ให้ กระทำการฆ่าคนในหมู่บ้าน ฆ่าคน ในนิคม.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๗. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย


ความคิดเห็น 32    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 500

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๔๔๘] ๑. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ


ความคิดเห็น 33    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 501

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๓. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาต ปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่


ความคิดเห็น 34    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 502

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๔๔๙] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๒. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๓. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

๑๓. กัมมปัจจัย

[๔๕๐] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.


ความคิดเห็น 35    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 503

๒. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

เจตนาที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัยแก่โลภะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และ กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน สัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

เจตนาที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, โลภะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ ของกัมมปัจจัย.

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย


ความคิดเห็น 36    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 504

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และ กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๔๕๑] ๑. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ มี ๑ วาระ.

๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๔๕๒] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย


ความคิดเห็น 37    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 505

ในปัจจัยทั้ง ๔ นี้ พึงแสดงเหมือนโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่ แสดงไว้ในกัมมปัจจัย มีปัจจัยละ ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๔๕๓] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ ที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทาน สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน สัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่


ความคิดเห็น 38    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 506

หทยวัตถุ ที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่ เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๕. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๔๕๔] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

๒. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน สัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ- ปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.


ความคิดเห็น 39    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 507

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ

๕. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ ฯลฯ

๖. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน สัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ- ปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ในปัจจัยเหล่านี้ ที่เป็น สหชาตะ เหมือนกับสหชาตปัจจัย, ที่เป็น ปุเรชาตะ เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย.

๗. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ ปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒.


ความคิดเห็น 40    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 508

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๘. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ- ปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ, ปัจฉาชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่โลภะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.


ความคิดเห็น 41    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 509

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต, โลภะ ที่เกิด ภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต, โลภะ ที่ เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย.

๙. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และหทยวัตถุเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และโลภะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ


ความคิดเห็น 42    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 510

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๔๕๕] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ใน อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๔๕๖] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.


ความคิดเห็น 43    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 511

๒. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ กัมมปัจจัย.

๓. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน สัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน สัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของ


ความคิดเห็น 44    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 512

อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาต ปัจจัย.

๗. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๘. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๙. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๕๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.


ความคิดเห็น 45    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 513

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๔๕๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๔๕๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนุโลมมาติกา ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อุปาทานสัมปยุตตทุกะ จบ