๑๓. ปริตตารัมมณติกะ - อนุโลมติกปัฏฐาน
โดย บ้านธัมมะ  23 ก.พ. 2565
หัวข้อหมายเลข 42217

[เล่มที่ 87] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๓

อนุโลมติกปัฏฐาน

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 442

๑. เหตุปัจจัย 442

๒. อารัมมณปัจจัยฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย 443

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 443

ปัจจนียนัย 443

๑. นเหตุปัจจัย 443

๒. นอธิปติปัจจัย 444

๓. นปุเรชาตปัจจัย 445

๔. นปัจฉาชาตปัจจัย ๕. นอาเสวนปัจจัย 445

๖. นกัมมปัจจัย 446

๗. นวิปากปัจจัย ฯลฯ ๙. นมัคคปัจจัย 446

๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย 447

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 448

อนุโลมปัจจนียนัย 448

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 448

ปัจจนียานุโลมนัย 449

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 449

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 450

๑. เหตุปัจจัย 450

๒. อารัมมณปัจจัย 451

๓. อธิปติปัจจัย 455

๔. อนันตรปัจจัย 459

๕. สมนันตรปัจจัย 462

๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๙. อุปนิสสยปัจจัย 463

๑๐. อาเสวนปัจจัย 469

๑๑. กัมมปัจจัย 470

๑๒. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๑. อวิคตปัจจัย 472

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 473

ปัจจนียนัย 473

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 473

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 475

อนุโลมปัจจนียนัย 476

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 476

ปัจจนียานุโลมนัย 476

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 476

อรรถกถาปริตตารัมมณติกะ 477


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 87]



ความคิดเห็น 1    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 442

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๕๔๑] ๑. ปริตตารัมมณธรรม อาศัยปริตตารมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

[๑๕๔๒] ๒. มหัคคตารัมมณธรรม อาศัยมหัคคตารัมมณธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ

[๑๕๔๓] ๓. อัปปมาณารัมมณธรรม อาศัยอัปปมาณารัมมณธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒.


ความคิดเห็น 2    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 443

๒. อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย

[๑๕๔๔] ปริตตารัมมณธรรม อาศัยปริตตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๕๔๕] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๕๔๖] ๑. ปริตตารัมมณธรรม อาศัยปริตตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

[๑๕๔๗] ๒. มหัคคตารัมมณธรรม อาศัยมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ เพราะเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 3    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 444

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

[๑๕๔๘] ๓. อัปปมาณารัมมณธรรม อาศัยอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๒. นอธิปติปัจจัย

[๑๕๔๙] ๑. ปริตตารัมมณธรรม อาศัยปริตตารัมมณธรรมเกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

[๑๕๕๐] ๒. มหัคคตารัมมณธรรม อาศัยมหัคคตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

[๑๕๕๑] ๓. อัปปมาณารัมมณธรรม อาศัยอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย


ความคิดเห็น 4    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 445

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๓. นปุเรชาตปัจจัย

[๑๕๕๒] ๑. ปริตตารัมมณธรรม อาศัยปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

[๑๕๕๓] ๒. มหัคคตารัมมณธรรม อาศัยมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

เพราะนุปเรชาตปัจจัย ในมหัคคตารัมมณธรรม ปฏิสนธิ ไม่มี.

[๑๕๕๔] ๓. อัปปมาณารัมมณธรรม อาศัยอัปปมาณารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๔. นปัจฉาชาตปัจจัย ๕. นอาเสวนปัจจัย

เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย เหมือนกับ เพราะนอธิปติปัจจัย.


ความคิดเห็น 5    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 446

๖. นกัมมปัจจัย

[๑๕๕๕] ๑. ปริตตารัมมณธรรม อาศัยปริตตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นปริตตารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น ปริตตารัมมณธรรม.

[๑๕๕๖] ๒. มหัคคตารัมมณธรรม อาศัยมหัคคตารัมมณ ธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น มหัคคตารัมมณธรรม.

[๑๕๕๗] ๓. อัปปมาณารัมมณธรรม อาศัยอัปปมาณารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อัปปมาณารัมมณธรรม.

๗. นวิปากปัจจัย ฯลฯ ๙. นมัคคปัจจัย

[๑๕๕๘] ๑. ปริตตารัมมณธรรม อาศัยปริตตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย. ปฏิสนธิ ไม่มี.

เพราะนฌานปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ

เพราะนมัคคปัจจัย


ความคิดเห็น 6    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 447

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

[๑๕๕๙] ๒. มหัคคตารัมมณธรรม อาศัยมหัคคตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

[๑๕๖๐] ๓. อัปปมาณารัมมณธรรม อาศัยอัปปมาณารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย

[๑๕๖๑] ๑. ปริตตารัมมณธรรม อาศัยปริตตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ

[๑๕๖๒] ๒. มหัคคตารัมมณธรรม อาศัยมหัคคตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ


ความคิดเห็น 7    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 448

[๑๕๖๓] ๓. อัปปมาณารัมมณธรรม อาศัยอัปปมาณารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๕๖๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๕๖๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ... ใน นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ


ความคิดเห็น 8    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 449

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๕๖๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ... ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

ปฏิจจวาระ จบ

สหชาตวาระก็ดี ปัจจัยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี

สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.


ความคิดเห็น 9    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 450

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๕๖๗] ๑. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

[๑๕๖๘] ๒. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

[๑๕๖๙] ๓. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.


ความคิดเห็น 10    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 451

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๕๗๐] ๑. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้วพิจารณากุศลกรรมนั้น.

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม, พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน. พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยปริตตารัมมณปริตตจิต ด้วยเจโตปริยญาณ.

ปริตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๕๗๑] ๒. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย


ความคิดเห็น 11    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 452

คือ บุคคลพิจารณาทิพยจักษุ พิจารณาทิพโสตธาตุ พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นปริตตารัมมณธรรม พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ พิจารณาปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ พิจารณายถากัมมูปคญาณ ฯลฯ พิจารณาอนาคตังสญาณ.

บุคคลพิจารณาเห็นมหัคคตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรม โดยของความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยมหัคคตจิต ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

มหัคคตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๕๗๒] ๓. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ ฯลฯ พิจารณาวิญญานัญจายตนะ พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ พิจารณาอิทธิวิญญาณ ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม พิจารณา เจโตปริยญาณ พิจารณาปุพเพนิวาสานุสสติญาณ พิจารณายถากัมมูปคญาณ พิจารณาอนาคตังสญาณ.

บุคคลพิจารณาเห็นมหัคคตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.


ความคิดเห็น 12    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 453

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยมหัคคตจิตที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

มหัคคตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๕๗๗] ๔. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลพิจารณาปฐมฌานปัจจเวกขณะ ฯลฯ พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนปัจจเวกขณะ พิจารณาทิพพจักขุปัจจเวกขณะ พิจารณาทิพพโสตธาตุปัจจเวกขณะ อิทธิวิธญาณปัจจเวกขณะ ฯลฯ เจโตปริยญาณปัจจเวกขณะ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณปัจจเวกขณะฯะฯ ยถากัมมูปคญาณปัจจเวกขณะ ฯลฯ พิจารณาอนาคตังสญาณปัจจเวกขณะ.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.

บุคคลพิจารณาเห็นปริตตขันธ์ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยปริตตจิต ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.


ความคิดเห็น 13    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 454

ปริตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๕๗๔] ๕. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยอัปปมาณจิต ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

อัปปมาณขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสนุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๕๗๕] ๖. อัปปมาณารัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณาโคตรภู, พิจารณาโวทาน, พิจารณา มรรคปัจจเวกขณะ, พิจารณาผลปัจจเวกขณะ, พิจารณานิพพานปัจจเวกขณะ.

บุคคลพิจารณาเห็นปริตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณารัมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยปริตตจิต ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.


ความคิดเห็น 14    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 455

ปริตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๕๗๖] ๗. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณาเจโตปริยญาณที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม พิจารณาปุพเพนิวาสานุสสติญาณ พิจารณาอนาคตังสญาณ รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยมหัคคตจิตที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ

มหัคคตขันธ์ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๑๕๗๗] ๑. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศล กรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อนให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.


ความคิดเห็น 15    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 456

บุคคลกระทำปริตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้ง หลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๑๕๗๘] ๒. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลกระทำทิพยจักษุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา. กระทำทิพโสตธาตุ ฯลฯ อิทธิวิธญาณที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ กระทำ อนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

บุคคลย่อมยินดีย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำมหัคคตขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นปริตตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

[๑๕๗๙] ๓. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ


ความคิดเห็น 16    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 457

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลกระทำวิญญาณัญจายตนะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ อิทธิวิธญาณที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำมหัคคตขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ ขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๑๕๘๐] ๔. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลกระทำปฐมฌานปัจจเวกขณะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา ฯลฯ กระทำอนาคตังสญาณปัจจเวกขณะ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ


ความคิดเห็น 17    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 458

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำปริตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

[๑๕๘๑] ๕. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย.

[๑๕๘๒] ๖. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระเสกขบุคคลทั้งหลาย กระทำโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา, กระทำโวทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา, กระทำมรรคปัจจเวกขณะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา, กระทำผลปัจจเวกขณะ ฯลฯ กระทำนิพพานปัจจเวกขณะ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.


ความคิดเห็น 18    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 459

[๑๕๘๓] ๗. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระเสกขบุคคลทั้งหลายกระทำเจโตปริยญาณที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ กระทำอนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

๔. อนันตรปัจจัย

[๑๕๘๔] ๑. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตรัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๕๘๕] ๒. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ภวังค์ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็น มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.


ความคิดเห็น 19    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 460

[๑๕๘๖] ๓. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ภวังค์ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็น มหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ

อนุโลมที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลมเป็น ปัจจัยแก่โวทาน.

อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๕๘๗] ๔. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๕๘๘] ๕. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

คือ จุติจิตป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ภวังค์ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็น ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.


ความคิดเห็น 20    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 461

[๑๕๘๙] ๖. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ภวังค์ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็น อัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ

อนุโลมที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน.

อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ.

เนวสัญญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๕๙๐] ๗. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค. โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค.

มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล.

ผลเป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๕๙๑] ๘. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ มรรคปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตตารัมมณธรรม.


ความคิดเห็น 21    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 462

ผลปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตตารัมมณธรรม.

นิพพานปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตตารัมมณธรรม.

เจโตปริยญาณที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตตารัมมณธรรม.

ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เป็นปัจจัยแก่วุฎฐานะที่เป็นปริตตารัมมณธรรม.

อนาคตังสญาณ เป็นปัจจัยแก่วุฎฐานะที่เป็นปริตตารัมมณธรรม.

ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๕๙๒] ๙. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

คือ มรรคปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม, ผลปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐาน ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม. นิพพานปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม.

ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย

[๑๕๙๓] ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย.


ความคิดเห็น 22    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 463

๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๑๕๙๔] ๑. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ พึงกระทำเหมือนกับปฏิจจวาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปริตตารัมมณธรรมแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม ฯลฯ ยังฌานที่เป็นปริตตารัมมณธรรมให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยปัญญา ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย แล้วให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม ฯลฯ ยังฌานที่เป็นปริตตารัมมณธรรมให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติ ให้เกิดขึ้น ย่อมฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธาที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปริตตารัมมณธรรมแก่ปัญญา แก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.


ความคิดเห็น 23    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 464

[๑๕๙๕] ๒. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นปริตตารัมมณธรรมแล้ว ยังฌานที่ เป็นมหัคคตารัมมณธรรมให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยัง สมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกายแล้ว ยังฌานที่เป็น มหัคคตารัมมณธรรมให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

ศรัทธาที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๕๙๖] ๓. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นปริตตารัมมณธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังฌานที่ ให้เกิดขึ้น.


ความคิดเห็น 24    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 465

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ยังฌานที่เป็นอัปปมาณธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ศรัทธาที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๕๙๗] ๔. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรมให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติ ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฌานที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ ถือทิฏฐิ.

ศรัทธาที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๕๙๘] ๕. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนนิสสยปัจจัย


ความคิดเห็น 25    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 466

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม แล้วให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ ยัง วิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติ ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ.

ศรัทธาที่เป็นมหคัคตารัมมณธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัย แก่ศรัทธาที่เป็นปริตตารัมมณธรรม แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๕๙๙] ๖. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรมแล้ว ยังฌานที่ เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้ เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยความ ปรารถนาแล้ว ยังฌานที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.


ความคิดเห็น 26    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 467

ศรัทธาที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๖๐๐] ๗. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรมแล้ว ยังฌาน ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติ ให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยปัญญาแล้ว ยังฌานที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๖๐๑] ๘. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ


ความคิดเห็น 27    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 468

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรมแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยปัญญาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ที่ปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๖๐๒] ๙. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรมแล้ว ยังฌานที่ เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยปัญญา แล้วยังฌานที่มหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.


ความคิดเห็น 28    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 469

ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. อาเสวนปัจจัย

[๑๖๐๓] ๑. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอํานาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

[๑๖๐๔] ๒. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ อนุโลมที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.

อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

[๑๖๐๕] ๓. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.


ความคิดเห็น 29    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 470

[๑๖๐๖] ๔. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณารัมณณธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ อนุโลมที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.

อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

[๑๖๐๗] ๕. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค.

โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

๑๑. กัมมปัจจัย

[๑๖๐๘] ๑. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย. ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่


ความคิดเห็น 30    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 471

เจตนาที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น ปริตตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๖๐๙] ๒. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๖๑๐] ๓. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๖๑๑] ๔. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย


ความคิดเห็น 31    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 472

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๖๑๒] ๕. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มีอย่างเดียว

คือ นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

๑๒. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๑. อวิคตปัจจัย

[๑๖๑๓] ๑. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมณธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสัมปยุตตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.


ความคิดเห็น 32    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 473

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๖๑๔] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๑๖๑๕] ๑. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.


ความคิดเห็น 33    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 474

[๑๖๑๖] ๒. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๖๑๗] ๓. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๖๑๘] ๔. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๖๑๙] ๕. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๖๒๐] ๖. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๖๒๑] ๗. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.


ความคิดเห็น 34    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 475

[๑๖๒๒] ๘. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๖๒๓] ๙. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๖๒๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ. ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ


ความคิดเห็น 35    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 476

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๖๒๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาร ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัยมี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๖๒๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ใน สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลม จบ

ปริตตารัมมณติกะที่ ๑๓ จบ


ความคิดเห็น 36    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 477

อรรถกถาปริตตารัมมณติกะ

สองบทว่า อปฺปมาณารมฺมณา เจตนา ใน ปริตตารัมมณติกะ คือ เจตนาในโคตรภู เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม จะกล่าวว่า ปัจจเวกขณเจตนา ก็ได้. สองบทว่า วิปากานํ ปริตฺตารมฺมณานํ คือวิบากที่มีกรรมเป็นอารมณ์เกิดขึ้นในปฏิสนธิกาล มีรูปเป็นต้นเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นด้วยอำนาจ จักขุวิญญาณเป็นต้น มีปริตตารมณ์ที่ชวนะรับมาเกิดขึ้นด้วยอำนาจตทารัมมณะ ในปวัตติกาล ก็อาจารย์เหล่าใดกล่าวว่า ปฏิสนธิย่อมไม่มี เพราะโคตรภูจิต เป็นปัจจัย อาจารย์เหล่านั้น พึงถูกคัดค้านด้วยสูตรนี้. คำที่เหลือในอธิการนี้พึง ทราบตามนัยแห่งบาลีนั่นเอง

หีนติกะเช่นเดียวกับสังกิลิฏฐติกะ

อรรถกถาปริตตารัมมณติกะ จบ