๖๑. จิตตสหภุทุกะ
โดย บ้านธัมมะ  28 ก.พ. 2565
หัวข้อหมายเลข 42305

[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๕

อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)

๖๑. จิตตสหภุทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 205

๑. เหตุปัจจัย 189/205

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 190/208

ปัจจนียนัย 209

๑. นเหตุปัจจัย 191/209

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 192/210

๑๑. นกัมมปัจจัย 193/210

๑๕. นฌานปัจจัย 195/211

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 212

๑. เหตุปัจจัย 197/212

๒. อารัมมณปัจจัย 198/214

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 199/214

ปัจจนียนัย 215

๑. นเหตุปัจจัย 200/215

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 201/215

อนุโลมปัจจนียนัย 216

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 202/216

ปัจจนียานุโลมนัย 216

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 203/216

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 217

๑. เหตุปัจจัย 204/217

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 205/218

ปัจจนียนัย 218

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 206/218

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 219

๑. เหตุปัจจัย 207/219

๒. อารัมมณปัจจัย 208/220

๓. อธิปติปัจจัย 209/220

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๙. อุปนิสสยปัจจัย 210/220

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 211/221

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 212/221

๑๒. อาเสวนปัจจยั 222

๑๓. กัมมปัจจัย 213/222

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๕. อาหารปัจจัย 214/224

๑๖. อินทริยปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 215/224

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 216/224

๒๑. อัตถิปัจจัย 217/229

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 218/232

ปัจจนียนัย 232

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 219/232

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 220/234

อนุโลมปัจจนียนัย 235

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนยะี 221/235

ปัจจนียานุโลมนัย 235

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 222/235


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]



ความคิดเห็น 1    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 205

๖๑. จิตตสหภุทุกะ (๑)

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๘๙] ๑. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภู- ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตและจิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ทั้ง หลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ จิตและกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม.

๓. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒, จิต และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และ ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ฯลฯ


๑. ม. เป็นจิตตสหภูทุกะ


ความคิดเห็น 2    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 206

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ จิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น จิตตสหภูธรรม ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต, หทยวัตถุ อาศัยจิต, จิต อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม และกฏัตตารูป ที่เป็น อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๕. จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภู- ธรรม อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ที่เป็นอุปาทารูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๖. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 3    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 207

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภู- ธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิต.

ในฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูป อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๗. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และ จิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยขันธ์ ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต.


ความคิดเห็น 4    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 208

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต.

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และ หทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม และกฏัตตารูปที่เป็น อุปาทารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัย จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้1น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่ จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น จิตตสหภูธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภู- ธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๙๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อรูปทั้งหมดพึงยกขึ้นแสดงเหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ


ความคิดเห็น 5    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 209

มหาภูตรูปทั้งหลาย พึงกระทำใน ๖ วาระ, ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัยไม่มี ใน อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๙๑] ๑. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

พึงทำทั้ง ๙ วาระดังกล่าวมา พึงกำหนดคำว่า อเหตุกะ ในอนุโลม ท่านจำแนกไว้อย่างใด พึงทำอย่างนั้น โมหะ มี ๓ วาระ ในจิตตสมุฏฐานทุกะ ท่านจำแนกไว้อย่างใด พึงทำอย่างนั้น.


ความคิดเห็น 6    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 210

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๙๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

๑๑. นกัมมปัจจัย

[๑๙๓] ๑. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภู- ธรรม.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรู ฯลฯ

๓. จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยจิต.

๔. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย


๑. ข้อ ๑๙๒, ๑๙๔, ๑๙๖ ควรจะจัดไว้เป็นข้อเดียวกันเหมือนทุกครั้ง


ความคิดเห็น 7    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 211

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายก็เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต.

[๑๙๔] ในนกัมมปัจจัยมี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ.

๑๕. นฌานปัจจัย

[๑๙๕] ๑. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ

[๑๙๖] ในนฌานปัจจัย มี ๖ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

การนับสองนัยนอกนี้ พึงกระทำอย่างนี้.

แม้สหชาตวาระ ก็เหมือนกับปฏิจจวาระ.


ความคิดเห็น 8    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 212

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

เหตุปัจจัย

[๑๙๗] ๑. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต อาศัยหทยวัตถุ, จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหมือนกับปฏิจจวาระ มหาภูครูปทั้งหมด.

๕. จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภู- ธรรม อาศัยจิต.

ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูปทั้งหมด เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๖. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภู- ธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิต.


ความคิดเห็น 9    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 213

จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ เหมือนกับปฏิจจวาระ มหาภูตรูปทั้งหมด.

๗. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ เหมือนกับปฏิจจวาระ มหาภูตรูปทั้งหมด.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต.

จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็น จิตตสหภูธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหมือนกับปฏิจจวาระ มหาภูตรูปทั้งหมด.

๙. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 10    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 214

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่ จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ และจิต, อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ เหมือนกับปฏิจจวาระ มหาภูตรูป ทั้งหมด.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๙๘] ๑. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ นี้เหมือน อารัมมณปัจจัย ในปัจจยวาระ, ในจิตตสมุฏฐานทุกะ พึงกระทำปัญจวิญญาณมูล แก่ธรรมเหล่านั้นทั้ง ๖ อย่าง ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๙๙] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.


ความคิดเห็น 11    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 215

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๒๐๐] ๑. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ พึงกระทำ ทุกอย่าง, ปัญจวิญญาณแห่งปัจจยวาระ, มูล แห่งธรรมทั้ง ๖ ก็พึงกระทำ, มหาภูตรูปทั้งหมด มี ๓ วาระ เหมือนกัน.

โมหะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๐๑] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.


ความคิดเห็น 12    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 216

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระใรอนุโลมปัจจนียะ

[๒๐๒] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน ปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๒๐๓] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

นิสสยวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.


ความคิดเห็น 13    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 217

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๐๔] ๑. จิตตสหภูธรรม เจือกับจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับ ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ฯลฯ เจือกับ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เจือกับจิตตสหภู- ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เจือกับจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิต เจือกับ ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ฯลฯ เจือกับ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. จิตตสหภูธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภู- ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 14    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 218

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. จิตตสหภูธรรม เจือกับจิตตสหภูธรรม และธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับ ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต ฯลฯ เจือกับ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๐๕] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๐๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ... (โมหะ มี ๓ วาระ) ใน นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ใน นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

การนับสองนัยนอกจากนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำทั้งหมด.


ความคิดเห็น 15    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 219

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๐๗] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม. ด้วยอำนาจของ เหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๓. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย, จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่ จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.


๑. วิญญัติรูป ๒, ๒. รูปที่นอกจากวิญญัติรูป ๒


ความคิดเห็น 16    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 220

๒. อารัมมณปัจจัย

[๒๐๘] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ไม่มี ต่างกัน.

๓. อธิปติปัจจัย

[๒๐๙] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณาธิปติก็ดี สหชาตาธิปติก็ดี พึงกระทำ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มี ๓ วาวะ อารัมมณาธิปติก็ดี สหชาตาธิปติก็ดี พึงกระทำแก่ธรรมทั้ง ๓ วาระแม้เหล่านี้.

แม้ปัญหา ๙ ข้อ ก็เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ในบทปลาย ๓ วาระ เป็นอารัมมณาธิปติอย่างเดียว.

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๒๑๐] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ไม่มี ต่างกัน. เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ.

เหมือนกับปฏิจจวาระ.


ความคิดเห็น 17    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 221

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ.

เหมือนกับปฏิจจวาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ.

เหมือนกับปฏิจจวาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ.

เหมือนกับปัจจยวาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ.

เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๒๑๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ มี ๓ วาระ.

ได้เฉพาะธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรมเป็นมูลเท่านั้น ทั้ง ๓ วาระนี้ เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๒๑๒] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย


ความคิดเห็น 18    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 222

คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรมที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

๓. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

๑๒. อาเสวนปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๒๑๓] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม ที่เป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.


ความคิดเห็น 19    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 223

๒. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากจิต และกฏัตตารูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย, จิต และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.


ความคิดเห็น 20    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 224

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๕. อาหารปัจจัย

[๒๑๔] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย. เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือน จิตตสมุฏฐานทุกะ แม้ทุกะนี้ก็มี ๑ วาระ เหมือนกพฬีการาหาร.

๑๖. อินทริยปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๒๐๕] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ไม่มี ต่างกัน.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๒๑๖] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.


ความคิดเห็น 21    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 225

๒. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้ง หลายที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสหภูธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่ไม่ ใช่จิตตสหภูธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๓. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้ง หลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่


ความคิดเห็น 22    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 226

จิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ จิต เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย.

จิต เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของ วิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

จิตที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรมที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

จิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่


ความคิดเห็น 23    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 227

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของ วิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

จิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และ ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๗. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ ได้แก่


ความคิดเห็น 24    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 228

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรมและจิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๘. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิตเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิตที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๙. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิตเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.


ความคิดเห็น 25    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 229

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๒๑๗] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ฯลฯ เหมือนกับปฏิจจวาระ

๒. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ฯลฯ เหมือนกับปฏิจจวาระ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง

คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ อินทริยะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ- ปัจจัย


ความคิดเห็น 26    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 230

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ ฯลฯ

๗. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ จักขายตนะและจักขุวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พึงกระทำในปฏิสนธิทั้งหมด สหชาตะ ปุเรชาตะ ฯลฯ

๘. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัย แก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย กายวิญญาณ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.


ความคิดเห็น 27    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 231

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๓ นัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิตที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย แก่กายที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรมนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต ที่เกิดภายหลัง และ กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิตที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย.

๙. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่


ความคิดเห็น 28    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 232

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ ฯลฯ เหมือนกับปัจจยวาระ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๑๘] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๒๑๙] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย.


ความคิดเห็น 29    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 233

๒. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของกัมมปัจจัย.

๓. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ- ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.


ความคิดเห็น 30    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 234

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๗. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

๘. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๙. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๒๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.


ความคิดเห็น 31    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 235

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๒๒๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลม

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๒๒๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ

พึงกระทำอนุโลมมาติกา

จิตตสหภุทุกะ จบ