[เล่มที่ 86] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒
พระอภิธรรมปิฎก
เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๒
อนุโลมติกปัฏฐาน
๒. เวทนาติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย 1077/1
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น 1080/2
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 4
สุทธมูลกนัย 1087/4
เหตุมูลกนัย 4
อารัมมณ-อธิปติมูลกนัย 5
อาเสวนมูลกนัย 5
วิปากมูลกนัย 5
ฌานมูลกนัย 5
มัคคมูลกนัย 5
อวิคตมูลกนัย 6
ปัจจนียนัย 1088/6
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะแห่งปฏิจจวาระ 1106/10
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะแห่งปฏิจจวาระ 1125/14
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลมแห่งปฏิจจวาระ 1127/14
สหชาตวาระเป็นต้น 1138/14
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย 1140/20
๒. อารัมมณปัจจัย 1143/21
๓. อธิปติปัจจัย 1152/26
๔. อนันตรปัจจัย 1157/29
๕. สมนันตรปัจจัย 1164/33
๖. สหชาตปัจจัย 1165/33
๗. อัญญมัญญปัจจัย 1168/34
๘. นิสสยปัจจัย 34
๙. อุปนิสสยปัจจัย 1169/34
๑๐. อาเสวนปัจจัย 1178/41
๑๑. กัมมปัจจัย 1181/42
๑๒. วิปากปัจจัย 1189/45
๑๓. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๑. อวิคตปัจจัย 1191/45
การนับจํานวนวาระในอนุโลมแห่งปัญหาวาระ 46
สุทธมูลกนัย 1192/46
๑. เหตุมลกนัย
เหตุสภาคะ 1193/46
เหตุฆฏนา 1194/47
๒. อารัมมณมูลกนัย
อารัมมณสภาคะ 1195/47
อารัมมณฆฏนา 47
๓. อธิปติมูลกนัย
อธิปติสภาคะ 1196/48
อธิปติฆฏนา 1197/48
๔. อนันตรมูลกนัย ๕. สมนันตรมูลกนัย
อนันตรสภาคะ 1199/49
อนันตรฆฏนา 1200/49
๖. สหชาตมูลกนัย - ๗. อัญญมัญญมูลกนัย - ๘. นิสสยมูลกนัย
สหชาตสภาคะเป็นต้น 1201/50
นิสสยฆฏนา 1202/50
๙. อุปนิสสยมูลกนัย
อุปนิสสยสภาคะ 1203/50
อุปนิสสยฆฏนา 1204/51
๑๐. อาเสวนมูลกนัย
อาเสวนสภาคะ 1205/51
อาเสวนฆฏนา 51
๑๑. กัมมมูลกนัย
กัมมสภาคะ 1206/52
กัมมฆฏนา 1207/52
๑๒. วิปากมูลกนัย
วิปากสภาคะ 1208/52
วิปากฆฏนา
๑๓. อาหารมูลกนัย 53
อาหารสภาคะ 1209/53
อาหารฆฏนา 1210/53
๑๔. อินทริยมูลกนัย
อินทริยสภาคะ 1211/54
อินทริยฆฏนา 1212/54
๑๕. ฌานมูลกนัย
ฌานสภาคะ 1213/56
ฌานฆฏนา 1214/56
๑๖. มัคคมูลกนัย
มัคคสภาคะ 1215/57
มัคคฆฏนา 1216/58
๑๙. สัมปยุตตมลกนัย
สัมปยุตตสภาคะ 1217/59
สัมปยุตตฆฏนา 1218/59
๒๐. อัตถิมูลกนัยเป็นต้น
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ 1219/60
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ
สุทธมูลกนัย 1228/62
นเหตุมูลกนัย 1229/62
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ
เหตุสภาคะ 1230/63
เหตุฆฏนา 64
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลมแห่งปัญหาวาระ
นเหตุมูลกนัย 1231/64
อรรถกถาแห่งเวทนาติกปัฏฐาน 67
อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 86]
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 1
พระอภิธรรมปิฎก
เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๒ (๑)
๒. เวทนาติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย
[๑๐๗๗] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๐๗๘] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
(๑) บาลีเล่ม ๔๐
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 2
[๑๐๗๙] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๑๐๘๐] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย ... เพราะอธิปติปัจจัย (ในอธิปติปัจจัย ปฏิสนธิไม่มี) ... เพราะอนันตรปัจจัย ... เพราะสมนันตรปัจจัย ... เพราะสหชาตปัจจัย ... เพราะอัญญมัญญปัจจัย ... เพราะนิสสยปัจจัย ... เพราะอุปนิสสยปัจจัย ... เพราะปุเรชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น. ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
[๑๐๘๑] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย ... เพราะกัมมปัจจัย ... เพราะวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา. เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 3
[๑๐๘๒] ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยทุกขสหคตกายวิญญาณเกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๐๘๓] ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น. ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๐๘๔] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะอาหารปัจจัย ... เพราะอินทริยปัจจัย ... เพราะฌานปัจจัย ... เพราะมัคคปัจจัย ... เพราะสัมปยุตตปัจจัย ... เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๐๘๕] ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 4
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๐๘๖] ธรรมที่สัมปยุตตด้วยอทุกขมสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น. ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น. ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย.
เพราะอัตถิปัจจัย ... เพราะนัตถิปัจจัย ... เพราะวิคตปัจจัย ... เพราะอวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๑๐๘๗] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
เหตุมูลกนัย
เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในวิปากปัจจัยมี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 5
อารัมมณ อธิปติมูลกนัย
เพราะอารัมมณปัจจัย ... เพราะอธิปติปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
อาเสวนมูลกนัย
เพราะอาเสวนปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
วิปากมูลกนัย
เพราะวิปากปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ... ในอารัมมณปัจจัยมี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๒วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ฌานมูลกนัย
เพราะฌานปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
มัคคมูลกนัย
เพราะมัคคปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 6
อวิคตมูลกนัย
เพราะอวิคตปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
การนับปัจจัยในปฏิจจวาระแห่งเวทนาติกะ พึงให้พิสดารเหมือนการ นับปัจจัย แห่งกุสลติกะ.
ปัจจนียนัย
[๑๐๘๘] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่ สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ซึ่งเป็นอเหตุกะ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๐๘๙] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยทุกขสหคตกายวิญญาณ เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
[๑๐๙๐] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา อาศัยธรรม ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ซึ่งเป็นอเหตุกะ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 7
[๑๐๙๑] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุต ด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
มีปฏิสนธิบริบูรณ์ในนอธิปติปัจจัย.
[๑๐๙๒] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๐๙๓] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา อาศัยธรรม ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๐๙๔] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย ... เพราะนอาเสวนปัจจัย ...
แม้นปัจฉาชาตปัจจัย แม้นอาเสวนปัจจัย มีปฏิสนธิจิต บริบูรณ์.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 8
[๑๐๙๕] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วย สุขเวทนา เกิดขึ้น.
[๑๐๙๖] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุต ด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น.
[๑๐๙๗] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา อาศัยธรรม ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น.
[๑๐๙๘] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุต ด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย ... เพราะนฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยสุขสหคตกายวิญญาณ เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๐๙๙] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยทุกขสหคตกายวิญญาณ เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๑๐๐] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา อาศัยธรรม ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 9
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๑๐๑] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุต ด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ซึ่งเป็นอเหตุกะ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๑๐๒] ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุต ด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยทุกขสหคตกายวิญญาณ เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๑๐๓] ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ซึ่งเป็นอเหตุกะ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๑๐๔] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุต ด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 10
[๑๑๐๕] ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา อาศัยธรรม ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะแห่งปฏิจจวาระ
[๑๑๐๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ใน นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
[๑๑๐๗] เพราะนเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๐๘] เพราะนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ... ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัยมี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 11
[๑๑๐๙] เพราะนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย นวิปากปัจจัย นมัคคปัจจัย ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๑๐] เพราะนอธิปติปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ.. ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
[๑๑๑๑] เพราะนปุเรชาตปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
[๑๑๑๒] เพราะนปุเรชาตปัจจัย นเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ... ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ.
[๑๑๑๓] เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย ... เพราะนอาเสวนปัจจัย ... เพราะนกัมมปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 12
[๑๑๑๔] เพราะนกัมมปัจจัย นเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ... ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๑๕] เพราะนกัมมปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ... ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ.
[๑๑๑๖] เพราะนวิปากปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ. นวิปากปัจจัย เหมือนกับนกัมมปัจจัย.
[๑๑๑๗] เพราะนฌานปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๑๑๘] เพราะนฌานปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๑๑๙] เพราะนมัคคปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนปัจฉาชาต-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 13
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๒๐] เพราะนมัคคปัจจัย นเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๒๑] เพราะนมัคคปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ... ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๒๒] เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๒๓] เพราะนวิปปยุตตปัจจัย นเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ... ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 14
[๑๑๒๔] เพราะนวิปปยุตตปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย นวิปากปัจจัย ในนมัคคปัจจัยมี ๑ วาระ.
การนับวาระในปัจจนียะ จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับวาระในอนุโลมปัจจนียะแห่งปฏิจจวาระ
[๑๑๒๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตปัจจัย มี ๒ วาระ.
[๑๑๒๖] เพราะเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ. พึงนับวาระเหมือนกุสลติกะ.
อนุโลมปัจจนียะ จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับวาระในปัจจนียานุโลมแห่งปฏิจจวาระ
[๑๑๒๗] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 15
วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌาน ปัจจัย มี ๒ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๑๒๘] เพราะนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๑๒๙] เพราะนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ... ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 16
๑ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ใน วิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๓๐] เพราะนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ... ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ใน สหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ใน อินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๓๑] เพราะนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย ฯลฯ นกัมมปัจจัย นวิปากปัจจัย นมัคคปัจจัย นวิปปยุตตปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ... ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน อุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
นเหตุมูลกนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 17
[๑๑๓๒] เพราะนอธิปติปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ.
[๑๑๓๓] เพราะนฌานปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ใน อินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
เพราะนมัคคปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๑๓๔] เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ... ใน อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ใน อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ใน วิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๒ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
[๑๑๓๕] เพราะนวิปปยุตตปัจจัย นเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ... ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 18
ในสหชาติปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ใน กัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๓๖] เพราะนวิปปยุตตปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย นวิปากปัจจัย นมัคคปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ... ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๓๗] เพราะนวิปปยุตตปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเราชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย นวิปากปัจจัย นมัคคปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ... ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ใน อัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 19
สหชาตวาระ เป็นต้น
[๑๑๓๘] เกิดร่วมกับธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ อิง อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วย สุขเวทนา ฯลฯ เจือกับธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
[๑๑๓๙] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา สัมปยุตกับธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ สัมปยุตกับขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ สัมปยุตกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
สัมปยุตตวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 20
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๑๔๐] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๑๔๑] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๑๔๒] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 21
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๑๔๓] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา แล้วพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา. ออกจากฌานที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา, ออกจากมรรค, ออกจากผลแล้ว, พิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
๒. พระอริยบุคคลทั้งหลาย พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ละแล้วที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ท่านข่มแล้ว. รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน, พิจารณาเห็นขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์ นั้น ราคะ ทิฏฐิ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ
๓. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๑๔๔] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ๑. เมื่อบุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาแล้ว โทมนัสย่อมเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้มีวิปปฏิสาร.
๒. เมื่อฌานที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเสื่อมไป โทมนัสย่อมเกิด ขึ้นแก่บุคคลผู้มีวิปปฏิสาร.
๓. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 22
[๑๑๔๕] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา แล้วพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๒. บุคคลออกจากฌานที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา, ออกจากมรรค, ออกจากผลแล้ว, พิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๓. พระอริยบุคคลทั้งหลายพิจารณากิเลสทั้งหลาย ที่ละแล้ว ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา พิจารณากิเลสทั้งหลาย ที่ข่มแล้ว, รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน. พิจารณา เห็นขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๔. บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
๕. พระอริยบุคคลทั้งหลาย รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียง ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยเจโตปริยญาณ.
๖. ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๗. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๑๔๖] ๔. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ๑. เพราะปรารภซึ่งโทสะ โทสะ โมหะ ย่อมเกิดขึ้น. เพราะปรารภโมหะที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา โมหะ โทสะ ย่อมเกิดขึ้น. เพราะปรารภทุกขสหคตกายวิญญาณ โทสะ โมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 23
๒. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๑๔๗] ๕. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ๑. พระอริยบุคคลทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่สัมปยุตด้วย ทุกขเวทนา ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ข่มแล้ว, รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน, พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
๒. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๑๔๘] ๖. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ๑. พระอริยบุคคลทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้วที่สัมปยุตด้วย ทุกขเวทนา ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ข่มแล้ว, รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน, พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๒. รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยจิตที่สัมปยุตด้วย ทุกขเวทนา ด้วยเจโตปริยญาณ.
๓. ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 24
๔. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๑๔๙] ๗. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา แล้วพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ออกจากฌานที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา, ออกจากมรรค, ออกจากผล แล้วพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๒. พระอริยบุคคลทั้งหลาย พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ท่านละได้แล้วที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา, พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ข่มแล้ว. รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน, พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดีด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๓. บุคคลย่อมเพลิดเพลินยิ่งเพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาย่อมเกิดขึ้น.
๔. พระอริยบุคคลทั้งหลาย รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียง ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยเจโตปริยญาณ.
๕. อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 25
๖. ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๗. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๑๕๐] ๘. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา แล้วพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ออกจากฌานที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ออกจากมรรค ออกจากผลแล้ว ย่อมพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
๒. พระอริยบุคคลทั้งหลาย. พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ละได้แล้ว ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ข่มแล้ว, รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน, เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมพิจารณาเห็นโดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ ทิฏฐิ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ
๓. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๑๕๑] ๙. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 26
คือ ๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา โทมนัสย่อมเกิดขึ้น แก่บุคคลผู้มีวิปปฏิสาร.
๒. เมื่อฌานที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เสื่อมไปแล้ว โทมนัสย่อมเกิดขึ้น แก่บุคคลผู้มีวิปปฏิสาร.
๓. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๑๕๒] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาแล้ว กระทำกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
๒. ออกจากฌานที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ออกจากมรรค ออกจากผลแล้ว กระทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
๓. ย่อมยินดีย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ครั้นกระทำขันธ์นั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ทิฏฐิที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 27
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตขันธ์ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๑๕๓] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว
คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาแล้ว กระทำกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๒. ออกจากฌานที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา, ออกจากมรรค, ออกจากผลแล้ว กระทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๓. ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งเพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ทิฏฐิ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ
[๑๑๕๔] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว
คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตขันธ์ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๑๕๕] ๔. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 28
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล การทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาแล้ว การทำกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๒. ออกจากฌานที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ออกจากมรรคออกจากผล แล้วการทำกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๓. ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ทิฏฐิ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่อธิบดีที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๑๕๖] ๕. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว
คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา กระทำกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
๒. ออกจากฌานที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา, ออกจากมรรค, ออกจากผลแล้ว กระทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 29
๓. ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ทิฏฐิที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ.
๔. อนันตรปัจจัย
[๑๑๕๗] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ๑. ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดหลังๆ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๒. อนุโลมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๓. อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน.
๔. โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค.
๕. โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค.
๖. มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล.
๗. ผล เป็นปัจจัยแก่ผล.
๘. อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๙. ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 30
[๑๑๕๘] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ๑. จุติจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่อุปบัติจิตที่ สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๒. ภวังคจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๓. สุขสหคตกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนธาตุ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๔. วิบากมโนวิญญาณธาตุ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่กิริยามโนวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๕. ภวังคจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ภวังคจิตที่ สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๖. กุศลและอกุศลจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ วุฏฐานะที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๗. กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ, ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๑๕๙] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดหลังๆ ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 31
[๑๑๖๐] ๔. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ๑. ทุกขสหคตกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนธาตุ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๒. ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๑๖๑] ๕. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ๑. ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดหลังๆ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๒. อนุโลมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่โคตรภู ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๓. อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน.
๔. โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค.
๕. โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค.
๖. มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล.
๗. ผลเป็นปัจจัยแก่ผล.
๘. อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 32
๙. เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของพระอริยบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๑๐. ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๑๖๒] ๖. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ๑. จุติจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่อุปบัติ- จิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๒. อาวัชชนจิต เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๓. วิบากมโนธาตุ เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนวิญญาณธาตุ ที่ สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๔. ภวังคจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ภวังคจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๕. กุศลและอกุศลจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
๖. กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.
๗. ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.
๘. เนวสัญญานาสัญญายตนะของพระอริยบุคคลผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 33
[๑๑๖๓] ๗. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ อาวัชชนจิต เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วย ทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย
[๑๑๖๔] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย.
๖. สหชาตปัจจัย
[๑๑๖๕] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๑๖๖] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 34
ปฏิสนธิที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ย่อมไม่ได้ในวาระนี้.
[๑๑๖๗] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
๗. อัญญมัญญปัจจัย
[๑๑๖๘] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ.
๘. นิสสยปัจจัย
ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ.
อัญญมัญญปัจจัยก็ดี นิสสยปัจจัยก็ดี เหมือนกับสหชาตปัจจัย.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๑๑๖๙] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 35
มี ๓ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ.
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. บุคคลอาศัยศรัทธาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาแล้ว ย่อมให้ทาน สมาทานศีล การทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา, ยังฌานที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ยังมรรคให้เกิดขึ้น, ยังสมาบัติให้เกิดขึ้นแล้ว, ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
๒. บุคคลอาศัยศีลที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยสุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา อาศัยสุขสหคตกายวิญญาณแล้ว ย่อมให้ทานด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ ยังสมาบัติให้ เกิดขึ้น.
ในธรรมหมวด ๕ ที่มีศรัทธาเป็นต้น พึงเพิ่มคำว่า ก่อมานะ ถือทิฏฐิ เข้าด้วย ส่วนหมวดที่เหลือไม่ต้องเพิ่ม.
๓. บุคคลถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ ตัดที่ต่อ ปล้นไม่เหลือ ปล้นในเรือนหลังหนึ่ง ยืนดักในทางเปลี่ยว คบหาภรรยาของชายอื่น ฆ่าชาวบ้าน ฆ่าชาวนิคม ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
๔. ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา สุขสหคตกายวิญญาณเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา, แก่สุขสหคตกายวิญญาณ แก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 36
[๑๑๗๐] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว
คือ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. บุคคลอาศัยศรัทธาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาแล้ว ยังตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน เสวยทุกข์อันมีการแสวงหาเป็นมูล.
๒. บุคคลอาศัยศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาแล้ว ยังตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน เสวยทุกข์อันมีการแสวงหาเป็นมูล.
๓. บุคคลอาศัยราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยสุขสหคตกายวิญญาณแล้ว ฆ่าสัตว์ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ ตัดที่ต่อ ปล้นไม่มีส่วนเหลือ ปล้นในเรือนหลังหนึ่ง ยืนดักในทางเปลี่ยว คบหาภรรยาของชายอื่น ฆ่าชาวบ้าน ฆ่าชาวนิคม ฆ่ามารดา ฆ่าบิดา ฆ่าพระอรหันต์ ยังพระโลหิตพระตถาคตให้ห้อ ด้วยจิตประทุษร้ายแล้ว ทำลายสงฆ์ไห้แตกกัน.
๔. ศรัทธาอันสัมปยุตด้วยสุขเวทนา ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา สุขสหคตกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่โทสะ ฯลฯ แก่โมหะ แก่ทุกขสหคตกายวิญญาณ แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๗๑] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 37
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. บุคคลอาศัยศรัทธาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาแล้ว ย่อมยังฌานอันสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น, ยังมรรคให้เกิดขึ้น, ยังอภิญญาให้เกิดขึ้น, ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น, ก่อมานะ, ถือทิฏฐิ.
๒. บุคคลอาศัยศีลที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยสุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัย สุขสหคตกายวิญญาณแล้ว ย่อมให้ทานด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น, ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วย อทุกขมสุขเวทนา, พูดเท็จ, พูดส่อเสียด, พูดคำหยาบ, พูดเพ้อเจ้อ, ตัดที่ต่อ, ปล้นไม่มีส่วนเหลือ, ปล้นในเรือนหลังหนึ่ง, ยืนดักอยู่ในทางเปลี่ยว, คบหาภรรยาของชายอื่น, ฆ่าชาวบ้าน, ฆ่าชาวนิคม.
๓. ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา สุขสหคตกายวิญญาณเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา, แก่ศีล, สุตะ, จาคะ, ปัญญา, ราคะ, โมหะ, มานะ ทิฏฐิ, ความปรารถนา, แก่สุขสหคตกายวิญญาณ, แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๗๒] ๔. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 38
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. บุคคลอาศัยโทสะ แล้วย่อมฆ่าสัตว์ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของมิได้ให้ ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ฯลฯ ย่อมทำลายสงฆ์ให้แตกกัน.
๒. บุคคลอาศัยโมหะ ทุกขสหคตกายวิญญาณแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์ ย่อมถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ฯลฯ ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน.
๓. โทสะ โมหะ ทุกขสหคตกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่โทสะ โมหะ ทุกขสหคตกายวิญญาณ แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๗๓] ๕. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว
คือ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. บุคคลอาศัยโทสะ แล้วย่อมให้ทานด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม.
๒. อาศัยโมหะ อาศัยทุกขสหคตกายวิญญาณ แล้วย่อมให้ทาน ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม.
๓. โทสะ โมหะ ทุกขสหคตกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ แก่สุขสหคตกายวิญญาณ แก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 39
[๑๑๗๔] ๖. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. บุคคลอาศัยโทสะ แล้วย่อมให้ทานด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม.
๒. อาศัยโมหะ ทุกขสหคตกายวิญญาณ แล้วย่อมให้ทานด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม.
๓. โทสะ โมหะ ทุกขสหคตกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๗๕] ๗. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. บุคคลอาศัยศรัทธาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาแล้ว ย่อม ให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาแล้ว ย่อมให้ทานด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 40
๒. ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วย อทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๗๖] ๘. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. บุคคลอาศัยศรัทธาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาแล้ว ให้ทานด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
๒. บุคคลอาศัยศีลที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ อาศัยความปรารถนาแล้ว ให้ทานด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม.
๓. ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา สุขสหคตกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ความปรารถนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา แก่สุขสหคตกายวิญญาณ แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๗๗] ๙. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 41
๑. บุคคลอาศัยศรัทธาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาแล้ว ยังคนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน เสวยทุกข์ อันมีการแสวงหาเป็นมูล.
๒. บุคคลอาศัยศีลที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ อาศัยความปรารถนาแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ฯลฯ ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน.
๓. ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ โทสะ โมหะ ทุกขสหคตกายวิญญาณ แก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. อาเสวนปัจจัย (๑)
[๑๑๗๘] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ๑. ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๒. อนุโลมญาณที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
๓. อนุโลมญาณ เป็นปัจจัยแก่โวทาน.
๔. โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค.
๕. โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๑๑๗๙] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
(๑) ปุเรชาตปัจจัยและปัจฉาชาตปัจจัย แสดงโดยเวทนาติกะไม่ได้
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 42
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๑๑๘๐] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
คือ ๑. ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๒. อนุโลมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
๓. อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน.
๔. โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค.
๕. โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๑๑. กัมมปัจจัย
[๑๑๘๑] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 43
[๑๑๘๒] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว
คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๑๘๓] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว
คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๑๘๔] ๔. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ.
ที่เป็นสหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็นนานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัย แก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๑๘๕] ๕. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 44
มีอย่างเดียว
คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๑๘๖] ๖. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็นสหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็นนานาขณิกะ ได้แก่เจตนาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๑๘๗] ๗. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว
คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๑๘๘] ๘. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็นนานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 45
๑๒. วิปากปัจจัย
[๑๑๘๙] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ ฯลฯ
[๑๑๙๐] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ
๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๑๓. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๑. อวิคตปัจจัย
[๑๑๙๑] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของฌานปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสัมปยุตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 46
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย (๑) เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลมแห่งปัญหาวาระ
สุทธมูลกนัย
[๑๑๙๒] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
๑. เหตุมูลกนัย
เหตุสภาคะ
[๑๑๙๓] เพราะเหตุปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๒ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
(๑) วิปปยุตตปัจจัย แสดงโดยเวทนาติกะไม่ได้
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 47
เหตุฆฏนา
[๑๑๙๔] ปัจจัย ๗
คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๘
คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๑๐
คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทริยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๑๐
คือ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๑๑
คือ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทริยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
๒. อารัมมณมูลกนัย
อารัมมณสภาคะ
[๑๑๙๕] เพราะอารัมมณปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ... ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ.
อารัมมณฆฏนา
ปัจจัย ๓
คือ อารัมมณะ อธิปติ อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 48
๓. อธิปติมูลกนัย
อธิปติสภาคะ
[๑๑๙๖] เพราะอธิปติปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ... ใน อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ใน วิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
อธิปติฆฏนา
[๑๑๙๗] ปัจจัย ๓
คือ อธิปติ อารัมมณะ อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ.
ปัจจัย ๗
คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๘ คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญนัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๑๐
คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 49
ปัจจัย ๑๐
คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทริยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
[๑๑๙๘] ปัจจัย ๑๐
คือ อธิปติ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๑๑
คือ อธิปติ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทริยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
๔. อนันตรมูลกนัย ๕. สมนันตรมูลกนัย
อนันตรสภาคะ
[๑๑๙๙] เพราะอนันตรปัจจัย ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ... ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
อนันตรฆฏนา
[๑๒๐๐] ปัจจัย ๕
คือ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ นัตถิ วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
ปัจจัย ๖
คือ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ อาเสวนะ นัตถิ วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๖
คือ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ กัมมะ นัตถิ วิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
สมนันตรปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 50
๖. สหชาตะ ๗. อัญญมัญญะ ๘. นิสสยมูลกนัย
สหชาตสภาคะ เป็นต้น
[๑๒๐๑] เพราะสหชาตปัจจัย ... เพราะอัญญมัญญปัจจัย ... เพราะ นิสสยปปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัยมี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัยมี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัยมี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัยมี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัยมี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัยมี ๓ วาระ ในฌานปัจจัยมี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัยมี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัยมี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัยมี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัยมี ๓ วาระ.
นิสสยฆฏนา
[๑๒๐๒] ปัจจัย ๖
คือ นิสสยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ สมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัยมี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๗
คือ นิสสยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
๙. อุปนิสสยมูลกนัย
อุปนิสสยสภาคะ
[๑๒๐๓] เพราะอุปนิสสยปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ในอธิปติปัจจัยมี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัยมี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 51
อุปนิสสยฆฏนา
[๑๒๐๔] ปัจจัย ๓
คือ อุปนิสสยะ อารัมมณะ อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ.
ปัจจัย ๕
คือ อุปนิสสยะ อนันตระ สมนันตระ นัตถิ วิคตปัจจัยมี ๗ วาระ.
ปัจจัย ๖
คือ อุปนิสสยะ อนันตระ สมนันตระ อาเสวนะ นัตถิ วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๒
คือ อุปนิสสยะ กัมมปัจจัย มี ๘ วาระ
ปัจจัย ๖
คือ อุปนิสสยะ อนันตระ สมนันตระ กัมมะ นัตถิ วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
๑๐. อาเสวนมูลกนัย
อาเสวนสภาคะ
[๑๒๐๕] เพราะอาเสวนปัจจัย ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
อาเสวนฆฏนา
ปัจจัย ๖
คือ อาเสวนะ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ นัตถิ วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 52
๑๑. กัมมมูลกนัย
กัมมสภาคะ
[๑๒๐๖] เพราะกัมมปัจจัย ในอนันตรปัจจัยมี ๒ วาระในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
กัมมฆฏนา
[๑๒๐๗] ปัจจัย ๒
คือ กัมมะ อุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ.
ปัจจัย ๖
คือ กัมมะ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ นัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๘
คือ กัมมะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ กัมมะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสลยะ วิปากะ อาหาระ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
๑๒. วิปากมูลกนัย
วิปากสภาคะ
[๑๒๐๘] เพราะวิปากปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ... ในอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 53
วิปากฆฏนา
ปัจจัย ๗
คือ วิปากะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
๑๓. อาหารมูลกนัย
อาหารสภาคะ
[๑๒๐๙] เพราะอาหารปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
อาหารฆฏนา
[๑๒๑๐] ปัจจัย ๗
คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๘
คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๘
คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ กัมมะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ กัมมะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 54
ปัจจัย ๘
คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๘
คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทริยะ สัมปยุตตะ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ อาหาระ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๑๐
คือ อาหาระ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
๑๔. อินทริยมูลกนัย
อินทริยสภาคะ
[๑๒๑๑] เพราะอินทริยปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอธิปติปัจจัยมี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
อินทริยฆฏนา
[๑๒๑๒] ปัจจัย ๗
คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๘
คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 55
ปัจจัย ๘
คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๘
คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๑๐
คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ มัคคะ สัมปยุตตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๘
คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ อินทริยะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๑๐
คือ อินทริยะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ อินทริยะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 56
ปัจจัย ๑๐
คือ อินทริยะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ อินทริยะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๑๐
คือ อินทริยะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๑๐
คือ อินทริยะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๑๑
คือ อินทริยะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
๑๕. ฌานมูลกนัย
ฌานสภาคะ
[๑๒๑๓] เพราะฌานปัจจัย ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ฌานฆฏนา
[๑๒๑๔] ปัจจัย ๗
คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 57
ปัจจัย ๘
คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๘
คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๘
คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๑๐
คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทริยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
๑๘. มัคคมูลกนัย
มัคคสภาคะ
[๑๒๑๕] เพราะมัคคะปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 58
มัคคฆฏนา
[๑๒๑๖] ปัจจัย ๗
คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๘
คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๘
คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๘
คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ ฌานะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๑๐
คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทริยะ ฌานะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ มัคคะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๑๐
คือ มัคคะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙
คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 59
ปัจจัย ๑๐
คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๑๐
คือ มัคคะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๑๑
คือ มัคคะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
๑๙. สัมปยุตตมูลกนัย
สัมปยุตตสภาคะ
[๑๒๐๗] เพราะสัมปยุตตปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตฆฏนา
[๑๒๑๘] ปัจจัย ๖
คือ สัมปยุตตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๗
คือ สัมปยุตตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 60
๒๐ - ๒๔ อัตถิมูลกนัยเป็นต้น
เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย ฯลฯ.
อนุโลมแห่งปัญหาวาระ จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ
[๑๒๑๙] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแห่งธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ... เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๒๒๐] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๒๒๑] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๒๒๒] ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 61
[๑๒๒๓] ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็น ปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๒๒๔] ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๒๒๕] ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๒๒๖] ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๒๒๗] ธรรมที่สัมปยุตตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 62
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ
สุทธมูลกนัย
[๑๒๒๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ... ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
นเหตุมูลกนัย
[๑๒๒๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ... ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ ฯลฯ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 63
เพราะอุปนิสสยปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นวิปากปัจจัย นอาหารปัจจัย ฯลฯ ในโนอวิคตปัจจัยมี ๘ วาระ.
นเหตุมูลกนัย จบ
แม้ในเวทนาติกะ นี้ ผู้มีปัญญาพึงจำแนกมูลกนัยทั้งหมดเหมือนนับจำนวนวาระในปัจจนียะ แห่งกุสลติกะ
ปัจจนีนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ
เหตุสภาคะ
[๑๒๓๐] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 64
เหตุฆฏนา
ปัจจัย ๗ คือเหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ แห่งกุสลติกะ นับโดยวิธีสาธยายฉันใด แม้เวทนาติกะนี้ ก็พึงนับฉันนั้น.
เพราะกัมมปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี ๘ วาระ ... ในนอารัมมณปัจจัยมี ๘ วาระ ฯลฯ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลมแห่งปัญหาวาระ
นเหตุมูลกนัย
[๑๒๓๑] เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 65
[๑๒๓๒] เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย นสมนันตรปัจจัย ในสหชาตปัจจัยมี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๒๓๓] เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นนิสสยปัจจัย ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ... ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ.
เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นอุปนิสสยปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัน นวิปากปัจจัย นอาหารปัจจัย นอินทริยปัจจัย นฌานปัจจัย นมัคคปัจจัย นสัมปยุตตปัจจัย นวิปปยุตตปัจจัย โนอัตถิปัจจัย โนนัตถิปัจจัย โนวิคตปัจจัย โนอวิตปัจจัย ในกัมมปัจจัยมี ๘ วาระ (๑)
เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นนิสสยปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย ฯลฯ โนวิคตปัจจัย ในอุปนิสสยปัจจัยมี ๙ วาระ (๒)
นเหตุมูลกนัย จบ
(๑) และ (๒) จำนวนปัจจัยที่ยกมาแสดงเท่ากัน ต่างกันแต่ในข้อ ๑. เว้นไม่แสดงกัมมปัจจัย โดยปัจจนียะ แต่นำมาแสดงโดยลนุโลม ส่วนในข้อ ๒. เว้นไม่แสดงอุปนิสสยปัจจัยโดยปัจจนียะ แต่นำมาแสดงโดยอนุโลม คือไม่แสดงนอุปนิสสยปัจจัยและนกัมมปัจจัยพร้อมกัน แต่แยกแสดงทีละปัจจัย
(๒) บาลีไทยขาดไป.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 66
[๑๒๓๔] เพราะนอารัมมณปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ... ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
[๑๒๓๕] เพราะโนอวิคตปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัยมี ๗ วาระ.
[๑๒๓๖] เพราะโนอวิคตปัจจัย นเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ... ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
[๑๒๓๗] เพราะโนอวิคตปัจจัย นเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย นสมนันตรปัจจัย นสหชาตปัจจัย นอัญญมัญญปัจจัย นนิสสยปัจจัย นอุปนิสสยปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นวิปากปัจจัย นอาหารปัจจัย นอินทริยปัจจัย นฌานปัจจัย นมัคคปัจจัย นสัมปยุตตปัจจัย นวิปปยุตตปัจจัย โนอัตถิปัจัย โนนัติปัจจัย โนวิคตปัจจัย ในกัมมปัจจัย (๑) มี ๘ วาระ.
เพราะโนอวิคตปัจจัย นเหตุปัจจัย ฯลฯ นนิสสยปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ นกัมมปัจจัย ฯลฯ โนวิคตปัจจัย ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ (๒)
(๑) - (๒) ไม่แสดงนอุปนิสสยปัจจัยและนกัมมปัจจัยพร้อมกัน แต่แยกแสดงโดยนัยเดียวกับ ข้อ (๑๒๓๓).
(๒) บาลีไทยขาดไป
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 67
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม แห่งกุสลติกะ นับโดยวิธีสาธยายฉันใด เวทนาติกะนี้ ก็พึงนับฉันนั้น.
ปัจจนียานุโลม จบ
เวทนาติกะที่ ๒ จบ
อรรถกถาวรรณนาเนื้อความแห่งเวทนาติกปัฏฐาน
ธรรมเหล่านี้
คือ เวทนา ๓ รูป นิพพาน ย่อมไม่ได้ใน เวทนาติกะ เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า เอกํ ขนฺธํ ปฏิจฺจ เทฺว ขนฺธา เป็นต้น. คำว่า ปฏิสนฺธิกฺขเณ สุขาย เวทนาย ตรัสด้วยอำนาจสเหตุกปฏิสนธิ ส่วนทุกขเวทนาย่อมไม่ได้ในปฏิสนธิกาล. เพราะฉะนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าจึงไม่ทรงระบุถึงปฏิสนธิในวาระที่ ๒. คำว่า ปฏิสนฺธิกฺขเณ ใน วาระที่ ๓ ตรัสด้วยอำนาจสเหตุกปฏิสนธิ ก็คำที่เหลือในอธิการนี้ในปัจจัยอื่น จากนี้ ย่อมเป็นไปตามพระบาลีนั่นแหละ ในที่ทั้งปวงตรัสวาระไว้ ๓ วาระ เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า เหตุยา ตีณิ ฯเปฯ อวิคเต ตีณิ.
ก็ในการเทียบเคียงปัจจัยตรัสว่า วิปาเก เทฺว ในวิปากปัจจัยมี ๒ วาระ ในเหตุมูลกนัย เพราะทุกขเวทนาฝ่ายวิบากที่เป็นสเหตุกะไม่มี. ในการ เทียบเคียงกับอธิปติปัจจัยเป็นต้น วิปากปัจจัย มีวิสัชนา ๒ วาระเท่านั้น. เพราะเหตุไร? เพราะอธิปติ ฌาน และมัคคปัจจัยไม่มีโดยเป็นวิปากทุกขเวทนา. ก็ในการเทียบเคียงปัจจัยเหล่าใด วิปากปัจจัยย่อมได้วาระ ๒ แม้ในปัจจัยเหล่านั้นก็ได้วาระ ๒ เหมือนกัน เพราะเทียบเคียงกับวิปากปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 68
ในนปุเรชาตปัจจัย ที่เป็น ปัจจนียะ วาระ ๒ มาแล้ว เพราะไม่มีทุกขเวทนา ในอรูปภพ และในปฏิสนธิกาล. แม้ใน วิปปยุตตปัจจัย ก็มี วาระ ๒ เหมือนกัน เพราะไม่มีทุกขเวทนา ในอรูปภพ. ก็ปัจจัยทั้งหลายมีสหชาตปัจจัยเป็นต้นที่คลุมไปถึงอรูปธรรมทั้งหมด ย่อมขาดไปในปัจจนียะ วาระนี้. เพราะเหตุไร? เพราะธรรมที่สัมปยุตด้วยเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยเวทนาเกิดขึ้นไม่ได้ โดยเว้นจากสหชาตปัจจัยเป็นต้น และเพราะธรรมที่สัมปยุตด้วยเวทนาเกิดได้โดยเว้นปัจฉาชาตปัจจัย.
ก็ในการเทียบเคียงปัจจัย คำว่า นปุเรชาเต เอกํ ในนปุเรชาตปัจจัยมี ๑ วาระ ตรัสหมายถึง ธรรมในปฏิสนธิในอรูปภพ และธรรมที่สัมปยุตด้วยอเหตุกอทุกขมสุขเวทนา. สองบทว่า นกมฺเม เทฺว ในนกัมมปัจจัยมี ๒ วาระ ตรัสด้วยอำนาจเจตนาที่สัมปยุตด้วยอเหตุกกิริยา. จริงอยู่ อเหตุกกิริยา เจตนาที่สัมปยุตด้วยเวทนาเหล่านั้น ย่อมเกิดขึ้นเพราะอาศัยธรรมทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา. แม้ในคำว่า นเหตุปจฺจยา นกมฺมปจฺจยา นวิปาก ก็นัยนี้เหมือนกัน. สองบทว่า นวิปฺปยุตฺเต เอกํ ในนวิปปยุตตปัจจัยมี ๑ วาระ ตรัสด้วยอำนาจอาวัชขนจิตในอรูปภพ. ในการเทียบเคียงปัจจัยทุกแห่ง พึงทราบวิธีนับโดยอุบายนี้.
ปัจจัยที่ได้ใน อนุโลมปัจจนียะ เท่านั้น ตั้งอยู่โดยเป็นปัจจนียะ. สหชาตปัจจัยเป็นต้น ที่คลุมไปถึงอรูปธรรมทั้งหมดใน ปัจจนียานุโลม ย่อมตั้งอยู่โดยอนุโลมเท่านั้น ไม่ตั้งอยู่โดยความเป็นปัจจนียะ แต่อธิปติของอเหตุกจิตตุปบาทไม่มี เพราะฉะนั้นอธิปติปัจจัย จึงไม่ตั้งอยู่โดยความเป็นอนุโลม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 69
ก็ในปฏิจจวาระเป็นต้น ปัจฉาชาตปัจจัยย่อมมีไม่ได้เลย ฉะนั้นจึงขาดไป. อนึ่ง ในอธิการนี้ ปัจจัยเหล่าใดมีได้โดยเป็นอนุโลม ปัจจัยเหล่านั้น ท่านประกอบอธิบายหมุนเวียนไปกับปัจจัยที่ได้อยู่โดยเป็นปัจจนียะ. ในปัจจัยเหล่านั้นมีกำหนดวาระ ๓ เท่านั้น
คือ ๓ - ๒ -๑ ผู้ศึกษาพึงกำหนดตามความเหมาะสม และพึงทราบปัจจัยเหล่านั้นในที่ทุกสถาน ก็นัยแห่งวรรณนานี้ใด ตรัสแล้วในปฏิจจวาระ นัยแห่งวรรณนานี้เองตรัสไว้ในสหชาตวาระเป็นต้นด้วย.
ก็คำว่า สมฺปยุตฺตกานํ ขนฺธานํ ในปัญหาวาระ คือขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยธรรมนั้น หรือด้วยเหตุทั้งหลายเหล่านั้นเอง หรือด้วยสุขเวทนา เป็นต้น. บทว่า วิปฺปฏิสาริสฺส คือมีความเดือดร้อนในกุศลมีทานเป็นต้น อย่างนี้ว่า ทำไมเราถึงทำกรรมนี้ กรรมชั่วเราไม่ทำเสียเลยดีกว่า แต่มีความเดือดร้อนเพราะฌานเสื่อมไปอย่างนี้ว่า ฌานของเราเสื่อมแล้ว เราเป็นผู้เสื่อมใหญ่หนอ. สองบทว่า โมโห อุปฺปชฺชติ ได้แก่ โมหะที่สัมปยุตด้วยโทสะ. เท่านั้น. คำว่า โมหํ อารพฺภ ได้แก่ โมหะที่สัมปยุตด้วยโทสะ เหมือนกัน
คำว่า ภวังค์ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ความว่า ภวังค์ดวงหลัง กล่าว
คือ ตทารัมมณะเป็นปัจจัยแก่ภวังค์ดวงเดิม. บทว่า วุฏฺานสฺส คือตทารัมมณะหรือ ภวังค์. จริงอยู่ จิตทั้งสองนั้นท่านเรียกว่า วุฏฐานะ เพราะออกจากกุศลชวนะหรืออกุศลชวนะ. แม้ในคำว่า กิริยํ วุฏฺานสฺส นี้ ก็นัยนี้เหมือนกัน. สองบทว่า ผลํ วุฏฺานสฺส ได้แก่ ผลจิตเป็นปัจจัยแก่ภวังคจิต. จริงอยู่ ชื่อว่าการออกจากผลจิตย่อมมีด้วยภวังคจิต แม้ในอาคตสถานว่า วุฏฺานํ ข้างหน้าก็นัยนี้เหมือนกัน.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 70
คำว่า ทุกฺขาย เวทนาย สมฺปยุตฺตา ขนฺธา ได้แก่ อกุศลขันธ์ ที่สัมปยุตด้วยโทมนัสเวทนา. คำว่า อทุกขมสุขาย เวทนาย สมฺปยุตตสฺส วุฏฺานสฺส ได้แก่ อาคันตุกภวังค์
คือ ตทารัมมณะ หรือ มูลภวังค์ ที่สัมปยุตด้วยอุเบกขา. ก็ถ้าจิตที่สหรคตด้วยโสมนัสเป็นมูลภวังค์ เหตุที่จะให้เกิดตทารัมมณะย่อมไม่มี อกุศลวิบากที่เป็นอุเบกขาเวทนา ย่อมเกิดขึ้นในอารมณ์อื่นจากอารมณ์ของชวนะ. จริงอยู่ อกุศลวิบากแม้นั้น ท่านเรียกว่า วุฏฐานะ เพราะออกจากชวนะ. นิทเทสแห่งสหชาตปัจจัยเป็นต้น มีใจความ ตื้นทั้งนั้น เพราะว่าในอธิการนี้คำที่ไม่สามารถจะรู้ตามนัยที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้แล้ว ในหนหลังไม่มี เพราะฉะนั้นผู้ศึกษาพึงกำหนดให้ดี.
วาระเหล่าใดๆ ได้แล้วในปัจจัยใดๆ บัดนี้เพื่อจะย่อแสดงปัจจัยและวาระเหล่านั้นทั้งหมดด้วยอำนาจแห่งการนับ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า เหตุยา ตีณิ เป็นต้น. วิสัชนา ๓ วาระเหล่านั้นทั้งหมด ในคำว่า เหตุยา ตีณิ ผู้ศึกษาพึงทราบด้วยอำนาจแห่งบทล้วนๆ ๓ บท. วิสัชนา ๙ วาระใน อารัมมณปัจจัย มีปัจจัยที่มีมูล ๑ มีมูลี ๑ เป็นที่สุด. ในอธิปติปัจจัย มี วิสัชนา ๕ วาระ
คือ วิสัชนา ๓ ที่ไม่เจือกันด้วยอำนาจของสหชาตาธิปติปัจจัย และวิสัชนา ๒
คือ ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาด้วยอำนาจของอารัมมณาธิปติปัจจัย ธรรมที่สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณาธิปติปัจจัย. วิสัชนา ๒ เหล่านั้น ผู้ศึกษาไม่ควรนับ แต่ควรนับวิสัชนา ๒ เหล่านี้
คือ ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนา ธรรมที่สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนาเป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา รวมเป็นวิสัชนา ๕ วาระ ด้วยประการฉะนี้.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 71
บทว่า สตฺต ในอนันตรและสมนันตรปัจจัย ได้แก่ วิสัชนา ๗ วาระอย่างนี้
คือ สุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ธรรม ๒ อย่าง ทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ธรรม ๒ อย่าง อุเบกขาเวทนาเป็นปัจจัยแก่ธรรมได้ทั้ง ๓ อย่าง.
สองบทว่า อุปนิสฺสเย นว ได้แก่ วิสัชนา ๙ วาระอย่างนี้
คือ ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา โดยอุปนิสสยปัจจัยทั้ง ๓ อย่าง เป็นปกตูปนิสสยปัจจัยอย่างเดียวแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นอุปนิสสยปัจจัยทั้ง ๓ อย่าง แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนา ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นอนันตรูปนิสสยและปกตูปนิสสยปัจจัย แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปกตูปนิสสยปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นอนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยปัจจัยทั้ง ๒ อย่าง แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนา. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนา เป็นอารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยปัจจัย แก่ธรรมที่ สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนาและสุขเวทนา เป็นอนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา. ก็ในอธิการนี้ เมื่อว่าโดยความต่างกัน แห่งปัจจัย ปกตูปนิสสยปัจจัยมี ๙ วาระ อนันตรูปนิสสยปัจจัยมี ๗ วาระ อารัมมณูปนิสสยปัจจัยมี ๔ วาระ รวมเป็นอุปนิสสยปัจจัย ๒๐ ประเภท.
ก็ในอธิการนี้ ปุเรชาตปัจจัยและปัจฉาชาตปัจจัยขาดไป เพราะว่า อรูปธรรมที่เกิดก่อนหรือเกิดทีหลังย่อมไม่เป็นปัจจัยแก่อรูปธรรม. สองบทว่า กมฺเม อฏฺ ได้แก่วิสัชนา ๘ วาระ อย่างนี้
คือ ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็น กัมมปัจจัย ทั้ง ๒ อย่าง แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัย โดยนานักขณิกกัมมปัจจัยอย่างเดียวแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา และแก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 72
ธรรมที่สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนา ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย ๒ อย่าง แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ที่เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาไม่มี เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาเวทนาโดยนานักขณิกกัมมปัจจัยอย่างเดียว ธรรมที่สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนาเป็นปัจจัย โดยกัมมปัจจัยทั้ง ๒ อย่าง แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนา เป็นนานักขณิกกัมมปัจจัยอย่างเดียว แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและทุกขเวทนานอกนี้. ก็ในอธิการนี้ ว่าโดยความต่างกันแห่งปัจจัย นานักขณิกกัมมปัจจัยมี ๘ สหชาตกัมมปัจจัยมี ๓ รวมเป็นกัมมปัจจัย ๑๑ ประเภท. ก็ในนิทเทสแห่ง กัมมปัจจัย นี้ วิปปยุตตปัจจัยย่อมขาดไปเหมือนปุเรชาตะ และปัจฉาชาตปัจจัยฉะนั้น เพราะว่าอรูปธรรมทั้งหลายย่อมไม่เป็นวิปปยุตตปัจจัยแก่อรูปธรรมด้วยกัน.
วาระ ๗ ใน นัตถิและวิคตปัจจัย เหมือนกับในอนันตรปัจจัย และสมนันตรปัจจัย. ในอธิการนี้มีการกำหนดวิธีนับ ๕ อย่าง คือวิสัชนา ๓ - ๕ - ๗ - ๘ - ๙ ด้วยประการฉะนี้. ในการรวมปัจจัยด้วยอำนาจการกำหนดวิธีนับเหล่านั้น ผู้ศึกษาพึงนำปัจจัยที่เกินและที่ไม่ได้ออกไป ในการรวมกับปัจจัยที่มีวิธีนับได้น้อยกว่า แล้วทราบวิธีนับต่อไป ในการรวมกับเหตุปัจจัยย่อมไม่ได้อารัมมณปัจจัยและสมนันตรปัจจัยเป็นต้น.
สองบทว่า อธิปติยา เทฺว วิสัชนา ๒ วาระที่เหลือเว้นบทที่เกี่ยวกับทุกขเวทนา. จริงอยู่ ชื่อว่าเหตุที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาที่เป็นอธิบดีมีไม่ได้ เพราะเหตุนั้นท่านจึงนำออกเสีย แม้ในสองวาระที่เหลือก็นัยนี้เหมือนกัน.
ในคำว่า เทฺว ใน เหตุมูลกนัย มีการกำหนดวิธีนับ ๒ วาระเท่า นั้น ด้วยประการฉะนี้. ฆฏนา ๖ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ด้วยอำนาจการ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 73
กำหนดวิธีนับเหล่านั้น. บรรดาฆฏนา ๖ เหล่านั้น ฆฏนาที่ ๑ ตรัสไว้ ด้วยอำนาจธรรมที่ไม่มีอธิบดีที่ไม่ประกอบด้วยญาณซึ่งเป็นอวิบาก.
ฆฏนาที่ ๒ ตรัสด้วยอำนาจธรรมเหล่านั้นเองซึ่งเป็นวิบาก.
ฆฏนาที่ ๓ และ ฆฏนาที่ ๔ ตรัสด้วยอำนาจธรรมเหล่านั้นอีก แต่ เป็นญาณสัมปยุต.
ฆฏนาที่ ๕ ตรัสด้วยอำนาจอโมหะที่เป็นอธิบดีที่เป็นอวิปาก.
ฆฏนาที่ ๖ ตรัสด้วยอำนาจอโมหะที่เป็นอธิบดีที่เป็นวิบาก.
อีกอย่างหนึ่ง ฆฏนาที่ ๑ ตรัสด้วยอำนาจเหตุทั้งหมด.
ฆฏนาที่ ๒ ตรัสด้วยอำนาจวิบากเหตุทั้งหมด.
ฆฏนาที่ ๓ ตรัสด้วยอำนาจอโมหะเหตุทั้งหมด.
ฆฏนาที่ ๔ ตรัสด้วยอำนาจอโมหะเหตุที่เป็นวิบากทั้งหมด.
ฆฏนาที่ ๕ ตรัสด้วยอำนาจอโมหะที่เป็นอธิบดีทั้งหมด.
ฆฏนาที่ ๖ ตรัสด้วยอำนาจอโมหะที่เป็นวิบากมีอธิบดีทั้งหมด.
ในอารัมมณมูลกนัย สองบทว่า อธิปติยา จตฺตาริ ความว่า ในอธิปติปัจจัยมีฆฏนา ๔ วาระอย่างนี้
คือ สุขเป็นปัจจัยแก่สุข แก่อุเบกขา ด้วยอำนาจของอารัมมณาธิปติปัจจัย อุเบกขาเป็นปัจจัยแก่อุเบกขา แก่สุข ด้วย อำนาจของอารัมมณาธิปติปัจจัย.
แม้ในอุปนิสสยปัจจัย พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสวาระไว้ ๔ วาระ ด้วยอำนาจอารัมมณูปนิสสยปัจจัย. ก็ในอุปนิสสยปัจจัยมีฆฏนา ๑ เท่านั้น. แม้ในนัยที่มี อธิปติปัจจัย เป็นต้น ฆฏนาใดมีได้และไม่ได้ ตามนัยที่กล่าวแล้ว ในหนหลัง ผู้ศึกษากำหนดฆฏนานั้นทั้งหมดแล้วพึงทราบจำนวนฆฏนาที่เทียบเคียงกัน.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 74
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยกปัจจัยทั้งหลายขึ้นโดยอนุโลมตามนัยที่ตรัสไว้ ในกุสลติกะในปัจจนียนัย แล้วทรงแสดงวาระ ๙ ในปัจจัยทั้งปวงว่า นเหตุยา นว เป็นต้น ด้วยอำนาจการนับโดยปัจจนียะ เกี่ยวกับวาระที่ได้ในปัจจัยเหล่านั้น วาระเหล่านั้นผู้ศึกษาพึงยกบาลีขึ้นแสดงโดยนัยว่า บุคคลถวายทานด้วยจิต ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา โดยนเหตุปัจจัย ดังนี้ เป็นต้น ด้วยอำนาจแห่งวิสัชนา ๙ วาระ อันมีปัจจัยที่มีมูละ ๑ และมีมูลี ๑ เป็นที่สุด.
ก็ในการรวมปัจจัยในอธิการนี้ คำว่า นเหตุปจฺจยา ฯเปฯ นอุปนิสฺสเย อฏฺ ผู้ศึกษาพึงทราบวาระด้วยอำนาจนานักขณิกกัมมปัจจัย จริงอยู่ กรรมที่มีกำลังทรามย่อมไม่เป็นอุปนิสสยปัจจัย แต่เป็นปัจจัยโดยนานักขณิกกัมมปัจจัยอย่างเดียวเท่านั้น ก็ฆฏนาที่เหลือทั้งในอนุโลมปัจจนียะและปัจจนียานุโลมในอธิการนี้ ผู้ศึกษาสามารถนับได้โดยนัยที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้แล้วในหนหลัง ด้วยอำนาจแห่งวาระที่ได้แล้วในการประกอบแห่งปัจจัยนั้นๆ เพราะฉะนั้นจึงไม่อธิบายอย่างพิสดาร แล.
อรรถกถาวรรณนาเนื้อความแห่งเวทนาติกปัฏฐาน จบแล้ว