๙. สนิทัสสนทุกะ
โดย บ้านธัมมะ  27 ก.พ. 2565
หัวข้อหมายเลข 42258

[เล่มที่ 88] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๔

อนุโลมทุกปัฏฐาน

๙. สนิทัสสนทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 202

๑. เหตุปัจจัย 185/202

๒. อารัมมณปัจจัย 186/203

๓. อธิปติปัจจัย 187/203

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 188/204

ปัจจนียนัย 205

๑. นเหตุปัจจัย 189/205

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 190/207

อนุโลมปัจจนียนัย 207

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 191/207

ปัจจนียานุโลมนัย 208

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 192/208

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 209

๑. เหตุปัจจัย 193/209

๒. อารัมมณปัจจัย 194/209

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 195/210

ปัจจนียนัย 210

๑. นเหตุปัจจัย 196/210

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 197/210

อนุโลมปัจจนียนัย 211

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 198/211

ปัจจนียานุโลมนัย 211

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 199/211

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 212

๑. เหตุปัจจัย 200/212

๒. อารัมมณปัจจัย 201/212

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 213

๑. เหตุปัจจัย 202/213

๒. อารัมมณปัจจัย 203/214

๓. อธิปติปัจจัย 204/215

๔. อนันตรปัจจัย 205/217

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 206/218

๙. อุปนิสสยปัจจัย 207/218

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 208/219

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 209/220

๑๒. อาเสวนปัจจัย 210/221

๑๓. กัมมปัจจัย 211/221

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 212/222

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 213/223

๒๑. อัตถิปัจจัย 214/225

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 228

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 215/228

ปัจจนียนัย 229

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 216/229

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 217/230

อนุโลมปัจจนียนัย 231

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 218/231

ปัจจนียานุโลมนัย 231

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 219/231


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 88]



ความคิดเห็น 1    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 202

๙. สนิทัสสนทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๘๕] ๑. อนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัย ขันธ์ ๑ ฯลฯ ที่เป็นอนิทสัสนธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. สนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนิทสัสนธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ


ความคิดเห็น 2    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 203

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๓. สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม อาศัย อนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และ อนิทัสสนธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๘๖] ๑. อนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ฯลฯ ขันธ์๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.

๓. อธิปติปัจจัย

[๑๘๗] ๑. อนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ


ความคิดเห็น 3    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 204

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. สนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนิทัสสนธรรม.

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๓. สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม อาศัย อนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และ อนิทัสสนธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิทสัสนธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ฯลฯ พึงกระทำทุกปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๘๘] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ื้นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย


ความคิดเห็น 4    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 205

มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ใน วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๘๙] ๑. อนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูปที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.


ความคิดเห็น 5    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 206

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้ง หลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. สนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ เป็นอนิทัสสนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๓. สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม อาศัย อนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิ- ทัสสนธรรมอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ฯลฯ

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ


ความคิดเห็น 6    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 207

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พึงกระทำอย่างนี้ทุกปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๙๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๙๑] ๑. เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ


ความคิดเห็น 7    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 208

ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๙๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ โนนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ใน กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน อัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ


ความคิดเห็น 8    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 209

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๙๓] ๑. อนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ ฯลฯ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย. ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

พึงกระทำ ๒ วาระ แม้นอกนี้.

[๑๙๔] ๒. อนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยหทยวัตถุ ฯลฯ


ความคิดเห็น 9    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 210

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๙๕] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๙๖] ๑. อนิทัสสนธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้ง หลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

พึงกระทำ ๒ วาระ แม้นอกนี้ ฯลฯ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๙๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอารัมมณปัจจัยมี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียนัย จบ


ความคิดเห็น 10    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 211

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๙๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในโนนัตถิ- ปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลม

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๙๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลม จบ

แม้นิสสยวาระ ก็พึงกระทำอย่างนี้.


ความคิดเห็น 11    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 212

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๐๐] ๑. อนิทัสสนธรรม เจือกับอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๒๐๑] อนิทัสสนธรรม เจือกับอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

ทั้งหมดนี้ พึงแจกกับด้วยจำนวนปัจจัยรวมกัน อย่างที่กล่าวมาแล้ว. แม้สัมปยุตตวาระ ก็เหมือนกับสังสัฏฐวาระ.


ความคิดเห็น 12    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 213

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๐๒] ๑. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๒. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.


ความคิดเห็น 13    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 214

๒. อารัมมณปัจจัย

[๒๐๓] ๑. สนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ ฯลฯ รูปที่เป็นสนิทัสสนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญญาณ และอาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย.

๒. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรมแล้ว.

พิจารณาซึ่งกุศลกรรมนั้น.

บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลาย ที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.

บุคคลออกจากฌาน พิจารณาฌาน.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่ อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.


ความคิดเห็น 14    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 215

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ.

จักษุ ฯลฯ กายะ เสียง หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลฟังเสียง ด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของเจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ, ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

สัททายตนะ เป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ.

๓. อธิปติปัจจัย

[๒๐๔] ๑. สนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่


ความคิดเห็น 15    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 216

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำรูปที่เป็นสนิทัสสนธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำรูปนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

๒. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ.

กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจาก ฌาน ฯลฯ.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ฯลฯ กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ จักษุเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่


ความคิดเห็น 16    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 217

อธิปติธรรมที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจอธิปติปัจจัย.

๓. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรมด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. อนันตรปัจจัย

[๒๐๕] ๑. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, เนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.


ความคิดเห็น 17    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 218

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

[๒๐๖] ๑. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วย อำนาจของสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๒๐๗] ๑. สนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลปรารถนาซึ่งความถึงพร้อมแห่งวรรณะ ย่อมให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม.

ความถึงพร้อมแห่งวรรณะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความ ปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ


ความคิดเห็น 18    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 219

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อ มานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๒๐๘] ๑. สนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

คือ พิจารณาเห็นรูปที่เป็นสนิทัสสนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูป ด้วยทิพยจักษุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.


ความคิดเห็น 19    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 220

บุคคลฟังเสียง ด้วยทิพโสตธาตุ.

สัททายตนะ เป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๓. สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรมเป็นปัจจัย แก่อนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ได้แก่รูปายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

รูปายตนะ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๒๐๙] ๑. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วย อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.


ความคิดเห็น 20    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 221

๒. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม ด้วย อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย กายนี้ที่เป็นสนิทัสสนธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๓. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม และ อนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย.

๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๒๑๐] ๑. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ ฯลฯ

๑๓. กัมมปัจจัย

[๒๑๑] ๑. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่


ความคิดเห็น 21    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 222

เจตนาที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนิทัสสนธรรม ที่เป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ พึงให้พิสดาร.

๓. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ พึงให้พิสดาร.

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๒๑๒] ๑. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ พึงกระทำกวฬีการาหาร ในแม้ทั้ง ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ พึงกระทำรูปชีวิตินทรีย์ ในแม้ทั้ง ๓ วาระ.


ความคิดเห็น 22    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 223

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๒๑๓] ๑. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่


ความคิดเห็น 23    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 224

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย นี้ที่เป็นสนิทัสสนธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๓. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย นี้ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของ วิปปยุตตปัจจัย.


ความคิดเห็น 24    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 225

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๒๑๔] ๑. สนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ บุคคลพิจารณาเห็นรูปที่เป็นสนิทัสสนธรรม โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๒. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

สัททายตนะ เป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.


ความคิดเห็น 25    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 226

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย นี้ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๓. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็น อุปาทารูปทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.


ความคิดเห็น 26    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 227

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป ซึ่งเป็นสนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นสนิทัสสนธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นสนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๔. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็น อุปาทารูปทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย.


ความคิดเห็น 27    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 228

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูปทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.

๕. สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัย แก่อนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

รูปายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

รูปายตนะ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย.

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๑๕] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ใน


ความคิดเห็น 28    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 229

นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ใน กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๒๑๖] ๑. สนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย,


ความคิดเห็น 29    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 230

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๓. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๔. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย.

๕. สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัย แก่อนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๑๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง


ความคิดเห็น 30    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 231

มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๒๑๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียะ จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๒๑๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓


ความคิดเห็น 31    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 232

วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ใน วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียานุโลม จบ

สนิทัสสนทุกะ จบ