[เล่มที่ 31] พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค เล่มที่ ๕ ภาคที่ ๒
โดย บ้านธัมมะ  29 ส.ค. 2564
หัวข้อหมายเลข 36305

[เล่มที่ 31] พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค เล่มที่ ๕ ภาคที่ ๒

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น



ความคิดเห็น 1    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 11 ต.ค. 2564

อินทริยสังยุต

สุทธิกวรรคที่ ๑

๑. สุทธิกสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ ๕

๒. ปฐมโสตาสูตร รู้คุณโทษของอินทรีย์ ๕ เป็นพระโสดาบัน

๓. ทุติยโสตาสูตร รู้ความเกิดดับของอินทรย์ ๕ เป็นพระโสดาบัน

๔. ปฐมอรหันตสูตร รู้ความเกิดดับของอินทรีย์ ๕ เป็นพระอรหันต์

๕. ทุติยอรหันตสูตร รู้ความเกิดดับของอินทรีย์ ๕ เป็นพระอรหันต์

๖. ปฐมสมณพราหมณสูตร ผู้ไม่รู้ความเกิดดับของอินทรีย์ ๕ ไม่นับว่าสมณะหรือพราหมณ์

๗. ทุติยสมณพราหมณสูตร ผู้รู้ชัดถึงความเกิดของอินทรีย์ ๕ นับว่าเป็นสมณพราหมณ์

๘. ทัฏฐัพพสูตร ว่าด้วยการเห็นอินทรีย์ ๕ ในธรรมต่างๆ

๙. ปฐมวิภังคสูตร ว่าด้วยความหมายของอินทรีย์ ๕

๑๐. ทุติยวิภังคสูตร ว่าด้วยหน้าที่ของอินทรีย์ ๕


ความคิดเห็น 2    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 11 ต.ค. 2564

มุทุตรวรรคที่ ๒

๑. ปฏิลาภสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ ๕

๒. ปฐมสังขิตตสูตร ความเป็นพระอริยบุคคลระดับต่างๆ

๓. ทุติยสังขิตตสูตร ความต่างแห่งผลเพราะความต่างแห่งอินทรีย์

๔. ตติยสังขิตตสูตร อินทรีย์ ๕ ไม่เป็นหมัน

๕. ปฐมวิตถารสูตร ความเป็นพระอริยบุคคลระดับต่างๆ

๖. ทุติยวิตถารสูตร ความต่างแห่งผลเพราะความต่างแห่งอินทรีย์

๗. ตติยวิตถารสูตร อินทรีย์ ๕ ไม่เป็นหมัน

๘. ปฏิปันนสูตร ผู้ปฏิบัติอินทรีย์ ๕

๙. อุปสมสูตร ว่าด้วยผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ ๕

๑๐. อาสวักขยสูตร ผลของการปฏิบัติอินทรีย์ ๕


ความคิดเห็น 3    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 11 ต.ค. 2564

ฉฬินทริยวรรคที่ ๓

๑. ปุนัพภวสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ ๕

๒. ชีวิตินทริยสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ ๓

๓. อัญญาตาวินทริยสูตร อินทรีย์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง

๔. เอกาภิญญาสูตร ความเป็นพระอริยบุคคลระดับต่างๆ

๕. สุทธกสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ ๖

๖. โสตาปันนสูตร การรู้อินทรีย์ ๖ ของพระโสดาบัน

๗. ปฐมอรหันตสูตร การรู้อินทรีย์ ๖ ของพระอรหันต์

๘. ทุติยอรหันตสูตร การรู้อินทรีย์ ๖ ของพระพุทธเจ้า

๙. ปฐมสมณพราหมณสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ ๖

๑๐. ทุติยสมณพราหมณสูตร ว่าด้วยการรู้อินทรีย์ ๖


ความคิดเห็น 4    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 11 ต.ค. 2564

สุขินทริยวรรคที่ ๔

๑. สุทธกสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ ๕

๒. โสตาปันนสูตร รู้การเกิดดับแห่งอินทรีย์ ๕ เป็นโสดาบัน

๓. อรหันตสูตร รู้ความเกิดดับแห่งอินทรีย์ ๕ เป็นพระอรหันต์

๔. ปฐมสมณพราหมณสูตร รู้ความเกิดดับแห่งอินทรีย์ ๕ นับว่าเป็นสมณพราหมณ์

๕. ทุติยสมณพราหมณสูตร รู้ความเกิดดับแห่งอินทรีย์ ๕ เป็นสมณพราหมณ์

๖. ปฐมวิภังคสูตร ว่าด้วยการจําแนกอินทรีย์ ๕

๗. ทุติยวิภังคสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ ๕ เป็นสุขทุกข์และอทุกขมสุข

๘. ตติยวิภังคสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ ๕ ย่นเข้าเป็น ๓

๙. อรหันตสูตร อินทรีย์ ๕ อาศัยผัสสะเกิดเวทนา

๑๐. อุปปฏิกสูตร อินทรีย์ ๕ มีนิมิต มีเหตุ มีเครื่องปรุงแต่ง มีปัจจัย


ความคิดเห็น 5    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 11 ต.ค. 2564

ชราวรรคที่ ๕

๑. ชราสูตร ว่าด้วยความแก่

๒. อุณณาภพราหมณสูตร อินทรีย์ ๕ มีอารมณ์ต่างกัน

๓. สาเกตสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ ๕ พละ ๕

๔. ปุพพโกฏฐกสูตร พระสารีบุตรไม่เชื่อพระพุทธเจ้า

๕. ปฐมปุพพารามสูตร ว่าด้วยปัญญินทรีย์เป็นใหญ่

๖. ทุติยปุพพารามสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ ๒

๗. ตติยปุพพารามสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ ๔

๘. จตุตถปุพพารามสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ ๕

๙. ปิณโฑลภารทวาชสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ ๓

๑๐. สัทธาสูตร ว่าด้วยศรัทธาของพระอริยสาวก


ความคิดเห็น 6    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 11 ต.ค. 2564

สูกรขาตวรรคที่ ๖

๑. โกสลสูตร ปัญญินทรีย์เป็นยอดแห่งโพธิปักขิยธรรม

๒. มัลลกสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ ๔

๓. เสขสูตร ว่าด้วยพระเสขะและพระอเสขะ

๔. ปทสูตร บทธรรมที่เป็นไปเพื่อความตรัสรู้

๕. สารสูตร ปัญญินทรีย์เป็นยอดแห่งบทธรรม

๖. ปติฏฐิตสูตร ว่าด้วยธรรมอันเอก

๗. พรหมสูตร ว่าด้วยท้าวสหัมบดีพรหม

๘. สูกรขาตาสูตร ธรรมเป็นแดนเกษมจากโยคะ

๙. ปฐมอุปาทสูตร อินทรีย์ ๕ ไม่เกิดนอกพุทธกาล

๑๐. ทุติยอุปาทสูตร อินทรีย์ ๕ ไม่เกิดนอกวินัยพระสุคต


ความคิดเห็น 7    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 11 ต.ค. 2564

โพธิปักขิยวรรคที่ ๗

๑. สัญโญชนสูตร เจริญอินทรีย์ ๕ เพื่อละสังโยชน์

๒. อนุสยสูตร เจริญอินทรีย์ ๕ เพื่อถอนอนุสัย

๓. ปริญญาสูตร เจริญอินทรีย์ ๕ เพื่อกําหนดรู้อัทธานะ

๔. อาสวักขยสูตร เจริญอินทรีย์ ๕ เพื่อความสิ้นอาสวะ

๕. ปฐมผลสูตร เจริญอินทรีย์ ๕ หวังผลได้ ๒ อย่าง

๖. ทุติยผลสูตร เจริญอินทรีย์ ๕ ได้อานิสงส์ ๗ ประการ

๗. ปฐมรุกขสูตร ปัญญินทรีย์เป็นยอดแห่งโพธิปักขิยธรรม

๘. ทุติยรุกขสูตร ปัญญินทรีย์เป็นยอดแห่งโพธิปักขิยธรรม

๙. ตติยรุกขสูตร ปัญญินทรีย์เป็นยอดแห่งโพธิปักขิยธรรม

๑๐. จตุตถรุกขสูตร ปัญญินทรีย์เป็นยอดแห่งโพธิปักขิยธรรม


ความคิดเห็น 8    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 11 ต.ค. 2564

อินทริยสังยุต คังคาทิเปยยาลที่ ๘

อานิสงส์แห่งการเจริญอินทรีย ์๕

สัมมัปปธานสังยุต

สัมมัปปธานสังยุต ว่าด้วยสัมมัปปธาน ๔

พลสังยุต

พลสังยุต ว่าด้วยพละ ๕


ความคิดเห็น 9    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 11 ต.ค. 2564

อิทธิปาทสังยุต

ปาวาลวรรคที่ ๑

๑. อปารสูตร ว่าด้วยอิทธิบาท ๔

๒. วิรัทธสูตร ผู้ปรารภอิทธิบาทชื่อว่าปรารภอริยมรรค

๓. อริยสูตร เจริญอิทธิบาท ๔ เพื่อความสิ้นทุกข์

๔. นิพพุตสูตร เจริญอิทธิบาท ๔ เพื่อความหน่าย

๕. ปเทสสูตร ผู้ทําฤทธิ์ได้เพราะเจริญอิทธิบาท

๖. สัมมัตตสูตร ทําฤทธิ์ให้บริบูรณ์ได้เพราะเจริญอิทธิบาท

๗. ภิกขุสูตร ได้เจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติเพราะเจริญอิทธิบาท

๘. พุทธสูตร เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธะเพราะเจริญอิทธิบาท

๙. ญาณสูตร พระพุทธเจ้าเจริญอิทธิบาท ๔

๑๐. เจติยสูตร เจริญอิทธิบาท ๔ ทําให้อายุยืน


ความคิดเห็น 10    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 11 ต.ค. 2564

อิทธิบาทสังยุต

ปาสาทกัมปนวรรคที่ ๒

๑. ปุพพสูตร วิธีเจริญอิทธิบาท ๔

๒. มหัปผลสูตร อานิสงส์ของการเจริญอิทธิบาท

๓. ฉันทสูตร ว่าด้วยอิทธิบาท กับ ปธานสังขาร

๔. โมคคัลลานสูตร พระโมคคัลลานะแสดงฤทธิ์

๕. พราหมณสูตร ว่าด้วยปฏิปทาเพื่อละฉันทะ

๖. ปฐมสมณพราหมณสูตร ผู้มีฤทธิ์มาก เพราะเจริญอิทธิบาท ๔

๗. ทุติยสมณพราหมณสูตร แสดงฤทธิ์ได้หลายอย่างเพราะเจริญอิทธิบาท ๔

๘. อภิญญาสูตร ได้เจโตวิมุตติและปัญญาวิมุตติเพราะเจริญอิทธิบาท ๔

๙. เทสนาสูตร แสดงปฏิปทาเข้าถึงอิทธิบาทภาวนา

๑๐. วิภังคสูตร วิธีเจริญอิทธิบาท ๔


ความคิดเห็น 11    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 12 ต.ค. 2564

อิทธิบาทสังยุต

อโยคุฬวรรคที่ ๓

๑. มรรคสูตร ว่าด้วยปฏิปทาแห่งการเจริญอิทธิบาท

๒. อโยคุฬสูตร ว่าด้วยการแสดงฤทธิ์

๓. ภิกขุสุทธกสูตร ว่าด้วยการเจริญอิทธิบาท

๔. ปฐมผลสูตร เจริญอิทธิบาทหวังผลได้ ๒ อย่าง

๕. ทุติยผลสูตร ว่าด้วยผลานิสงส์ ๗

๖. ปฐมอานันทสูตร ว่าด้วยปฏิปทาที่จะให้ถึงอิทธิบาท

๗. ทุติยอานันทสูตร ว่าด้วยอิทธิฤทธิ์

๘. ปฐมภิกขุสูตร ว่าด้วยอิทธิฤทธิ์

๙. ทุติยภิกขุสูตร ว่าด้วยอิทธิฤทธิ์

๑๐. โมคคัลลานสูตร สรรเสริญพระโมคคัลลานะว่ามีฤทธิ์มาก

๑๑. ตถาคตสูตร พระตถาคตมีฤทธิ์มาก


ความคิดเห็น 12    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 12 ต.ค. 2564

คังคาทิเปยยาลแห่งอิทธิบาทสังยุต

คังคาทิเปยยาลแห่งอิทธิบาทสังยุต ว่าด้วยผลแห่งอิทธิบาท ๔


ความคิดเห็น 13    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 12 ต.ค. 2564

อนุรุทธสังยุต

รโหคตวรรคที่ ๑

๑. ปฐมรโหคตสูตร ว่าด้วยสติปัฏฐาน ๔

๒. ทุติยรโหคตสูตร ว่าด้วยสติปัฏฐาน ๔

๓. สุตนุสูตร การบรรลุภาวะแห่งมหาอภิญญา

๔. ปฐมกัณฏกีสูตร ธรรมที่พระเสขะพึงเข้าถึง

๕. ทุติยกัณฏกีสูตร ธรรมที่พระอเสขะพึงเข้าถึง

๖. ตติยกัณฏกีสูตร การบรรลุภาวะแห่งมหาอภิญญา

๗. ตัณหักขยสูตร เจริญสติปัฏฐานเพื่อความสิ้นตัณหา

๘. สลฬาคารสูตร ภิกษุผู้เจริญสติปัฏฐานไม่ลาสิกขา

๙. อัมพปาลิสูตร ว่าด้วยวิหารธรรม

๑๐. คิลานสูตร จิตตั้งมั่นในสติปัฏฐาน ทุกขเวทนาไม่ครอบงํา


ความคิดเห็น 14    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 12 ต.ค. 2564

อนุรุทธสังยุต

ทุติยวรรคที่ ๒

๑. สหัสสสูตร การบรรลุภาวะแห่งมหาอภิญญา

๒. อิทธิสูตร เจริญสติปัฏฐานแสดงฤทธิ์ได้

๓. ทิพโสตสูตร ว่าด้วยเสียง ๒ ชนิด

๔. เจโตปริจจสูตร ว่าด้วยการกําหนดรู้ใจผู้อื่น

๕. ฐานาฐานสูตร ว่าด้วยการรู้ฐานะและอฐานะ

๖. วิปากสูตร ว่าด้วยการรู้วิบากของกรรม

๗. สัพพัตถคามินีปฏิปทาสูตร ปฏิปทาอันให้ถึงประโยชน์ทั้งปวง

๘. นานาธาตุสูตร ว่าด้วยการรู้ธาตุต่างๆ

๙. อธิมุตติสูตร ว่าด้วยการรู้อธิมุตติต่างๆ

๑๐. อินทริยสูตร ว่าด้วยการรู้ความยิ่งหย่อนแห่งอินทรีย์

๑๑. สังกิเลสสูตร ว่าด้วยรู้ความเศร้าหมองความผ่องแผ้ว

๑๒. ปฐมวิชชาสูตร ว่าด้วยการระลึกชาติได้

๑๓. ทุติยวิชชาสูตร ว่าด้วยการเห็นจุติและอุบัติ

๑๔. ตติยวิชชาสูตร ว่าด้วยการทําอาสวะให้สิ้นไป


ความคิดเห็น 15    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 13 ต.ค. 2564

ฌานสังยุต

ว่าด้วยฌาน ๔

ฌานสังยุต ว่าด้วยฌาน ๔


ความคิดเห็น 16    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 13 ต.ค. 2564

อานาปานสังยุต

เอกธรรมวรรคที่ ๑

๑. เอกธรรมสูตร ว่าด้วยอานาปานสติ

๒. โพชฌงคสูตร ว่าด้วยโพชฌงค์

๓. สุทธิกสูตร วิธีเจริญอานาปานสติ

๔. ปฐมผลสูตร ผลานิสงส์เจริญอานาปานสติ ๒ ประการ

๕. ทุติยผลสูตร ผลานิสงส์การเจริญอานาปานสติ ๗ ประการ

๖. อริฏฐสูตร การเจริญอานาปานสติ

๗. กัปปินสูตร ว่าด้วยอานาปานสติสมาธิ

๘. ทีปสูตร อานิสงส์แห่งการเจริญอานาปานสติสมาธิ

๙. เวสาลีสูตร ว่าด้วยการเจริญอสุภกรรมฐาน

๑๐. กิมิลสูตร การเจริญอานาปานสติสมาธิ


ความคิดเห็น 17    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 13 ต.ค. 2564

อานาปานสังยุต

ทุติยวรรคที่ ๒

๑. อิจฉานังคลสูตร ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของพระอริยะ

๒. โลมสกังภิยสูตร วิหารธรรมของพระเสขะ ต่างกับของพระพุทธองค์

๓. ปฐมอานันทสูตร ว่าด้วยปัญหาของพระอานนท์

๔. ทุติยอานันทสูตร ว่าด้วยปัญหาของพระอานนท์

๕. ปฐมภิกขุสูตร ว่าด้วยปัญหาของภิกษุหลายรูป

๖. ทุติยภิกขุสูตร ว่าด้วยปัญหาของภิกษุหลายรูป

๗. สังโยชนสูตร เจริญอานาปานสติสมาธิเพื่อละสังโยชน์

๘. อนุสยสูตร เจริญอานาปานสติสมาธิเพื่อถอนอนุสัย

๙. อัทธานสูตร เจริญอานาปานสติสมาธิเพื่อรู้อัทธานะ

๑๐. อาสวักขยสูตร เจริญอานาปานสติสมาธิเพื่อสิ้นอาสวะ


ความคิดเห็น 18    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 13 ต.ค. 2564

โสตาปัตติสังยุต

เวฬุทวารวรรคที่ ๑

๑. ราชสูตร คุณธรรมของพระอริยสาวก

๒. โอคธสูตร องค์คุณของพระโสดาบัน

๓. ทีฆาวุสูตร องค์ธรรมเครื่องบรรลุโสดา

๔. ปฐมสาริปุตตสูตร เป็นพระโสดาบันเพราะมีธรรม ๔ ประการ

๕. ทุติยสาริปุตตสูตร ว่าด้วยองค์ธรรมเครื่องบรรลุโสดา

๖. ถปติสูตร ว่าด้วยช่างไม้นามว่าอิสิทัตตะ

๗. เวฬุทวารสูตร ว่าด้วยธรรมปริยายอันควรน้อมเข้ามาในตน

๘. ปฐมคิญชกาวสถสูตร ว่าด้วยธรรมปริยาย ชื่อ ธรรมาทาส

๙. ทุติยคิญชกาวสถสูตร ว่าด้วยธรรมปริยาย ชื่อ ธรรมาทาส

๑๐. ตติยคิญชกาวสถสูตร ว่าด้วยธรรมปริยาย ชื่อ ธรรมาทาส


ความคิดเห็น 19    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 13 ต.ค. 2564

โสตาปัตติสังยุต

ราชการามวรรคที่ ๒

๑. สหัสสสูตร องค์คุณของพระโสดาบัน

๒. พราหมณสูตร ว่าด้วยอุทยคามินีปฏิปทา

๓. อานันทสูตร ละธรรม ๔ ประกอบธรรม ๔ เป็นพระโสดาบัน

๔. ปฐมทุคติสูตร มีธรรม ๔ ประการย่อมพ้นทุคติ

๕.ทุติยทุคติสูตร มีธรรม ๔ ประการ พ้นทุคติและวินิบาต

๖. ปฐมมิตตามัจจสูตร องค์ธรรมเครื่องบรรลุโสดา ๔ ประการ

๗. ทุติยมิตตามัจจสูตร องค์ธรรมเครื่องบรรลุโสดา ๔ ประการ

๘. ปฐมเทวจาริกสูตร ข้อปฏิบัติเข้าถึงสุคติ

๙. ทุติยเทวจาริกสูตร ข้อปฏิบัติเข้าถึงสุคติ

๑๐. ตติยเทวจาริกสูตร องค์คุณของพระโสดาบัน


ความคิดเห็น 20    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 13 ต.ค. 2564

โสตาปัตติสังยุต

สรกานิวรรคที่ ๓

๑. ปฐมมหานามสูตร ว่าด้วยกาลกิริยาอันไม่เลวทราม

๒. ทุติยมหานามสูตร ว่าด้วยกาลกิริยาอันไม่เลวทราม

๓. โคธาสูตร ปัญหาเกี่ยวกับการเป็นพระโสดาบัน

๔. ปฐมสรกานิสูตร ผู้ถึงสรณคมน์ไม่ไปสู่วินิบาต

๕. ทุติยสรกานิสูตร ผู้ถึงสรณคมน์ไม่ไปสู่วินิบาต

๖. ปฐมทุสีลยสูตร จําแนกโสดาปัตติยังคะ ๔ ด้วยอาการ ๑๐

๗. ทุติยทุสีลยสูตร กลัวความตายเพราะไม่มีธรรม ๔ ประการ

๘. ปฐมเวรภยสูตร ว่าด้วยภัยเวร ๕ ประการ

๙. ทุติยเวรภยสูตร ผู้ระงับภัยเวร ๕ พยากรณ์ตนเองได้

๑๐. ลิจฉวีสูตร ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเป็นพระโสดาบัน


ความคิดเห็น 21    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 13 ต.ค. 2564

โสตาปัตติสังยุต

ปุญญาภิสันทวรรคที่ ๔

๑. ปฐมอภิสันทสูตร ว่าด้วยห้วงบุญกุศล ๔ ประการ

๒. ทุติยอภิสันทสูตร ว่าด้วยห้วงบุญกุศล ๔ ประการ

๓. ตติยอภิสันทสูตร ว่าด้วยห้วงบุญกุศล ๔ ประการ

๔. ปฐมเทวปทสูตร ว่าด้วยเทวบท ๔ ประการ

๕. ทุติยเทวปทสูตร ว่าด้วยเทวบท ๔ ประการ

๖. สภาคตสูตร เทวดาสรรเสริญผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ

๗. มหานามสูตร ว่าด้วยสมบัติของอุบาสก

๘. วัสสสูตร ธรรมที่เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะ

๙. กาฬิโคธาสูตร องค์คุณของพระโสดาบัน

๑๐. นันทิยสูตร อยู่ด้วยความประมาทและไม่ประมาท


ความคิดเห็น 22    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 13 ต.ค. 2564

โสตาปัตติสังยุต

สคาถกปุญญาภิสันทวรรคที่ ๕

๑. ปฐมอภิสันทสูตร ห้วงบุญกุศล ๔ ประการ

๒. ทุติยอภิสันทสูตร ห้วงบุญกุศล ๔ ประการ

๓. ตติยอภิสันทสูตร ห้วงบุญกุศล ๔ ประการ

๔. ปฐมมหัทธนสูตร ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเป็นผู้มั่งคั่ง

๕. ทุติยมหัทธนสูตร ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเป็นผูัมั่งคั่ง

๖. ภิกขุสูตร องค์คุณของพระโสดาบัน

๗. นันทิยสูตร ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเป็นพระโสดาบัน

๘. ภัททิยสูตร ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเป็นพระโสดาบัน

๙. มหานามสูตร ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเป็นพระโสดาบัน

๑๐. โสตาปัตติยังคสูตร โสตาปัตติยังคะ ๔ ประการ


ความคิดเห็น 23    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 13 ต.ค. 2564

โสตาปัตติสังยุต

สัปปัญญวรรคที่ ๖

๑. สคาถกสูตร ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเป็นพระโสดาบัน

๒. วัสสวุตถสูตร ว่าด้วยพระอริยบุคคลมีน้อยกว่ากันโดยลําดับ

๓. ธรรมทินนสูตร ธรรมทินนะอุบาสกพยากรณ์โสดาปัตติผล

๔. คิลายนสูตร ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความเบาใจ ๔ ประการ

๕. ปฐมผลสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อทําให้แจ้งโสดาปัตติผล

๖. ทุติยผลสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อทําให้แจ้งสกทาคามิผล

๗. ตติยผลสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อทําให้แจ้งอนาคามิผล

๘. จตุตถผลสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อทําให้แจ้งอรหัตตผล

๙. ปฏิลาภสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อได้ปัญญา

๑๐. วุฒิสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อปัญญาเจริญ

๑๑. เวปุลลสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อปัญญาไพบูลย์


ความคิดเห็น 24    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 13 ต.ค. 2564

โสตาปัตติสังยุต

มหาปัญญวรรคที่ ๗

๑. มหาปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญามาก

๒. ปุถุปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาแน่นหนา

๓. วิปุลลปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาไพบูลย์

๔. คัมภีรปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาลึกซึ้ง

๕. อัปปมัตตปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาหาประมาณมิได้

๖. ภูริปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาดังแผ่นดิน

๗. พาหุลปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญามาก

๘. สีฆปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาเร็ว

๙. ลหุปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาเบา

๑๐. หาสปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาร่าเริง

๑๑. ชวนปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาไว

๑๒. ติกขปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญากล้า

๑๓. นิพเพธิกปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาชําแรกกิเลส


ความคิดเห็น 25    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 13 ต.ค. 2564

สัจจสังยุต

สมาธิวรรคที่ ๑

๑. สมาธิสูตร ผู้มีใจตั้งมั่นย่อมรู้ตามความเป็นจริง

๒. ปฏิสัลลานสูตร ผู้หลีกเร้นอยู่ย่อมรู้ตามความเป็นจริง

๓. ปฐมกุลปุตตสูตร ผู้ออกบวชโดยชอบเพื่อรู้อริยสัจ ๔

๔. ทุติยกุลปุตตสูตร ผู้ออกบวชโดยชอบรู้อริยสัจ ๔ ตามเป็นจริง

๕. ปฐมสมณพราหมณสูตร สมณพราหมณ์รู้อริยสัจ ๔ ตามเป็นจริง

๖. ทุติยสมณพราหมณสูตร สมณพราหมณ์ประกาศอริยสัจ ๔ ที่ตนรู้

๗. วิตักกสูตร ว่าด้วยการตรึกในอริยสัจ ๔

๘. จินตสูตร ว่าด้วยการคิดในอริยสัจ ๔

๙. วิคคาหิกกถาสูตร ว่าด้วยการพูดที่ไม่เป็นประโยชน์

๑๐. ติรัจฉานกถาสูตร ว่าด้วยการพูดติรัจฉานกถา


ความคิดเห็น 26    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 14 ต.ค. 2564

สัจจสังยุต

ธรรมจักกัปปวัตตนวรรคที่ ๒

๑. ปฐมตถาคตสูตร ทรงแสดงพระธรรมจักร

๒. ทุติยตถาคตสูตร จักษุญาณปัญญาวิชชาแสงสว่างเกิดแก่พระตถาคต

๓. ขันธสูตร ว่าด้วยอริยสัจ ๔

๔. อายตนสูตร ว่าด้วยอริยสัจ ๔

๕. ปฐมธารณสูตร ว่าด้วยการทรงจําอริยสัจ ๔

๖. ทุติยธารณสูตร ว่าด้วยการทรงจําอริยสัจ ๔ อย่างถูกต้อง

๗. อวิชชาสูตร ว่าด้วยอวิชชา

๘. วิชชาสูตร ว่าด้วยวิชชา

๙. สังกาสนสูตร ว่าด้วยบัญญัติแห่งอริยสัจ ๔

๑๐. ตถสูตร ว่าด้วยของจริงแท้ ๔ อย่าง


ความคิดเห็น 27    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 14 ต.ค. 2564

สัจจสังยุต

โกฏิคามวรรคที่ ๓

๑. ปฐมวัชชีสูตร ว่าด้วยการตรัสรู้และไม่ตรัสรู้อริยสัจ ๔

๒. ทุติยวัชชีสูตร ว่าด้วยการรู้ชัดและไม่รู้ชัดอริยสัจ ๔

๓. สัมมาสัมพุทธสูตร ว่าด้วยความเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

๔. อรหันตสูตร ว่าด้วยพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า

๕. อาสวักขยสูตร ว่าด้วยความสิ้นอาสวะ

๖. มิตตสูตร ว่าด้วยการอนุเคราะห์มิตร

๗. ตถสูตร ว่าด้วยอริยสัจ ๔ เป็นของจริงแท้

๘. โลกสูตร พระตถาคตเป็นอริยะในโลกทั้งปวง

๙. ปริญเญยยสูตร ว่าด้วยหน้าที่ในอริยสัจ ๔

๑๐. ควัมปติสูตร ผู้เห็นทุกข์ ชื่อว่า เห็นในสมุทัย นิโรธมรรค


ความคิดเห็น 28    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 14 ต.ค. 2564

สัจจสังยุต

สีสปาปัณณวรรคที่ ๔

๑. สีสปาสูตร เปรียบสิ่งที่ตรัสรู้มีมากเหมือนใบไม้บนต้น

๒. ขทิรสูตร ว่าด้วยการทําที่สุดแห่งทุกข์เพราะตรัสรู้อริยสัจ ๔

๓. ทัณฑสูตร ผู้ท่องเที่ยวไปในโลกเพราะไม่เห็นอริยสัจ

๔. เจลสูตร ให้รีบเพียรเพื่อตรัสรู้ เหมือนรีบดับไฟบนศีรษะ

๕. สัตติสตสูตร ว่าด้วยการตรัสรู้อริยสัจ ๔

๖. ปาณสูตร ผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิพ้นจากอบายใหญ่

๗. ปฐมสุริยูปมสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เป็นนิมิตมาก่อนการตรัสรู้อริยสัจ

๘. ทุติยสุริยูปมสูตร พระตถาคตอุบัติความสว่างย่อมปรากฏ

๙. อินทขีลสูตร ผู้รู้ตามเป็นจริง ย่อมรู้ผู้อื่นว่ารู้หรือไม่รู้

๑๐. วาทีสูตร ผู้รู้ชัดตามเป็นจริง ไม่หวั่นไหวต่อผู้ยกวาทะ


ความคิดเห็น 29    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 14 ต.ค. 2564

สัจจสังยุต

ปปาตวรรคที่ ๕

๑. จินตสูตร การคิดเรื่องตายแล้วเกิดหรือไม่ ไม่มีประโยชน์

๒. ปปาตสูตร ว่าด้วยเหว คือ ความเกิด

๓. ปริฬาหสูตร ว่าด้วยความเร่าร้อน

๔. กูฏสูตร ว่าด้วยฐานะที่มีได้และมีไม่ได้

๕. วาลสูตร ว่าด้วยการแทงตลอดตามความเป็นจริงยาก

๖. อันธการีสูตร ผู้รู้ตามความเป็นจริงไม่ตกไปสู่ที่มืด

๗. ปฐมฉิคคฬสูตร ว่าด้วยความเป็นมนุษย์แสนยาก

๘. ทุติยฉิคคฬสูตร ว่าด้วยการได้ความเป็นมนุษย์แสนยาก

๙. ปฐมสิเนรุสูตร ทุกข์ของพระอริยบุคคลหมดไปมากกว่าที่เหลือ

๑๐. ทุติยสิเนรุสูตร ทุกข์ของพระอริยบุคคลหมดไปมากกว่าที่เหลือ


ความคิดเห็น 30    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 15 ต.ค. 2564

สัจจสังยุต

อภิสมยวรรคที่ ๖

๑. นขสิขาสูตร ว่าด้วยทุกข์ของพระอริยะเท่ากับฝุ่นที่ปลายเล็บ

๒. โปกขรณีสูตร ว่าด้วยทุกข์ของพระอริยะเท่ากับน้ําปลายหญ้าคา

๓. ปฐมสัมเภชชสูตร เปรียบทุกข์ที่ยังเหลือเท่ากับหยดน้ํา

๔. ทุติยสัมเภชชสูตร เปรียบทุกข์ที่หมดไปเท่ากับน้ําในแม่น้ํา

๕. ปฐมปฐวีสูตร เปรียบทุกข์ที่ยังเหลือเท่ากับก้อนดิน

๖. ทุติยปฐวีสูตร เปรียบทุกข์ที่หมดไปเท่ากับแผ่นดิน

๗. ปฐมสมุททสูตร เปรียบทุกข์ที่เหลือเท่ากับหยดน้ํา

๘. ทุติยสมุททสูตร เปรียบทุกข์ที่หมดไปเท่ากับมหาสมุทร

๙. ปฐมปัพพตูปมสูตร เปรียบทุกข์ที่เหลือเท่ากับก้อนหิน

๑๐. ทุติยปัพพตูปมสูตร เปรียบทุกข์ที่หมดไปเท่ากับขุนเขา


ความคิดเห็น 31    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 15 ต.ค. 2564

สัจจสังยุต

อามกธัญญเปยยาล ปฐมวรรคที่ ๗

๑. อัญญตรสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้มาเกิดในมนุษย์มีน้อย

๒. ปัจจันตสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้มาเกิดในปัจจันตชนบทมาก

๓. ปัญญาสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้มีปัญญาจักษุน้อย

๔. สุราเมรัยสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้งดเว้นการดื่มน้ําเมามีน้อย

๕. อุทกสูตร ว่าด้วยสัตว์ที่เกิดในน้ํามีมาก

๖. มัตเตยยสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เกื้อกูลมารดามีน้อย

๗. เปตเตยยสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เกื้อกูลบิดามีน้อย

๘. สามัญญสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เกื้อกูลสมณะมีน้อย

๙. พราหมัญญสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เกื้อกูลพราหมณ์มีน้อย

๑๐. อปจายิกสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้นอบน้อมต่อผู้เจริญมีน้อย


ความคิดเห็น 32    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 15 ต.ค. 2564

สัจจสังยุต

อามกธัญญเปยยาล ทุติยวรรคที่ ๘

๑. ปาณาติปาตสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นปาณาติบาตมีน้อย

๒. อทินนาทานสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นอทินนาทานมีน้อย

๓. กาเมสุมิจฉาจารสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นกาเมสุมิจฉาจารมีน้อย

๔. มุสาวาทสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นจากมุสาวาทมีน้อย

๕. เปสุญญสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นคําส่อเสียดมีน้อย

๖. ผรุสสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นจากคําหยาบมีน้อย

๗. สัมผัปปลาปสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการเพ้อเจ้อมีน้อย

๘. พีชสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการพรากพืชคามมีน้อย

๙. วิกาลโภชนสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นบริโภคในเวลาวิกาลมีน้อย

๑๐. คันธวิเลปนสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นเครื่องลูบไล้มีน้อย


ความคิดเห็น 33    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 15 ต.ค. 2564

สัจจสังยุต

อามกธัญญเปยยาล ตติยวรรคที่ ๙

๑. นัจจสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นจากการฟ้อนรํามีน้อย

๒. สยนสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการนั่งนอนในที่นั่งนอนสูงใหญ่มีน้อย

๓. รชตสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการรับเงินทองมีน้อย

๔. ธัญญสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นจากการรับธัญญชาติดิบมีน้อย

๕. มังสสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการรับเนื้อดิบมีน้อย

๖. กุมาริกาสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการรับเด็กหญิงมีน้อย

๗. ทาสีสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการรับทาสีและทาสมีน้อย

๘. อเชฬกสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการรับแพะแกะมีน้อย

๙. กุกกุฏสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการรับไก่และสุกรมีน้อย

๑๐. หัตถีสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการรับช้างมีน้อย


ความคิดเห็น 34    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 15 ต.ค. 2564

อามกธัญญเปยยาล จตุตถวรรคที่ ๑๐

ว่าด้วยสัตว์ผู้มีการกระทําต่างๆ กัน

อามกธัญญเปยยาล จตุตถวรรคที่ ๑๐ ว่าด้วยสัตว์ผู้มีการกระทําต่างๆ กัน


ความคิดเห็น 35    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 15 ต.ค. 2564

อามกธัญญเปยยาลวรรควรรณนา

อามกธัญญเปยยาลวรรควรรณนา


ความคิดเห็น 36    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 15 ต.ค. 2564

นิคมกถา

อรรถกถา ชื่อว่า สารัตถปกาสินี

นิคมกถา สารัตถปกาสินี