[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕
พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๕
อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)
๖๘. อุปาทินนทุกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย 378
๑. เหตุปัจจัย 340/378
๒. อารัมมณปัจจัย 341/379
๓. อธิปติปัจจัย 342/380
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 343/380
ปัจจนียนัย 381
๑. นเหตุปัจจัย 344/381
๒. นอารัมมณปัจจัย 345/382
๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย 346/384
๘. นปุเรชาตปัจจัย 347/384
๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย 385
๑๑. นกัมมปัจจัย 348/385
๑๒. นวิปากปัจจัย 349/386
๑๓. นอาหารปัจจัย 350/386
๑๔. นอินทริยปัจจัย 351/386
๑๕. นฌานปัจจัย 352/387
๑๖. นมัคคปัจจัย 353/387
๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย 387
๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย 354/388
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 355/388
อนุโลมปัจจนียนัย 389
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 356/389
ปัจจนียานุโลมนัย 389
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 357/389
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย 390
๑. เหตุปัจจัย 358/390
๒. อารัมมณปัจจัย 359/391
๓. อธิปติปัจจัย 360/392
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 361/393
ปัจจนียนัย 393
๑. นเหตุปัจจัย 362/393
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 363/395
อนุโลมปัจจนียนัย 396
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 364/396
ปัจจนียานุโลมนัย 396
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 365/396
ส้งสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย 397
๑. เหตุปัจจัย 366/397
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 367/397
ปัจจนียนัย 398
๑. นเหตุปัจจัย 368/398
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 369/398
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย 399
๑. เหตุปัจจัย 370/399
๒. อารัมมณปัจจัย 371/400
๓. อธิปติปัจจัย 372/402
๔. อนันตรปัจจัย 373/404
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 405
๙. อุปนิสสยปัจจัย 374/406
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 375/408
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 376/411
๑๒. อาเสวนปัจจัย 377/412
๑๓. กัมมปัจจัย 378/412
๑๔. วิปากปัจจัย 379/413
๑๕. อาหารปัจจัย 380/414
๑๖. อินทริยปัจจัย 381/416
๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 382/417
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 383/417
๒๑. อัตถิปัจจัย 384/420
๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 424
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 385/424
ปัจจนียนัย 425
การยกปัจจัยในปัจจนียะ 386/425
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 387/427
อนุโลมปัจจนียนัย 427
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 388/427
ปัจจนียานุโลมนัย 428
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 389/428
อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 378
๖๘. อุปาทินนทุกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๓๔๐] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.
ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย.
๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม.
๓. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม อาศัย อุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 379
๔. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๕. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และ อนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๓๔๑] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒. ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ ฯลฯ
๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 380
๓. อธิปติปัจจัย
[๓๔๒] ๑. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย. ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๓๔๓] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๕ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๕ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในนัตถิ- ปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 381
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๓๔๔] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
อสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่ง เป็นอเหตุกะ.
๓. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม อาศัย อุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 382
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
๔. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
๕. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และ อนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่ง เป็นอเหตุกะ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๓๔๕] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 383
คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม.
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
อสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม.
๓. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรน เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๔. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และ อนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 384
๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย
[๓๔๖] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
ฯลฯ เพราะนอนันตรปัจจัย
ฯลฯ เพราะนสมนันตรปัจจัย
ฯลฯ เพราะนอัญญมัญญปัจจัย
ฯลฯ เพราะนอุปนิสสยปัจจัย
๘. ปุเรชาตปัจจัย
[๓๔๗] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น อุปาทินนธรรม ตลอดถึงอสัญญสัตว์.
๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม.
๓. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 385
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินธรรม.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ ฯลฯ อุตุ- สมุฏฐานรูป.
๔. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และ อนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.
๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย
ฯลฯ เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย
ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย
๑๑. กัมมปัจจัย
[๓๔๘] ๑. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม.
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 386
๑๒. นวิปากปัจจัย
[๓๔๙] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ อสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ตลอดถึงอุตุสมุฏฐานรูป.
๑๓. นอาหารปัจจัย
[๓๕๐] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาหารปัจจัย
คือ อสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาหารปัจจัย
คือ พาหิรรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
๑๔. นอินทริยปัจจัย
[๓๕๑] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนอินทริยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 387
คือ อสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนอินทริยปัจจัย
คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
๑๕. นฌานปัจจัย
[๓๕๒] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
อสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย
คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
๑๖. นมัคคปัจจัย
[๓๕๓] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย เหมือนกับ เพราะนเหตุปัจจัย โมหะไม่มี.
๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย
ฯลฯ เพราะนสัมปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 388
๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย
[๓๕๔] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
อสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ฯลฯ เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ
[๓๕๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๒ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 389
๔ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ใน โนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๓๕๖] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๓๕๗] เพราะนเหตุปัจจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ใน อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ใน มัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
สหชาตวาระ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 390
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๓๕๘] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๓. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม อาศัย อุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 391
๔. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม อาศัยขันธ์ ๒.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๕. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และ อนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๓๕๙] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 392
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๓. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒.
๔. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และ อนุปาทินนธรรน เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
๓. อธิปติปัจจัย
[๓๖๐] ๑. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 393
๓. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และ อนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๓๖๑] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ใน วิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๓๖๒] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 394
ในอเหตุกะปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
อสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.
๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น. เพราะนเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่ง เป็นอเหตุกะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทยวัตถุ.
๓. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
๔. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 395
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้ง หลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๕. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และ อนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่ง เป็นอเหตุกะ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และ หทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้ง หลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๓๖๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๒ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 396
ในนฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๓๖๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๓๖๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
นิสสยวาระ เหมือนกับ ปัจจยวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 397
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๓๖๖] ๑. อุปาทินนธรรม เจือกับอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ เจือกับ ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. อนุปาทินนธรรม เจือกับ อนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ เจือกับ ขันธ์ ๒.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๓๖๗] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ใน วิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 398
ปัจจนียนัย
[๓๖๘] ๑. อุปาทินนธรรม เจือกับอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๒.
๒. อนุปาทินนธรรม เจือกับอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๒.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เจือกับขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๓๖๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
การนับสองวาระนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 399
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๓๗๐] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วยอํานาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๓. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และ อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 400
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๓๗๑] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พิจารณาจักษุ ฯลฯ กายะ ฯลฯ รูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม คันธะ รสะ โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น ครั้นเมื่อกุศล และ อกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
รูปายตนะที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ คันธายตนะที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่ฆานวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมณปัจจัย
คือ พิจารณาจักษุ ฯลฯ กายะ ฯลฯ รูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม คันธะ รสะ โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูป ซึ่งเป็นอุปาทินนธรรม ด้วยทิพยจักษุ.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ซึ่งเป็นอุปาทินนธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 401
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่ เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่ อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๓. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม แล้วพิจารณา ซึ่งกุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
พิจารณากุศลทั้งหลายที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อนฯฯ จากฌาน ฯลฯ
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค, ผล ฯลฯ นิพพาน ฯลฯ
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว, พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน, ฯลฯ พิจารณารูปทั้งหลายที่เป็น อนุปาทินนธรรม ฯลฯ สัททะ ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนุปาทินนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 402
อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่ เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่ อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอํานาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พิจารณารูปทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ สัททะ ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น ครั้นเมื่อกุศลและอกุศล ดับไปแล้ว ตทารัมมณจิต ที่เป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนวิบาก ฯลฯ อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก.
รูปายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ สัททายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย.
๓. อธิปติปัจจัย
[๓๗๒] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 403
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ กายะ ฯลฯ รูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ คันธะ รสะ โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุ เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อม เกิดขึ้น.
๒. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา ครั้นกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
พิจารณากุศลที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
ออกจากฌาน ฯลฯ
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น แล้วพิจารณา ฯลฯ ผล ฯลฯ นิพพาน ฯลฯ
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 404
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำรูปทั้งหลายที่เป็น อนุปาทินนธรรม ฯลฯ สัททะ ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนุปาทินนธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๔. อนันตรปัจจัย
[๓๗๓] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย. ปัญจวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนธาตุ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
วิบากมโนธาตุ เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.
๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ภวังค์ เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ, วิบากมโนวิญญาณธาตุ เป็น ปัจจัยแก่ กิริยามโนวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 405
๓. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ ปัญจวิญญาณ, ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ เหมือนกับนิสสยปัจจัยในปัจจยวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 406
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๓๗๔] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
สุขทางกาย เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.
ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ โภชนะ เป็น ปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ เป็นปัจจัย แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลอาศัยสุขทางกายแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
บุคคลอาศัยทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ โภชนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 407
สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ เป็นปัจจัยแก่ ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.
๓. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลอาศัยศรัทธา แล้วให้ทาน ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา แล้วยังตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน ฯลฯ ย่อมเสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูล.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 408
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ แล้วยังตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน ฯลฯ ย่อมเสวยทุกข์มีการ แสวงหาเป็นมูล.
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
กุศล และอกุศลกรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๓๗๕] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
พิจารณาจักขุ ฯลฯ กายะ ฯลฯ รูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม คันธะ โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ฯลฯ เมื่อกุศลและอกุศล ดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
รูปายตนะ ที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ คันธายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 409
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
จักษุ ฯลฯ กายะ ฯลฯ รูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม คันธะ รสะ โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปที่เป็นอุปาทินนธรรม ด้วยทิพยจักษุ.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๓. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
รูปทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ สัททะ ฯลฯ โผฏฐัพพะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปที่เป็นอนุปาทินนธรรม ด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วย ทิพโสตธาตุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 410
๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วยอํานาจของปุเรชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นรูปทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ คันธะ ฯลฯ โผฏฐัพพะโดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศล และอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
รูปายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ สัททายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย.
๕. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย แก่อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
คือ รูปายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม และจักขายตนะ เป็นปัจจัย แก่จักขุวิญญาณ, สัททายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และกายายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
รูปายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 411
๖. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย แก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
คือ รูปายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๓๗๖] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย อํานาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย แก่กายนี้ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย แก่กายนี้ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๓. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และ อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ
๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 412
๕. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ
๖. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๓๗๗] ๑. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๓๗๘] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 413
๓. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และ อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๕. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๑๔. วิปากปัจจัย
[๓๗๙] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย อำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ
ในธรรมที่มีอุปาทินนธรรมเป็นมูล มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)
๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 414
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๑๕. อาหารปัจจัย
[๓๘๐] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็น อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็น อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๓. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และ อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 415
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็น อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
กวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็น อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๕. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ กวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็น อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๖. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ กวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็น อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๗. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย แก่อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 416
คือ กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็น ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๘. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย แก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ กวฬีการาหารที่เป็นอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๙. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย แก่อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ กวฬีการาหารที่เป็นอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของ อาหารปัจจัย.
๑๖. อินทริยปัจจัย
[๓๘๑] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย อำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 417
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย.
๒. อุปาทินนธรรมเป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ฯลฯ
ในธรรมที่มีอุปาทินนธรรมเป็นมูล มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)
รูปชีวิตินทรีย์ มีเฉพาะนัยต้นเท่านั้น นัยที่เหลือนอกนั้นไม่มี.
๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
[๓๘๒] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย อำนาจของฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
[๓๘๓] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 418
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้ง หลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 419
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๓. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และ อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอนุปาทินนธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๕. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 420
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอนุปาทินนธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๖. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรมนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย,
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๓๘๔] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ
ฯลฯ
บทที่ย่อไว้ พึงจำแนกให้ครบถ้วน.
๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ
บทที่ย่อไว้ พึงให้พิสดาร.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 421
๓. อุปาทินธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และ อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ
ฯลฯ
บทที่ย่อไว้ พึงให้พิสดาร.
๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ
ฯลฯ
บทที่ย่อไว้ พึงจำแนกให้พิสดาร.
๕. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
รูปทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรมที่เกิดก่อน ฯลฯ สัททะ ฯลฯ โผฏ- ฐัพพะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น ครั้นเมื่อกุศล และอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิต ที่เป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
รูปายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 422
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหารที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๖. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหารที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย แก่กายที่เป็นอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรมนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๗. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย แก่อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๔ อย่าง คือที่เป็น ปุเรชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
รูปายตนะที่เป็นอนุปาทินนธรรม และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุ วิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นอนุปาทินนธรรม และกายายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 423
รูปายตนะที่เป็นอนุปาทินนธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของ
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม กวฬีการาหารที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัย แก่กฏัตตารูปทังหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๘. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรมเป็นปัจจัย แก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัย แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม และ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 424
รูปายตนะที่เป็นอนุปาทินนธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
โผฏฐัพพายตนะ และ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม และกวฬีการาหารที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ ปัจจัย.
๙. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย แก่อนุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อาหาระ ได้แก่
กวฬีการาหารที่เป็นอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๓๘๕] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 425
๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๓๘๖] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอํานาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 426
ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๓. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และ อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจ ของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๕. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจ ของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๖. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย.
๗. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย แก่อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วย อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 427
๘. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย แก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วย อํานาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๙. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย แก่อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๓๘๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๘ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ใน โนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๓๘๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ... ใน นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 428
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๓๘๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
อุปาทินนทุกะ จบ