[เล่มที่ 90] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖
พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๖
อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)
เหตุทุกมิจฉัตตติกะ
(๑. เหตุทุกะ ๑๕. มิจฉัตตติกะ)
มิจฉัตตนิยตบทปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย 218
๑. เหตุปัจจัย 666/218
๒. อารัมมณปัจจัย 667/218
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 668/218
ปัจจนียนัย 219
๑. นอธิปติปัจจัย 669/219
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 670/219
อนุโลมปัจจนียนัย 219
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 671/219
ปัจจนียานุโลมนัย 219
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 672/219
มิจฉัตตนิยตบทปัญหาวาระ
อนุโลมนัย 220
๑. เหตุปัจจัย 673/220
๒. อธิปติปัจจัย 674/220
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 675/220
ปัจจนียนัย 221
การยกปัจจัยในปัจจนียะ 676/221
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 677/221
อนุโลมปัจจนียนัย 221
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 678/221
ปัจจนียานุโลมนัย 221
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 679/221
สัมมัตตนิยตบทปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย 222
๑. เหตุปัจจัย 680/222
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 681/222
ปัจจนียนัย 222
๑. นอธิปติปัจจัย 682/222
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 683/223
อนุโลมปัจจนียนัย 223
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 684/223
ปัจจนียานุโลมนัย 223
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 685/223
สัมมัตตนิยตบทปัญหาวาระ
อนุโลมนัย 223
๑. เหตุปัจจัย 686/223
๒. อธิปติปัจจัย 687/224
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 688/224
ปัจจนียนัย 224
การยกปัจจัยในปัจจนียะ 689/224
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 690/225
อนุโลมปัจจนียนัย 225
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 691/225
ปัจจนียานุโลมนัย 225
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 692/225
อนิยตบทปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย 225
๑. เหตุปัจจัย 693/225
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 694/226
ปัจจนียนัย 226
๑. นเหตุปัจจัย 695/226
๒. นอารัมมณปัจจัย 696/226
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 697/227
อนุโลมปัจจนียนัย 227
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 698/227
ปัจจนียานุโลมนัย 227
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 699/227
อนิยตบทปัญหาวาระ
อนุโลมนัย 228
๑. เหตุปัจจัย 700/228
๒. อารัมมณปัจจัย 701/228
๓. อธิปติปัจจัย 702/228
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 703/229
ปัจจนียนัย 229
การยกปัจจัยในปัจจนียะ 704/229
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 705/230
อนุโลมปัจจนียนัย 230
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 706/230
ปัจจนียานุโลมนัย 230
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 707/230
อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 90]
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 218
เหตุทุกมิจฉัตตติกะ
(๑. เหตุทุกะ ๑๕. มิจฉัตตติกะ)
มิจฉัตตนิยตบทปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๖๖๖] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)
๔. มิจฉัตตนิยตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓วาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖)
๗. มิจฉัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ และมิจฉัตตนิยตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)
๒. อารัมมณปัจจัย
[๖๖๗] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๖๖๘] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 219
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียนัย
๑. นอธิปติปัจจัย
[๖๖๙] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๖๗๐] ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๖๗๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๖๗๒] เพราะนอธิปติปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงให้พิสดารเหมือนปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 220
มิจฉัตตนิยตบทปัญหา วาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๖๗๓] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่มิจ- ฉัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ.
๒. อธิปติปัจจัย
[๖๗๔] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เป็นปัจจัยแก่มิจ- ฉัตตนิยตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ.
การนับจำนวนวาระในอธิปติปัจจัย
[๖๗๕] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ใน สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 221
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๖๗๖] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่มิจ- ฉัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๖๗๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
ฯลฯ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๖๗๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๖๗๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ อนุโลมนัยก็ดี ปัจจนียนัยก็ดี อนุโลมปัจจนียนัยก็ดี ปัจจนียานุโลมนัยก็ดี แห่งปัญหาวาระ ในกุสลติกะท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 222
สัมมัตตนิยตบทปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๖๘๐] ๑. สัมมัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยสัมมัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)
๔. สัมมัตตนิยตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยสัมมัตตนิยตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖)
๗. สัมมัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยสัมมัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ และสัมมัตตนิยตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๖๘๑] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียนัย
๑. นอธิปติปัจจัย
[๖๘๒] ๑. สัมมัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยสัมมัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 223
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๖๘๓] ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๖๘๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ... ฯลฯ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๖๘๕] เพราะนอธิปติปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ... ฯลฯ สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงให้พิสดารเหมือนปฏิจจวาระ.
สัมมัตตนิยตบทปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๖๘๖] ๑. สัมมัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 224
๒. อธิปติปัจจัย
[๖๘๗] ๑. สัมมัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่สัม มัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)
๔. สัมมัตตนิยตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ วาระที่ (๔ - ๕ - ๖)
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๖๘๘] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ใน สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๖๘๙] ๑. สัมมัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรมที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 225
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๖๙๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
ฯลฯ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๖๙๑] เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๖๙๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ อนุโลมนัยก็ดี ปัจจนียนัยก็ดี อนุโลมปัจจนียนัยก็ดี ปัจจนียานุโลมนัยก็ดี แห่งปัญหาวาระ ในกุสลติกะ ท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น.
อนิยตบทปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๖๙๓] ๑. อนิยตธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยอนิยตธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)
๔. อนิยตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยอนิยตธรรมที่ไม่ใช่ เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 226
๗. อนิยตธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยอนิยตธรรมที่เป็นเหตุ และอนิยตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๖๙๔] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๖๙๕] ๑. อนิยตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยอนิยตธรรมที่ไม่ใช่ เหตุ เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
๒. อนิยตธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยอนิยตธรรมที่ไม่ใช่ เหตุ เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๖๙๖] ๑. อนิยตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยอนิยตธรรมที่เป็น เหตุ เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
๒. อนิยตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยอนิยตธรรมที่ไม่ใช่ เหตุ เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
๓. อนิยตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยอนิยตธรรมที่เป็น เหตุ และอนิยตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 227
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๖๙๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในน ฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ. ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโน วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๖๙๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๖๙๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ... ฯลฯ สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงให้พิสดารเหมือนปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 228
อนิยตบทปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๗๐๐] ๑. อนิยตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๗๐๑] ๑. อนิยตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ.
๓. อธิปติปัจจัย
[๗๐๒] ๑. อนิยตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)
๔. อนิยตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ที่ไม่ใช่เหตุ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 229
๗. อนิยตธรรมที่เป็นเหตุ และอนิยตธรรมที่ไม่ใช่ เหตุ เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรมที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๗๐๓] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ. ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิ- ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๗๐๔] ๑. อนิยตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 230
การนับจำนวนวาระ ในปัจจนียะ
[๗๐๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
ฯลฯ
อนุโลมปัจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๗๐๖] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๗๐๗] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ อนุโลมนัยก็ดี ปัจจนียนัยก็ดี อนุโลมปัจจนียนัยก็ดี ปัจจนียานุโลมนัยก็ดี แห่งปัญหาวาระ ในกุสลติกะ ท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น.
เหตุทุกมิจฉัตตติกะ จบ