[เล่มที่ 30] พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค เล่ม ๕ ภาค ๑ - หนาที่ 457
๑๐. ทุติยเสทกสูตร
วาดวยกายคตาสติ
[๗๖๓] ขาพเจาไดสดับมาแลวอยางนี้ :-
สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคเจาประทับอยู ณ นิคมของชาวสุมภะ ชื่อ เสทกะ ในสุมภชนบท ณ ที่นั้นแล พระผูมีพระภาคเจาตรัสเรียกภิกษุ ทั้งหลายวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหลานั้นทูลรับพระผูมีพระภาคเจาแลว พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสพระดํารัสนี้วา
[๗๖๔] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนหมูมหาชนไดทราบขาว วา มีนางงามในชนบทๆ พึงประชุมกัน. ก็นางงามในชนบทนั้น แสดงได ดีในการฟอนรํา แสดงไดดียิ่งในการขับรอง หมูมหาชนไดทราบขาววา นางงามในชนบทจะฟอนรําขับรอง พึงประชุมกันยิ่งขึ้นกวาประมาณ. ครั้งนั้น บุรุษผูอยากเปนอยู ไมอยากตาย ปรารถนาความสุข เกลียดทุกข พึงมากลาว กะหมูมหาชนนั้นอยางนี้วา ดูกอนบุรุษผูเจริญ ทานพึงนําภาชนะน้ํามันอัน เต็มเปยมนี้ไปในระหวางที่ประชุมใหญกับนางงามในชนบท และจักมีบุรุษ เงื้อดาบตามบุรุษผูนําหมอน้ํามันนั้นไปขางหลังๆ บอกวา ทานจักทําน้ํามัน นั้นหกแมหนอยหนึ่งในที่ใด ศีรษะของทานจักขาดตกลงไปในที่นั้นทีเดียว ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจะสําคัญความขอนั้นเปนไฉน บุรุษผูนั้น จะไมใสใจภาชนะน้ํามันโนน แลวพึงประมาทในภายนอกเทียวหรือ ภิกษุทั้ง หลายกราบทูลวา ไมเปนอยางนั้น พระเจาขา
[๗๖๕] พ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เราทําอุปมานี้ เพื่อใหเขาใจเนื้อ ความนี้ชัดขึ้น เนื้อความในขอนี้มีอยางนี้แลคําวาภาชนะน้ํามันอันเต็มเปยม เปนชื่อของกายคตาสติ
[๗๖๖] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแหละ เธอทั้งหลายพึงศึกษาอยางนั้นวา กายคตาสติ จักเปนของอันเราเจริญแลว กระทําใหมากแลว กระทําใหเปนดังยาน กระทําใหเปนที่ตั้ง กระทําไมหยุด สั่งสมแลว ปรารภ ดีแลว ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายพึงศึกษาอยางนี้แล
จบ ทุติยเสทกสูตรที่ ๑๐
[เล่มที่ 30] พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค เล่ม ๕ ภาค ๑ - หนาที่ 458
อรรถกถาทุติยเสทกสูตร
ในสูตรที่ ๑๐. คําวา นางงามในชนบท หมายถึง นางที่งามที่สุด ในชนบท ซึ้งเวนจากโทษประจําตัว ๖ อยาง แลวประกอบดวยความงาม ๕ อยาง. ก็เพราะนางนั้นไมสูงนัก ไมเตี้ยนัก ไมผอมนักไมอวนนัก ไมดํานัก ไมขาวนัก ผิวพรรณแมจะไมถึงทิพย แตก็เกินผิวพรรณมนุษยดวยกัน ฉะนั้น จึงจัดวาปราศจากโทษประจําตัว ๖ อยาง. และเพราะประกอบดวยความงามเหลานี้ คือผิวงาม เนื้องาม เล็บงาม * (นหารุกลฺยาณ) กระดูกงาม วัยงาม จึงชื่อวา ประกอบดวยความงาม ๕ อยาง.
นางไมตองใชแสงสวางจรมาเลย ดวยแสงสวาง ประจําตัวของตนนั่นแหละ ก็ทําใหสวางในที่มีระยะ ๑๒ ศอก เปนผิวที่เหมือน กับดอกประยงค หรือเหมือนกับทองคํา นี้เปนความงามแหงผิวของนาง. สวนมือเทาทั้ง ๔ และริมฝปากของนางนั้นเลา ก็คลายกับทาดวยชาด เหมือน แกวประพาฬแดงหรือผากัมพลแดง นี้คือความงามแหงเนื้อของนาง. สวนกลีบ เล็บทั้ง ๒๐ นั้นเลา ในทีที่ไมพนจากเนื้อ ก็คลายกับเอาชาดมาทาไว ที่พน จากเนื้อแลว ก็เหมือนกับธารน้ํานม นี้คือความงามแหงเล็บ * ของนาง. ที่ฟน ๓๒ ซี่ ซึ่งงอกขึ้นมานั่นเลา ก็ปรากฏคลายเอาเพชรที่เจียระไนแลวมาเรียงเปน แถวไว นี้คือความงามแหงกระดูกของนาง
และตอใหมีอายุถึง ๑๒๐ ป ก็ยัง สาวพริ้งเหมือนอายุแค ๑๖ ป ผมไมมีหงอกเลย นี้ คือความงามแหงวัยของนาง. สําหรับในคําวา มีกระแสเสียงไพเราะอยางยิ่ง นี้หมายความวา กระแสเสียงไหลเอื่อยไป กระแสเสียงนั้นไพเราะอยางยิ่ง ที่ชื่อวา มีกระแส เสียงไพเราะอยางยิ่ง ก็เพราะนางมีกระแสเสียงที่ไพเราะอยางยิ่งนั้น.
มีคํา ที่ทานขยายความวา นางมีความประพฤติสูงสุด มีกิริยาประเสริฐ ในการรํา และการรอง ยอมรําทํารําที่สูงที่สุด หรือถาจะรอง ก็รองแตเพลงชั้นสูงที่สุด เทานั้น. คําที่เหลือในทุกบท มีใจความตื้นทั้งนั้น. ก็และวิปสสนาแรกเริ่ม เปนอันตรัสไวแลวในสูตรทั้งสองนี้ ดวยประการฉะนี้แล.
จบอรรถกถาทุติยเสกทกสูตรที่ ๑๐
จบอรรถกถานาฬันทวรรคที่ ๒
* คําวา นหารุกลฺยาณ นี้ อรรถกถาอธิบายเรื่องเล็บ ไมไดอธิบายเรื่องเอ็นเลย จึงแปลวา เล็บงาม ไมใชเอ็นงามตามศัพท อรรถกถาอุทาน นันทวรรค นันทสูตรที่ ๒ หนา ๒๑๒ แกวา ฉวิกลฺยาณ ม สกลฺยาณ นขกลฺยาณ (เล็บงาม) อฏิกลฺยาณ วยกลฺยาณ