[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕
พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๕
อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)
๙๗. นิยยานิกทุกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย 920
๑. เหตุปัจจัย 813/920
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 814/921
ปัจจนียนัย 921
๑. นเหตุปัจจัย 815/921
๒. นอารัมมณปัจจัย 922
๓. นอธิปติปัจจัย 816/922
๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๖. นอัญญมัญญปัจจัย 923
๗. นปุเรชาตปัจจัย 817/923
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 818/924
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย 925
๑. เหตุปัจจัย 819/925
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 820/926
ปัจจนียนัย 927
๑. นเหตุปัจจัย 821/927
๒. นอารัมมณปัจจัย 822/927
๓. นอธิปติปัจจัย 823/927
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 824/928
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย 929
๑. เหตุปัจจัย 825/929
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 826/929
ปัจจนียนัย 929
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 827/929
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย 930
๑. เหตุปัจจัย 828/930
๒. อารัมมณปัจจัย 829/931
๓. อธิปติปัจจัย 830/932
๔. อนันตรปัจจัย 831/935
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 935
๙. อุปนิสสยปัจจัย 832/936
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 833/938
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๒. อาเสวนปัจจัย 938
๑๓. กัมมปัจจัย 834/938
๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 939
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 835/940
ปัจจนียนัย 941
การยกปัจจัยในปัจจนียะ 836/941
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 837/942
อนุโลมปัจจนียนัย 942
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 838/942
ปัจจนียานุโลมนัย 943
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 839/943
อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 920
๙๗. นิยยานิกทุกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๘๑๓] ๑. นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยยานิกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.
๒. อนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม.
๓. นิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยยานิกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.
๔. อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 921
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
๕. อนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.
การนับจํานวนวาระในอนุโลม
[๘๑๔] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๘๑๕] ๑. อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 922
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๒. นอารัมมณปัจจัย
ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.
๓. นอธิปติปัจจัย
[๘๑๖] ๑. นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม.
๒. อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 923
๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๖. นอัญญมัญญปัจจัย
ฯลฯ เพราะนอนันตรปัจจัย
ฯลฯ เพราะนสมนันตรปัจจัย
ฯลฯ เพราะนอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ
๗. ปุเรชาตปัจจัย
[๘๑๗] ๑. นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยยานิกธรรม ฯลฯ
๒. อนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม.
๓. อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม.
ในปฎิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.
๔. อนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม และ อนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 924
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๘๑๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สหชาตวาระก็ดี พึงกระทำ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 925
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๘๐๙] ๑. นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
๒. อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ตลอดถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๓. นิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๔. นิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม อาศัย อนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม อาศัยหทยวัตถุ จิตตสมุฏ- ฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๕. นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 926
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยยานิกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์๒.
๖. อนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม และ อนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.
๗. นิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม อาศัย นิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยยานิกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๘๒๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ใน วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 927
ปัจจนียนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๘๒๑] ๑. อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ ฯลฯ
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๘๒๒] ๑. อนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.
๓. นอธิปติปัจจัย
[๘๒๓] ๑. นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม.
๒. อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 928
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ฯลฯ ตลอดถึง อสัญญสัตว์.
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยานิกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๓. นิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๔. นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น นิยยานิกธรรมและหทยวัตถุ.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๘๒๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 929
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๘๒๕] ๑. นิยยานิกธรรม เจือกับนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยยานิกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.
๒. อนิยยานิกธรรม เจือกับอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
การนับจํานวนวาระในอนุโลม
[๘๒๖] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ใน ปัจจัยทั้งปวง มี ๒ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๘๒๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 930
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๘๒๘] ๑. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)
เหตุทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)เหตุทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๔. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 931
๒. อารัมมณปัจจัย
[๘๒๙] ๑. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นนิยยานิกธรรม ด้วย เจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย.
๒. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือบุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณา ซึ่งกุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
พิจารณากุศลกรรมที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
ออกจากฌาน ฯลฯ
พระอริยะทั้งหลายพิจารณาผล พิจารณานิพพาน.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่ผล, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 932
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่ เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๓. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๓. อธิปติปัจจัย
[๘๓๐] ๑. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 933
อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๒. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่นแล้ว พิจารณา.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)
อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๔. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำ กุศลกรรมนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา ย่อมยินดี ย่อม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 934
เพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
พิจารณากุศลกรรมที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯออกจาnฌาน ฯลฯ
พระอริยะทั้งหลายกระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่ผล ด้วยอำนาจของ อธิปติปัจจัย.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ จักษุเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๕. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 935
๔. อนันตรปัจจัย
[๘๓๑] ๑. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๒. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, ผล เป็นปัจจัยแก่ผล, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ, เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออก จากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๓. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 936
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๘๓๒] ๑. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๒. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลาย เข้าไปอาศัยมรรคแล้ว ยังสมาบัติที่ยังไม่เกิด ให้ เกิดขึ้น, เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว, พิจารณาเห็นสังขารทั้งหลาย โดยความ เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ
มรรค เป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา, แก่ธัมมปฏิสัมภิทา, แก่นิรุตติ- ปฏิสัมภิทา, แก่ปฏิภาณปฏิสัมภิทา, แก่ฐานาฐานโกสัลละ ของพระอริยะ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๓. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 937
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอนิยยานิกธรรม แล้วให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ยังฌาน ยังวิปัสสนา ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติ ให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอนิยยานิกธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ความปรารถนา อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติ ให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธาที่เป็นอนิยยานิกธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ฯลฯ แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ ทางกาย แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๔. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ บริกรรมแห่งจตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 938
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๘๓๓] ๑. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พึงกระทำเหมือนอรูปทุกะ.
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ๑๒. อาเสวนปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๘๓๔] ๑. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๒. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 939
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย. พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)
เจตนาที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๔. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ฯลฯ
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๔ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 940
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงกระทำเหมือนอรูปทุกะ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ.
พึงกระทำเหมือนอรูปทุกะ.
หลักจำแนกวาระ มีบทต่างกันนั้น.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
การนับจํานวนวาระในอนุโลม
[๘๓๕] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ใน กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิ- ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 941
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๘๓๖] ๑. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๒. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย.
๓. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม และ อนิยยานิกธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
๔. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อํานาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหาร ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๕. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๖. นิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ นิยยานิกธรรม.
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 942
๗. นิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนิยยานิกธรรม.
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๘๓๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ใน ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ใน นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ใน โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๘๓๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 943
ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิ- ปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.
ปัจจนียานุโลม
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๘๓๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ อนุโลมมาติกาพึงให้พิสดาร ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
นิยยานิกทุกะ จบ