๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ - อนุโลมติกปัฏฐาน
โดย บ้านธัมมะ  23 ก.พ. 2565
หัวข้อหมายเลข 42226

[เล่มที่ 87] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๓

อนุโลมติกปัฏฐาน

๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 713

๑. เหตุปัจจัย 713

๒. อารัมมณปัจจัย 723

๓. อธิปติปัจจัย 723

๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย 725

๖. สหชาตปัจจัย 725

๗. อัญญมัญญปัจจัย 727

๘. นิสสยปัจจัยฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย 729

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 729

ปัจจนียนัย 730

๑. นเหตุปัจจัย 730

๒. นอารัมมณปัจจัย 732

๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๖. นอัญญมัญญปัจจัย 735

๗. นอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย 735

๑๑. นกัมมปัจจัย ฯลฯ ๑๔. นอินทริยปัจจัย 736

๑๕. นฌานปัจจัย 737

๑๖. นมัคคปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย 737

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 738

อนุโลมปัจจนียนัย 738

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 738

ปัจจนียานุโลมนัย 738

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 738

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 740

๑. เหตุปัจจัย 740

๒. อารัมมณปัจจัย 741

๓. อธิปติปัจจัย 743

๔. อนันตรปัจจัย 745

๕. สมนันตรปัจจัย 746

๖. สหชาตปัจจัยฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 746

๙. อุปนิสสยปัจจัย 746

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 748

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 750

๑๒. อาเสวนปัจจัย 751

๑๓. กัมมปัจจัย 752

๑๔. วิปากปัจจัย 753

๑๕. อาหารปัจจัย 754

๑๖. อินทริยปัจจัย 755

๑๗. ฌานปัจจัยฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 757

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 757

๒๑. อัตถิปัจจัย 759

การนับจํานวนวาระในอนุโลม สุทธมูลกนัย 765

เหตุสภาคะ 766

เหตุฆฏนา 766

ปัจจนียนัย 767

การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ 767

การนับจํานวนในปัจนียะ สุทธมูลกนัย 772

ทุมูลกนัย 773

ติมูลกนัย 773

อนุโลมปัจจนียนัย 774

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 774

เหตุฆฏนา 774

ปัจจนียานุโลมนัย 775

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 775

อรรถกถา สนิทัสสนติกะ 776


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 87]



ความคิดเห็น 1    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 713

๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๑๗๕] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตปัจจัย

คือ มหาภูตรูป ๒ (๑) อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ.

๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม.

รูปาตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ.

๓. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย


(๑) เว้นอาโปธาตุ.


ความคิดเห็น 2    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 714

คือ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม.

อาโปธาตุ อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยโผฏฐัพพายตนะ.

๔. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็น อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม.

รูปายตนะ อาโปธาตุ อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยโผฏฐัพพายตนะ.

๕. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ มหาภูตรูป ๒ และอาโปธาตุ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม มหาภูตรูป ๑ และอาโปธาตุ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม.

จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาโปธาตุ อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยโผฏฐัพพายตนะ.

๖. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฎิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 3    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 715

คือ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม.

รูปายตนะ จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ.

๗. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม.

รูปายตนะ จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาโปธาตุ อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยโผฏฐัพพายตนะ.

[๒๑๗๖] ๘. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.


ความคิดเห็น 4    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 716

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ, อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยอาโปธาตุ.

๙. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.

รูปายตนะ อาศัยอาโปธาตุ.

๑๐. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.

จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาศัยอาโปธาตุ.


ความคิดเห็น 5    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 717

๑๑. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ที่เป็นสนิทสัสนอัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.

รูปายตนะ อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยอาโปธาตุ.

๑๒. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฎิธรรม อาศัยอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.

จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยอาโปธาตุ.


ความคิดเห็น 6    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 718

๑๓. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และ อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทสัสนอัปปฏิฆธรรม, จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.

รูปายตนะ จักขายตนะ รสายตนะอาศัยอาโปธาตุ.

๑๔. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, อนิทัสสนสัปปฏิฆ- ธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทสัสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทสัสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, อนทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.


ความคิดเห็น 7    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 719

รูปายตนะ จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยอาโปธาตุ.

[๒๑๗๗] ๑๕. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.

รูปายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.

๑๖. อนิทัสสนสัปปฎิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฎิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และ อาโปธาตุ, มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒ และอาโปธาตุ.


ความคิดเห็น 8    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 720

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ,

จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.

๑๗. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ และมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.

อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัย โผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.

๑๘. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.


ความคิดเห็น 9    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 721

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.

รูปายตนะ อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และ อาโปธาตุ.

๑๙. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และ อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็น อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.

จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.


ความคิดเห็น 10    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 722

๒๐. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และ อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.

รูปายตนะ จักขายตนะ รสายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.

๒๑. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.


ความคิดเห็น 11    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 723

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.

รูปายตนะ จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๒๑๗๘] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ. ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๓. อธิปติปัจจัย

[๒๑๗๙] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย


ความคิดเห็น 12    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 724

คือ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็น อนิทสัสนสัปปฏิฆธรรม.

พึงจำแนกเป็น ๗ วาระ (วาระที่ ๑- ๗) ด้วยเหตุนี้ ในอนิทัสสนสัปปฏิฆมูลกะ ปริโยสานบทไม่มี.

[๒๑๘๐] ๘. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่ เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.

พึงจำแนกเป็น ๗ วาระ (วาระที่ ๘ - ๑๔) ในอนิทัสสนอัปปฏิฆมูลกะ ด้วยเหตุนี้ ปริโยสานบทไม่มี.

[๒๑๘๑] ๙. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย จิตตสมุฏฐานรูป


ความคิดเห็น 13    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 725

ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.

พึงจำแนกเป็นแม้ ๗ วาระ (วาระที่ ๑๕๒๑) ด้วยเหตุนี้

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๕. สมนันตรปัจจัย

[๒๑๘๒] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เหมือนกับอารัมมณปัจจัย.

๖. สหชาตปัจจัย

[๒๑๘๓] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย

คือ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒, จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ. พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

พึงจำแนกเป็น ๗ วาระ (วาระที่ ๑ - ๗) ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆมูลกะ ด้วยเหตุนี้.


ความคิดเห็น 14    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 726

[๒๑๘๔] ๘. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปทารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.

อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยอาโปธาตุ.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.

พึงกระทำเป็น ๗ วาระ (วาระที่ ๘ - ๑๔) ในอนิทัสสนอัปปฏิฆมูลกะ ด้วยเหตุนี้.

[๒๑๘๕] ๑๕. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย


ความคิดเห็น 15    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 727

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทสัสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.

รูปายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.

พาหิรรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ

พึงแจกเป็น ๗ วาระ (วาระที่ ๑๕ - ๒๑) ด้วยเหตุนี้.

๗. อัญญมัญญปัจจัย

[๒๑๘๖] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย

คือ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒.


ความคิดเห็น 16    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 728

๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย.

คือ อาโปธาตุ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม.

๓. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย

คือ มหาภูตรูป ๒ และอาโปธาตุ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็น อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ และอาโปธาตุ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

[๒๑๘๗] ๔. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๕. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย

คือ มหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.


ความคิดเห็น 17    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 729

[๒๑๘๘] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะ อัญญมัญญปัจจัย

คือ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปรธาตุ, มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒ และอาโปรธาตุ.

๘. นิสสยปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย

[๒๑๘๙] อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนิสสยปัจจัย, เพราะอุปนิสสยปัจจัย, เพราะปุเรชาตปัจจัย, เพราะอาเสวนปัจจัย, เพราะกัมมปัจจัย, เพราะวิปากปัจจัย, เพราะอาหารปัจจัย, เพราะอินทริยปัจจัย, เพราะฌานปัจจัย, เพราะมัคคปัจจัย, เพราะสัมปยุตตปัจจัย, เพราะวิปปยุตตปัจจัย, เพราะอัตถิปัจจัย, เพราะนัตถิปัจจัย, เพราะวิคตปัจจัย, เพราะอวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๑๙๐] ในเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน


ความคิดเห็น 18    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 730

ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๒๑๙๑] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม.

จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.


ความคิดเห็น 19    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 731

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

ในอนิทัสสนสัปปฏิฆมูลกะ พึงแจกแม้ ๗ วาระ (วาระที่ ๑๗) ด้วยเหตุนี้.

[๒๑๙๒] ๘. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.

อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยอาโปธาตุ.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็น อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.


ความคิดเห็น 20    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 732

พึงแจก ๗ วาระ (วาระที่ ๘ - ๑๔) ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆมูลกะ ด้วยเหตุนี้.

[๒๑๙๓] ๑๕. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.

รูปายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.

ผู้มีปัญญาพึงยัง ๗ วาระ (วาระที่ ๑๕ - ๒๑) ให้พิสดารด้วยเหตุนี้.

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๒๑๙๔] ๒. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย


ความคิดเห็น 21    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 733

คือ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม.

จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

พึงยัง ๗ วาระ (วาระที่ ๑ - ๗) ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆมูลกะ ให้พิสดารด้วยเหตุนี้.

[๒๑๙๕] ๘. อนิทัสสนอัปปฎิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.


ความคิดเห็น 22    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 734

อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยอาโปธาตุ.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.

พึงยังแม้ ๗ วาระ (วาระที่ ๘ - ๑๔) ในอนิทัสสนอัปปฏิฆมูลกะ ให้พิสดารด้วยเหตุนี้.

[๒๑๙๖] ๑๕. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.

รูปายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.


ความคิดเห็น 23    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 735

ส่วนอสัญญสัตวทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.

ในฆฏนา พึงแจกทั้ง ๗ วาระ (วาระที่ ๑๕ - ๒๑) ด้วยเหตุนี้.

๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๖. นอัญญมัญญปัจจัย

[๒๑๙๗] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย เหมือนกับ สหชาตปัจจัย.

เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะ นอัญญมัญญปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปฏิฆธรรม.

จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พึงแจกเป็น ๒ วาระ ด้วยเหตุนี้.

๗. นอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย

เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะ นปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย


ความคิดเห็น 24    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 736

๑๑. นกัมมปัจจัย ฯลฯ ๑๔. นอินทริยปัจจัย

ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย.

คือ พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

อุปาทารูปที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม.

พึงแจกกัมมปัจจัยแล้ว กระทำเป็น ๒๑ วาระ ด้วยนกัมมปัจจัยนั่นเอง

ฯลฯ เพราะนวิปากปัจจัย ปฏิสนธิก็ดี กฏัตตารูปก็ดี ไม่มี พึงกระทำในปัญจโวการภพเท่านั้น.

ฯลฯ เพราะนอาหารปัจจัย

คือ พาหิรรูป... อุตุสมุฏฐานรูป... ส่วนอสัญญส่วนทั้งหลาย ฯลฯ

พึงแจก ๒๑วาระ ด้วยเหตุนี้.

ฯลฯ เพราะนอินทริยปัจจัย

คือ พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้ง รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ฯลฯ.

พึงแจกวาระทั้งปวง.


ความคิดเห็น 25    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 737

๑๕. นฌานปัจจัย

เพราะนฌานปัจจัย

คือ พาหิรรูป... ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

พึงแจกทั้ง ๗ วาระ.

[๒๑๙๘] ๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ขันธ์ ๒ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ซึ่งเป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.

พึงแจก ๗ วาระ ด้วยเหตุนี้.

[๒๑๙๙] ๓. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.

พึงแจกทั้ง ๗ วาระ อย่างนี้.

๑๖. นมัคคปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย

เพราะนมัคคปัจจัย เหมือนกับ นเหตุปัจจัย พึงกระทำให้เต็ม โมหะ ไม่มี.

เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย


ความคิดเห็น 26    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 738

พึงใส่ให้เต็ม.

เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๒๐๐] ในเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๒๑ วาระ ใน โนนัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๒๐๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ ฯลฯ โนนวิปากปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๒๒๐๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย


ความคิดเห็น 27    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 739

มี ๒๑ วาระ ฯลฯ ในฌานปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๒๑ วาระ ใน สัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

ปฏิจจวาระ จบ

สหชาตวาระก็ดี ปัจจัยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี เหมือนกับ ปฏิจจวาระ สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำในอรูปภูมิเท่านั้น.


ความคิดเห็น 28    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 740

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๒๐๓] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

[๒๒๐๔] ๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

ในอนิทัสสนอัปปฏิฆมูลกะ พึงแจกเป็น ๗ วาระ ด้วยเหตุนี้.


ความคิดเห็น 29    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 741

๒. อารัมมณปัจจัย

[๒๒๐๕] ๑. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลพิจารณาเห็นรูป โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิญญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมมณปัจจัย.

[๒๒๐๖] ๒. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลพิจารณาจักษุ ฯลฯ กายะ ฯลฯ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

สัททายตนะ เป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.


ความคิดเห็น 30    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 742

[๒๒๐๗] ๓. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้น.

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.

ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณา นิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว พิจารณากิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ.

พิจารณาหทยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ อาโปธาตุ กวฬีการาหาร ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, อากิญจัญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญนาสัญญายตนะ.


ความคิดเห็น 31    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 743

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๒๒๐๘] ๑. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำรูปให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว ครั้นกระทำรูปนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น

[๒๒๐๙] ๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ กายะ เสียง กลิ่น ฯลฯ โผฏฐัพพะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ครั้นกระทำจักษุ เป็นต้นนั้นให้อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

[๒๒๑๐] ๓. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย


ความคิดเห็น 32    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 744

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทำกุศลกรรม นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ.

ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ ออกจากผล ฯลฯ กระทำผลให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำหทยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ อาโปธาตุ กวฬีการาหาร ฯลฯ ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ หทยวัตถุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อม เกิดขึ้น

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๒๒๑๑] ๔. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย


ความคิดเห็น 33    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 745

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

ในอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม พึงแจกอธิปติ ๗ วาระ ด้วยอำนาจของรูปสังคหะ ๓ อย่าง.

๔. อนันตรปัจจัย

[๒๒๑๒] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน

โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค

โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค

มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล

ผล เป็นปัจจัยแก่ผล

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ

เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.


ความคิดเห็น 34    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 746

๕. สมนันตรปัจจัย

[๒๒๑๓] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับ อนันตรปัจจัย.

๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

[๒๒๑๔] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยและอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย พึงกระทำให้ดี เหมือน กับ ปฏิจจวาระ.

ในอัญญมัญญปัจจัย เหมือนกับอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิจจวาระ.

ในนิสสยปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๙.อุปนิสสยปัจจัย

[๒๒๑๕] ๑. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลปรารถนาวรรณสมบัติ ให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ.

วรรณสมบัติ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่ความ ปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.


ความคิดเห็น 35    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 747

[๒๒๑๖] ๒. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลปรารถนาจักษุสมบัติ ฯลฯ กายสมบัติ ฯลฯ สัททสมบัติ ฯลฯ ปรารถนาโผฏฐัพพสมบัติแล้ว ย่อมให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ.

บุคคลเข้าไปอาศัยอุตุ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ฌาน ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ มรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ทำลายสงฆ์.

จักษุสมบัติ ฯลฯ โผฏฐัพพสมบัติ ฯลฯ อุตุ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๒๒๑๗] ๓. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ฌาน ฯลฯ สมาบัติ ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.


ความคิดเห็น 36    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 748

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ราคะ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ฯลฯ โภชนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ศรัทธา ปัญญา ราคะ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ฯลฯ โภชนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา ฯลฯ แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๒๒๑๘] ๑. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[๒๒๑๙] ๒. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาจักษุ ฯลฯ กายะ ฯลฯ เสียง ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.


ความคิดเห็น 37    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 749

สัททายตนะ เป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[๒๒๒๐] ๓. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาหทยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ อาโปธาตุ กวฬีการาหาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[๒๒๒๑] ๔. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย


ความคิดเห็น 38    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 750

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

รูปายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[๒๒๒๒] ๕. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขาตนะ และหทยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[๒๒๒๓] ๖. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

รูปายตนะ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๒๒๒๔] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย


ความคิดเห็น 39    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 751

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

[๒๒๒๕] ๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

พึงแจกเป็น ๗ วาระ อย่างนี้ มีรูปสังคหะ ๓ อย่าง.

๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๒๒๒๖] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจ ของอาเสวนปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน

โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค

โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.


ความคิดเห็น 40    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 752

๑๓. กัมมปัจจัย

[๒๒๒๗] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่ สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๒๒๒๘] ๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่


ความคิดเห็น 41    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 753

เจตนาที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่ เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พึงแจก ๗ วาระ อย่างนี้ ให้เป็น สหชาตะ นานาขณิกะโดยเหตุนี้ มีรูปสังคหะ ๓ อย่าง.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๒๒๒๙] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของ วิปากปัจจัย.

[๒๒๓๐] ๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.


ความคิดเห็น 42    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 754

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.

๗ วาระ พึงให้พิสดารอย่างนี้ ทั้งปวัตติ และปฏิสนธิ.

๑๕. อาหารปัจจัย

[๒๒๓๐] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอิปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

[๒๒๓๒] ๒. อนิทัสสนอัปปฏิธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย


ความคิดเห็น 43    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 755

คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย.

พึงแจก ๗ วาระ ทั้งปวัตติ และปฏิสนธิ อย่างนี้ พึงกระทำกวฬีการาหาร ในวาระแม้ทั้ง ๗.

๑๖. อินทริยปัจจัย

[๒๒๓๓] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

[๒๒๓๔] ๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย


ความคิดเห็น 44    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 756

คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอนิทสัสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

[๒๒๓๕] ๓. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

ทั้งปวัตติ และปฏิสนธิ พึงแจก ๗ วาระ อย่างนี้. พึงกระทำ รูปชีวิตินทรีย์ในที่สุดๆ.


ความคิดเห็น 45    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 757

[๒๒๓๖] ๔. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ จักขุนทรีย์ และจักขุวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ และกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๒๒๓๗] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของณานปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ มัคคปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วย อำนาจของสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๒๒๓๘] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่


ความคิดเห็น 46    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 758

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

[๒๒๓๙] ๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.


ความคิดเห็น 47    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 759

[๒๒๔๐] ๓. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

พึงทำวาระทั้ง ๕ ที่เหลือให้พิสดารอย่างนี้.

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๒๒๔๑] ๑. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาเห็นซึ่งรูป โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.


ความคิดเห็น 48    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 760

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๒๒๔๒] ๒. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๑ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

มหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขายตนะ ฯลฯ แก่รสสายตนะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.

มหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอุตุสมุฏฐานรูป เป็นปัจจัยแก่อุปาทารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ.


ความคิดเห็น 49    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 761

[๒๒๔๓] ๓. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับนิสสยปัจจัยใน ปฏิจจวาระ.

[๒๒๔๔] ๔. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยและอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

มหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย. พึงให้พิสดาร ตลอดถึงอสัญญสัตว์ทั้งหลาย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ กายะ ฯลฯ เสียง ฯลฯ โผฏฐัพพะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๔ วาระ ที่เหลือพึงให้พิสดาร เหมือนกับ สหชาตปัจจัย ในปฏิจจวาระ ซึ่งไม่ทำให้แตกต่างกัน.

[๒๒๔๕] ๘. อนิทัสสอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย


ความคิดเห็น 50    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 762

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ อาโปธาตุ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูปทั้งหลาย ซึ่งเป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ เป็นปัจจัยแก่อินทรีย์ และกวฬีการาหาร ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐาน ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย อาโปธาตุ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ อาโปธาตุ ฯลฯ กวฬีการาหาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.


ความคิดเห็น 51    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 763

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนิสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย, รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็น อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พึงแจก ๖ วาระ (วาระที่ ๙ - ๑๔) ที่เหลืออย่างนี้พึงกระทำ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ อินทริยะ

[๒๒๔๖] ๑๕. สนิทัสสนสัปปฏิธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

รูปายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๒๒๘๗] ๑๖. นิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

คือ ขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลายเป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงกระทำ ตลอดถึงอสัญญาสัตว์ทั้งหลาย.


ความคิดเห็น 52    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 764

[๒๒๔๘] ๑๖. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมและอนิทัสสนอัปปฏิฆ- ธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปฏิฆธรรม ฯลฯ

[๒๒๔๙] ๑๗. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมและอนิทัสสนอัปปฏิฆ- ธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ- ปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม พึงกระทำ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ทั้งหลาย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ และหทยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และหทยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พึงแจกวาระที่เหลือ (วาระที่ ๑๘ - ๒๓)

[๒๒๕๐] ๒๔. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆ- ธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ- ปัจจัย


ความคิดเห็น 53    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 765

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

รูปายตนะ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย.

[๒๒๕๑] ๒๕. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ ได้แก่

รูปายตนะ และจักขายตนะ และจักขุวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

นัตถิปัจจัย และ วิคตปัจจัย เหมือนกับ อนันตรปัจจัย, อวิตปัจจัย เหมือนกับ อัตถิปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

สุทธมูลกนัย

[๒๒๕๒] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย


ความคิดเห็น 54    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 766

มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๘ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๒๕ วาระ.

เหตุสภาคะ

[๒๒๕๓] เพราะเหตุปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ... ในสหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ โนวิปากปัจจัย มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

เหตุฆฏนา

[๒๒๕๔] เพราะปัจจัย ๕ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย นิสสยปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

เพราะปัจจัย ๖ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.

เพราะปัจจัย ๗ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย สัมปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ


ความคิดเห็น 55    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 767

เพราะปัจจัย ๖ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย นิสสยปัจจัย วิปปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

เพราะปัจจัย ๖ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย นิสสยปัจจัย วิปากปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

เพราะปัจจัย ๗ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย วิปากปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.

เพราะปัจจัย ๘ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย วิปากปัจจัย สัมปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.

เพราะปัจจัย ๗ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย นิสสยปัจจัย วิปากปัจจัย วิปปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

เพราะปัจจัย ๘ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย วิปากปัจจัย วิปปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.

พึงนับคณนวาระทั้งหมดอย่างนี้

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ

[๒๒๕๕] ๑. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.


ความคิดเห็น 56    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 768

[๒๒๕๖] ๒. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๓. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๔. อนิทัสสนสัปปฏิธรรมเป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๕. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๖. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๗. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๘. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.


ความคิดเห็น 57    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 769

[๒๒๕๗] ๙. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๑๐. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๑๑. อนิทัสสนอัปปฏิธรรมเป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๑๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๑๓. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาต-


ความคิดเห็น 58    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 770

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๑๔. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๑๕. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

[๒๒๕๘] ๑๖. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิธรรม ฯลฯ

อย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ

[๒๒๕๙] ๑๗. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมและอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.


ความคิดเห็น 59    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 771

๑๘. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๑๙. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

๒๐. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๒๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๒๒. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๒๓. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

[๒๒๖๐] ๒๔. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ


ความคิดเห็น 60    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 772

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ.

[๒๒๖๑] ๒๕. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

สุทธมูลกนัย

[๒๒๖๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ใน นอัญญมัญญปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๒๓ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๒


ความคิดเห็น 61    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 773

วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ทุมูลกนัย

[๒๒๖๓] เพราะนเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒๒ วาระ มีอธิบายเหมือนข้อความตามบาลีตอนต้น... ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ติมูลกนัย

[๒๒๖๔] เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ในอธิหติปัจจัยมีมี ๒๒ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒๒ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ


ความคิดเห็น 62    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 774

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๒๒๖๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ โนนสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ โนนอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในปัจจัย ทั้งปวง มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

เหตุฆฏนา

[๒๒๖๖] เพราะปัจจัย ๕ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย นิสสยปัจจัย อัตถิปัจจัย อวิคตปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ใน นอนันตรปัจจัย มี ๗ วาวะ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ นโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

[๒๒๖๗] เพราะปัจจัย ๖ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย อัตถิปัจจัย อวิคตปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ... ในปัจจัยทั้งปวง มี ๑ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ


ความคิดเห็น 63    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 775

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๒๒๖๘] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตต ปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๘ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๒๕ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลม จบ

ปัญหาวาระ จบ

สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ที่ ๒๒ จบ

อนุโลมติกปัฏฐาน จบ


ความคิดเห็น 64    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 776

อรรถกถาสนิทัสสนติกะ

แม้ใน สนิทัสสนติกะ ผู้ศึกษาพึงถือเอาเนื้อความด้วยอำนาจแห่งบาลีที่เหมือนกัน ก็ในติกะนี้ผู้ศึกษาพึงย่อวาระทั้งหลายที่มาแล้วในพระบาลี เทียบเคียงในปัจจัยทั้งหลายที่เทียบเคียงกัน โดยนัยที่กล่าวไว้แล้ว พึงทราบวิธี นับแล.

วรรณนาแห่งติกปักฐานในธัมมานุโลม จบ