๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ
โดย บ้านธัมมะ  28 ก.พ. 2565
หัวข้อหมายเลข 42307

[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๕

อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)

๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 237

๑. เหตุปัจจัย 224/237

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 225/240

ปัจจนียนัย 241

๑. นเหตุปัจจัย 226/241

๒. นอารัมมณปัจจัย 227/244

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 228/245

อนุโลมปัจจนียนัย 246

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 229/246

ปัจจนียานุโลมนัย 246

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 230/246

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 247

๑. เหตุปัจจัย 231/247

๒. อารัมมณปัจจัย 232/249

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 233/251

ปัจจนียนัย 251

๑. นเหตุปัจจัย 234/251

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 235/252

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 253

๑. เหตุปัจจัย 236/253

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 237/254

ปัจจนียนัย 254

๑. นเหตุปัจจัย 238/254

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 239/255

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 256

๑. เหตุปัจจัย 240/256

๒. อารัมมณปัจจัย 241/256

๓. อธิปติปัจจัย 242/257

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๙. อุปนิสสยปัจจัย 243/258

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 244/259

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๒. อาเสวนปัจจัย 245/259

๑๓. กัมมปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 246/260

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 247/260

๒๑. อัตถิปัจจัย 248/262

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 249/267

ปัจจนียนัย 268

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 250/268

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 251/270

อนุโลมปัจจนียนัย 270

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 252/270

ปัจจนียานุโลมนัย 271

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 253/271


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]



ความคิดเห็น 1    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 237

๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๒๔] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ จิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม.

๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒, จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.


ความคิดเห็น 2    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 238

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต, หทยวัตถุ อาศัยจิต, จิต อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๕. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย หทยวัตถุ.

๖. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูป อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.


ความคิดเห็น 3    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 239

๗. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ - สมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และ จิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม และจิต.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.


ความคิดเห็น 4    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 240

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน ธรรม และหทยวัตถุ.

๙. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๒๕] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นิสสยปัจจัย ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ


ความคิดเห็น 5    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 241

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๒๒๖] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ซึ่ง เป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒, จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย ธรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 6    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 242

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต, หทยวัตถุ อาศัยจิต, จิต อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๕. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิตซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยจิต ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๖. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิตซึ่งเป็น อเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูป อาศัยจิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.


ความคิดเห็น 7    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 243

๗. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ซึ่ง เป็นอเหตุกะ และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และจิต.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และจิต.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต.


ความคิดเห็น 8    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 244

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ.

๙. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๒๒๗] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.


ความคิดเห็น 9    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 245

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต, หทยวัตถุ อาศัยจิต.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน. ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๒๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๖ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.


ความคิดเห็น 10    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 246

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๒๒๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๒๓๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ฯลฯ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ

สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.


ความคิดเห็น 11    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 247

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๓๑] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ฯลฯ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓) เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

จิต อาศัย หทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงมหาภูตรูป.

๕. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย จิต.

ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย หทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.

๖. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 12    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 248

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังฏฐสมุฏฐานธรรม และ จิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.

๗. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยขันธ์ ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต.

จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็น จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๓ นัย.

๘. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.


ความคิดเห็น 13    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 249

ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๒๓๒] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ อาศัยกายายตนะ.

จิต อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ อาศัยกายายตนะ.

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย จิต.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย หทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.


ความคิดเห็น 14    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 250

๔. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏ- ฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ อาศัยกายายตนะ.

จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ มี ๑ นัย.

๕. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ, จักขายตนะ และจักขุวิญญาณ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำ ๒ นัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน ธรรม เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย


ความคิดเห็น 15    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 251

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ.

จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ

ในปฏิสนธิขณะ มี ๑ นัย.

๗. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสุมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ มี ๑ นัย.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๓๓] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๒๓๔] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 16    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 252

พึงกระทำ ๙ วาระ ดังกล่าวมาแล้ว ในปัจจัยวาระ ก็พึงทำปัญจ- วิญญาณด้วย, มีทั้ง ๓ นัย, โมหะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๓๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัยมี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัยมี ๑ วาระ ในนฌาน ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.


ความคิดเห็น 17    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 253

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๓๖] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เจือกับจิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เจือกับ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต เจือกับขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เจือกับจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิต เจือกับขันธ์ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ


ความคิดเห็น 18    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 254

๔. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เจือกับจิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหคุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๓๗] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๒๓๘] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เจือกับจิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย ฯลฯ มีทั้ง ๓ วาระ, โมหะ.


ความคิดเห็น 19    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 255

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๓๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.


ความคิดเห็น 20    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 256

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๔๐] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงการทำมูล (วาระที่ ๒)

เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, จิต และรูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๒๔๑] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย


ความคิดเห็น 21    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 257

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒).

จิต ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓).

เพราะปรารภจิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรน เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ พิจารณา นิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ

อารัมมณปัจจัยในจิตตสหภุทุกะฉันใด พึงทำฉันนั้น ไม่มีแตกต่างกัน พึงกระทำทั้ง ๙ วาระ.

๓. อธิปติปัจจัย

[๒๔๒] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ.

พึงกระทำอธิปติปัจจัยทั้งสอง.


ความคิดเห็น 22    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 258

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ อธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ.

พึงกระทำอธิปติปัจจัยทั้งสอง.

๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พึงกระทำอธิปติปัจจัย อย่างเดียวเท่านั้น พึงกระทำทั้ง ๙ วาระ เหมือน จิตตสหภุทุกะ ไม่มีต่างกัน.

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๒๔๓] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนจิตตสหภุทุกะ

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือน กับปฏิจจวาระ มี ๙ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือน กับ ปฏิจจวาระ.


ความคิดเห็น 23    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 259

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือน กับจิตตสหภุทุกะ ไม่มีต่างกัน.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๒๔๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ มี ๓ วาระ.

เหมือนกับจิตตสหภุทุกะ ไม่มีต่างกัน.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๒๔๕] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

เหมือนกับจิตตสหภุทุกะ ไม่มีต่างกัน.

ปัจฉาชาตะมีทั้ง ๓ วาระ เป็นเอกมูล ๒ เป็นปัจจัยสงเคราะห์ ๑.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.


ความคิดเห็น 24    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 260

๑๓. กัมมปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๒๔๖] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ.

เหมือนกับจิตตสหภุทุกะ ไม่มีต่างกัน. กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ทั้งสหชาตะ และนานาขณิกะ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนกับ ข้อความตามบาลี ในจิตตสหภุทุกะ. กวฬีการาหาร มี ๑ วาระ เท่านั้น.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ. เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๒๔๗] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ วิปปยุตตปัจจัย


ความคิดเห็น 25    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 261

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น ปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น ปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่


ความคิดเห็น 26    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 262

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย.

๕. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ฯลฯ

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๒๔๘] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับปฏิจจ- วาระ.

๒. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.


ความคิดเห็น 27    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 263

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ

ที่เป็น ปุเรชาตะ พึงกระทำเหมือนกับปุเรชาตปัจจัย.

ที่ย่อๆ ทั้งหมดควรให้พิสดาร.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น ปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย ไม่แตกต่างกัน.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น ปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย


ความคิดเห็น 28    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 264

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย.

๗. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขุวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่


ความคิดเห็น 29    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 265

ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.

๘. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ, และ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย กายวิญญาณ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต เป็นปัจจัยแก่ รูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่รูปทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.


ความคิดเห็น 30    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 266

ในปฏิสนธิขณะ มี ๓ นัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ที่เกิดภายหลัง และจิต เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ที่เกิดก่อน ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ที่เกิดภายหลัง จิต และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ที่เกิดภายหลัง จิต และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๙. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิต สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ- ปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ


ความคิดเห็น 31    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 267

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ และรูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ- ปัจจัย, ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ และจิต ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๔๙] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.


ความคิดเห็น 32    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 268

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๒๕๐] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย. เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาต-


ความคิดเห็น 33    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 269

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น ปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๗. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๘. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐ- สมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.


ความคิดเห็น 34    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 270

๙. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๕๑] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๒๕๒] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.


ความคิดเห็น 35    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 271

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๒๕๓] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ.

พึงกระทำอนุโลมมาติกา

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ จบ