๖๗. อุปาทาทุกะ
โดย บ้านธัมมะ  28 ก.พ. 2565
หัวข้อหมายเลข 42311

[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๕

อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)

๖๗. อุปาทาทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 331

๑. เหตุปัจจัย 293/331

๒. อารัมมณปัจจัย 294/332

๓. อธิปติปัจจัย 295/333

๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย 333

๖. อัญญมัญญปัจจัย 296/334

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 297/335

ปัจจนียนัย 335

๑. นเหตุปัจจัย 298/335

๒. นอารัมมณปัจจัย 299/337

๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย 338

๑๑. นกัมมปัจจัย 300/338

๑๒. นวิปากปัจจัย 301/339

๑๓. นอาหารปัจจัย 302/339

๑๔. นอินทริยปัจจัย 303/340

๑๕. นฌานปัจจัย 304/341

๑๖. นมัคคปัจจัย ฯลฯ ๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย 305/341

๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย 306/342

๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย 343

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 307/343

อนุโลมปัจจนียนัย 343

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 308/343

ปัจจนียานุโลมนัย 343
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 309/344

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 345

๑. เหตุปัจจัย 310/345

๒. อารัมมณปัจจัย 311/345

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 312/346

ปัจจนียนัย 347

๑. นเหตุปัจจัย 313/347

๒. นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย 348

๑๑. นกัมมปัจจัย 314/348

๑๒. นวิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๔. นอินทริยปัจจัย 349

๑๕. นฌานปัจจัย 315/350

๑๖. นมัคคปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย 351

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 316/351

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 352

๑. เหตุปัจจัย 317/352

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 318/352

ปัจจนียนัย 352

๑. นเหตุปัจจัย 319/352

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 320/353

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 354

๑. เหตุปัจจัย 321/354

๒. อารัมมณปัจจัย 322/355

๓. อธิปติปัจจัย 323/356

๔. อนันตรปัจจัย 324/358

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 359

๙. อุปนิสสยปัจจัย 325/359

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 326/360

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 327/362

๑๒. อาเสวนปัจจัย 362

๑๓. กัมมปัจจัย 328/362

๑๔. วิปากปัจจัย 329/364

๑๕. อาหารปัจจัย 330/364

๑๖. อินทริยปัจจัย 331/365

๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 332/366

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 333/367

๒๑. อัตถิปัจจัย 334/369

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 335/374

ปัจจนียนัย 375

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 336/375

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 337/377

อนุโลมปัจจนียนัย 377

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 338/377

ปัจจนียานุโลมนัย 377

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 339/377


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]



ความคิดเห็น 1    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 331

๖๗. อุปาทาทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๙๓] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัย ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

๓. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อุปาทาจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ อุปาทาจิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.


ความคิดเห็น 2    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 332

๔. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทาธรรม แต่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๒๙๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัย หทยวัตถุ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย


ความคิดเห็น 3    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 333

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๓. อธิปติปัจจัย

[๒๙๕] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๒. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ อุปาทาจิตตสมุฏฐานรูป ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม.

๓. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่ อุปาทาธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๕. สมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เพราะอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ.

เพราะสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ.

เพราะสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ.


ความคิดเห็น 4    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 334

๖. อัญญมัญญปัจจัย

[๒๙๖] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

๓. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม.

๔. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย


ความคิดเห็น 5    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 335

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๙๗] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๕ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในนัตถิ ปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๒๙๘] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัย หทยวัตถุ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 6    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 336

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๓. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ อุปาทาจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ อุปาทาจิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็น อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๔. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยขันธ์ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.


ความคิดเห็น 7    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 337

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๒๙๙] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

๒. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ อุปาทาจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ อุปาทาจิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ


ความคิดเห็น 8    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 338

๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ.

เพราะนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ.

เพราะนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ.

เพราะนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ.

เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ.

เพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ.

๑๑. นกัมมปัจจัย

[๓๐๐] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม.

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูต รูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

๒. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ... อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๓. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย


ความคิดเห็น 9    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 339

คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ... มหาภูตรูป ๓ และอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๑๒. นวิปากปัจจัย

[๓๐๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยขันธ์ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม, ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒, ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ตลอด อสัญญสัตว์.

ในธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นมูล มี ๓ วาระอย่างนี้.

๑๓. นอาหารปัจจัย

[๓๐๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาหารปัจจัย

คือ พาหิรรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ... อสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูต รูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

๒. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาหารปัจจัย

คือ พาหิรรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ... อสัญญสัตว์ทั้งหลาย อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.


ความคิดเห็น 10    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 340

๓. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาหารปัจจัย

คือ พาหิรรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ... มหาภูตรูป ๓ และอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๑๔. นอินทริยปัจจัย

[๓๐๓] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนอินทริยปัจจัย

คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ... ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป

๒. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนอินทริยปัจจัย

คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๓. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนอินทริยปัจจัย

คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ


ความคิดเห็น 11    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 341

๑๕. นฌานปัจจัย

[๓๐๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

๒. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อสัญสัตว์ทั้งหลาย อุปาทากฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป.

๓. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ อุปาทากฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๑๖. นมัคคปัจจัย ๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย

[๓๐๕] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ.

เพราะนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.


ความคิดเห็น 12    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 342

๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย

[๓๐๖] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย อุปาทากฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๓. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ และอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัย มหาภูตรูป ๒.

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ และกฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ และกฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ๒.


ความคิดเห็น 13    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 343

๑๔. โนนัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย

ฯลฯ เพราะโนนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เพราะโนวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๐๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๓๐๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.


ความคิดเห็น 14    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 344

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๓๐๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ใน อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.


ความคิดเห็น 15    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 345

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๑๐] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๒ - ๓ - ๔)

ในธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรมเป็นมูล เหมือนกับปฏิจจวาระทั้ง ๓ วาระ ไม่มีแตกต่างกัน.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๓๑๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย


ความคิดเห็น 16    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 346

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัย กายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และ จักขายตนะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๓๑๒] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ


ความคิดเห็น 17    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 347

ในนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ พึงนับ อย่างนี้ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๓๑๓] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัย กายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ อาศัยหทยวัตถุ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เหมือนกับปฏิจจวาระ ทั้ง ๓ วาระ ไม่มี แตกต่างกัน.


ความคิดเห็น 18    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 348

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และ จักขายตนะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ หทยวัตถุ ฯลฯ

๒. นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ.

๑๑. นกัมมปัจจัย

[๓๑๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย


ความคิดเห็น 19    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 349

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม.

คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

๓. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นพาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป.

๔. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ และอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม และหทยวัตถุ.

๑๒. นวิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๔. นอินทริยปัจจัย

ฯลฯ เพราะนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ.

ฯลฯ เพราะนอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เพราะนอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ.


ความคิดเห็น 20    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 350

๑๕. นฌานปัจจัย

[๓๑๕] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัย กายายตนะ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

๓. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย อุปาทากฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย

๔. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ และอุปาทากฏัตตารูป อาศัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ


ความคิดเห็น 21    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 351

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และ จักขายตนะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๑๖. นมัคคปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย

ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ.

เพราะนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

เพราะนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

เพราะโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ.

เพราะโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๑๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในนกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโน วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับสองวาระนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.


ความคิดเห็น 22    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 352

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๑๗] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๓๑๘] ในเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๓๑๙] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 23    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 353

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๒๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ

การนับทั้งสองวาระนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.


ความคิดเห็น 24    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 354

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๒๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ


ความคิดเห็น 25    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 355

๒. อารัมมณปัจจัย

[๓๒๒] ๑. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ กายะ ฯลฯ รูป ฯลฯ รสะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ รสายตนะ เป็นปัจจัยแก่ ชิวหาวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิญญาณ, แก่ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ ให้ทานแล้ว ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม แล้วพิจารณา ซึ่งกุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมที่ได้สั่งสมไว้ในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค, ผล ฯลฯ นิพพาน ฯลฯ

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.


ความคิดเห็น 26    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 356

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว, กิเลสที่ข่มแล้ว, กิเลสที่ เคยเกิดขึ้นในกาลก่อน ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม โดยความเป็น ของไม่เที่ยง โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่ อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๓๒๓] ๑. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ กายะ ฯลฯ รสะ ฯลฯ หทยวัตถุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุ


ความคิดเห็น 27    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 357

เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำ กุศลกรรมนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ย่อมยินดี ย่อม เพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมที่สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว ทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ฯลฯ ผล ฯลฯ นิพพาน ฯลฯ

นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค แก่ผล ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำโผฏฐัพพะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ โผฏฐัพพะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่


ความคิดเห็น 28    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 358

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรมเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอุปาทาธรรมและไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจ ของอธิปติปัจจัย.

๔. อนันตรปัจจัย

[๓๒๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.


ความคิดเห็น 29    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 359

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย เหมือน กับปฏิจจวาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

ในปัจจยวาระ เหมือนกับนิสสยวาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๓๒๕] ๑. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยซึ่งความถึงพร้อมด้วยจักษุ ฯลฯ ซึ่งความถึงพร้อม ด้วยกายะ ซึ่งความถึงพร้อมด้วยวรรณะ ซึ่งความถึงพร้อมด้วยสัททะ ซึ่งความ ถึงพร้อมด้วยคันธะ ซึ่งความถึงพร้อมด้วยรสะ ซึ่งโภชนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ความถึงพร้อมด้วยจักษุ ความถึงพร้อมด้วยกายะ ความถึงพร้อมด้วย วรรณะ ความถึงพร้อมด้วยสัททะ ความถึงพร้อมด้วยคันธะ ความถึงพร้อม ด้วยรสะ โภชนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.


ความคิดเห็น 30    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 360

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อ มานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา สุขทาง กาย ทุกข์ทางกาย อุตุ ฯลฯ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ผล สมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๓๒๖] ๑. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูป ด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.


ความคิดเห็น 31    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 361

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ ชิวหายตนะ เป็นปัจจัย แก่ชิวหาวิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาน ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นโผฏฐัพพะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๓. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

คือ โผฏฐัพพายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

โผฎฐัพพายตนะ และกายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.


ความคิดเห็น 32    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 362

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๓๒๗] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่ กายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๒)

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย นี้ที่เป็นอุปาทาธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่ เป็นอุปาทาธรรม และกายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย.

๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

๑๓. กัมมปัจจัย

[๓๒๘] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย


ความคิดเห็น 33    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 363

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่ เป็นอุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็น อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ


ความคิดเห็น 34    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 364

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจ ของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป ทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๓๒๙] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มี ๓ วาระ.

๑๕. อาหารปัจจัย

[๓๓๐] ๑. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม ด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย

คือ กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทาธรรมนี้ ด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย.


ความคิดเห็น 35    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 365

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๒)

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทาธรรมนี้ ด้วยอำนาจ ของอาหารปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓)

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทา ธรรมนี้ ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ธรรมที่มีธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นมูล มี ๓ วาระ (วาระ ที่ ๔ - ๕ - ๖)

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๑๖. อินทริยปัจจัย

[๓๓๑] ๑. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม ด้วย อำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทาธรรม ด้วย อำนาจของอินทริยปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๒)


ความคิดเห็น 36    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 366

จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายินทรีย์ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓)

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระ ที่ ๔ - ๖) ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๗. อุปาทาธรรมและธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ จักขุนทรีย์ และจักขุวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ

๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๓๓๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ พึง กระทำถึงปฏิสนธิ ฯลฯ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ


ความคิดเห็น 37    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 367

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๓๓๓] ๑. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้ง หลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็น ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่


ความคิดเห็น 38    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 368

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้ง หลายที่เป็นอุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นอุปาทาธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้ง หลายที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่


ความคิดเห็น 39    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 369

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรมเป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๓๓๔] ๑. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อาหาระ และ อินทริยะ ได้แก่

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทาธรรมนี้ ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๒. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ อาหาระ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

ฯลฯ เหมือนกับปุเรชาตะ ไม่มีแตกต่างกัน.


ความคิดเห็น 40    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 370

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรมนี้ ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๓. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อาหาระ และ อินทริยะ

คือ กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่ อุปาทาธรรมนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย ตลอดถึงอสัญญสัตว์.


ความคิดเห็น 41    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 371

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นโผฏฐัพพะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ที่เป็นอุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทาธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่


ความคิดเห็น 42    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 372

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิ- ปัจจัย.

๗. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็น ปัจจัยแก่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทาธรรมนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม และรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๘. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ, ปัจฉาชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ


ความคิดเห็น 43    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 373

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม และหทยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

โผฏฐัพพายตนะ และกายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.

โผฏฐัพพายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กาย ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรมนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.


ความคิดเห็น 44    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 374

๙. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็น ปัจจัยแก่อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรมนี้ ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๓๓๕] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ


ความคิดเห็น 45    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 375

ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๖ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๓๓๖] ๑. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม ด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๒. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยและธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๓. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย


ความคิดเห็น 46    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 376

อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย. ๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ กัมมปัจจัย.

๗. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็น ปัจจัยแก่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๘. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๙. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็น ปัจจัยแก่อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจ


ความคิดเห็น 47    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 377

ของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๓๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๓๓๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๓๓๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ พึงจำแนกอนุโลมมาติกาให้พิสดาร ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อุปาทาทุกะ จบ