๒๐. สัญโญชนทุกะ
โดย บ้านธัมมะ  27 ก.พ. 2565
หัวข้อหมายเลข 42269

[เล่มที่ 88] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๔

อนุโลมทุกปัฏฐาน

๒๐. สัญโญชนทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 455

๑. เหตุปัจจัย 418/455

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 419/458

ปัจจนียนัย 458

๑. น เหตุปัจจัย 420/458

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 421/459

อนุโลมปัจจนียนัย 459

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 422/459

ปัจจนียานุโลมนัย 460

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 423/460

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 461

๑. เหตุปัจจัย 424/461

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 425/463

ปัจจนียนัย 463

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 426/463

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 464

๑. เหตุปัจจัย 427/464

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 465

๑. เหตุปัจจัย 428/465

๒. อารัมมณปัจจัย 429/466

๓. อธิปติปัจจัย 430/468

๔. อนันตรปัจจัย 431/469

๕. สมนันตรปัจจัย 470

๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 470

๙. อุปนิสสยปัจจัย 432/471

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 433/473

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 434/474

๑๒. อาเสวนปัจจัย 435/475

๑๓. กัมมะปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 436/475

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 437/476


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 88]



ความคิดเห็น 1    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 455

๒๐. สัญโญชนทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๑๘] ๑. สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยกามราคสัญโญชน์

สีลพตปรามาสสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยกามราคสัญโญชน์

มานสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยกามราคสัญโญชน์

อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยกามราคสัญโญชน์

อิสสาสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยปฏิฆสัญโญชน์

มัจฉริยสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยปฏิฆสัญโญชน์

อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยปฏิฆสัญโญชน์

ภวราคสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยมานสัญโญชน์

อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยภวราคสัญโญชน์

อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยวิจิกิจฉาสัญโญชน์

๒. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย อาศัยสัญโญชนธรรมทั้งหลาย.


ความคิดเห็น 2    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 456

๓. สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกามราคสัญโญชน์.

พึงผูกจักรนัย

๔. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๕. สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัญโญชนธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม

๖. สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และสัญโญชนธรรมทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ


ความคิดเห็น 3    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 457

๗. สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรม และธรรม ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยกามราคสัญโญชน์ และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

พึงผูกจักรนัย

๘. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม และสัญโญชนธรรมทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๙. สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม และกามราคสัญโญชน์ ฯลฯ.

พึงผูกจักรนัย

ในอารัมมณปัจจัย รูปไม่มี.

อธิปติปัจจัย เหมือนกับ เหตุปัจจัย วิจิกิจฉาสัญโญชน์ไม่มี.

เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย.


ความคิดเห็น 4    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 458

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๔๑๙] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ใน อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๔๒๐] ๑. สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยวิจิกิจฉาสัญโญชน์.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๔. สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชธรรม และธรรม ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 5    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 459

คือ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยวิจิกิจฉาสัญโญชน์ และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ฯลฯ

เหมือนกับ อาสวโคจฉกะ

แม้นอารัมมณปัจจัยทั้งหมด ก็พึงยกขึ้น.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๒๑] ในนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๔๒๒] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงนับอย่างนี้ทั้งหมด.


ความคิดเห็น 6    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 460

ปัจจนียานุโลม

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๔๒๓] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ในปัจจัย ทั้งปวง มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

สหชาตวาระ

อนุโลมนัย

๑. สัญโญชนธรรมเกิดร่วมกับสัญโญชนธรรม ฯลฯ

เหมือนกับปฏิจจวาระ.


ความคิดเห็น 7    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 461

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๒๔] ๑. สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.

ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๓. สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัญโญชนธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม.

๔. สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 8    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 462

คือ ขันธ์ ๓ สัญโญชนธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

สัญโญชนธรรมทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

สัญโญชนธรรมและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๕. สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรม และธรรม ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยกามราคสัญโญชน์ และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยกามราคสัญโญชน์ และ หทยวัตถุ.

พึงผูกจักรนัย

๖. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม และสัญโญชนธรรมทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พึงผูกจักรนัย

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรมทั้งหลาย และหทยวัตถุ.

๗. สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 9    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 463

คือ ขันธ์ ๓ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม และกามราคสัญโญชน์ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พึงผูกจักรนัย

ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ และสัมปยุตตขันธ์ อาศัยกามราคสัญโญชน์ และหทยวัตถุ.

พึงผูกจักรนัย

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๔๒๕] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๒๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในที่ใดๆ ได้ หทยวัตถุ ในที่นั้น พึงกระทำให้มีหทยวัตถุ เช่นเดียวกัน. ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ

ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับวาระในนัยทั้งสองแม้นอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำ อย่างนี้.


ความคิดเห็น 10    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 464

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๒๗] ๑. สัญโญชนธรรม เจือกับสัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ เจือกับกามราคสัญโญชน์.

พึงกระทำ ๙ วาระ อย่างนี้ เฉพาะอรูปภูมิเท่านั้น.

สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.


ความคิดเห็น 11    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 465

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๒๘] ๑. สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตสัญโญชนธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒. สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๓. สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ สัญโญชนธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ


ความคิดเห็น 12    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 466

๒. อารัมมณปัจจัย

[๔๒๙] ๑. สัญโญชนธรรมเป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภสัญโญชนธรรมทั้งหลาย สัญโญชนธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

เพราะปรารภสัญโญชนธรรมทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เพราะปรารภสัญโญชนธรรมทั้งหลาย สัญโญชนธรรมและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม ฯลฯ แล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้น.

บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.

บุคคลออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌาน.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค, ผล ฯลฯ พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่ อาวัชชนะ.


ความคิดเห็น 13    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 467

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ ในกาลก่อน ฯลฯ

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ, ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่ อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือบุคคลให้ทานแล้ว ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณา กุศลกรรมที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว ฯลฯ

บุคคลพิจารณาซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภซึ่งจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.


ความคิดเห็น 14    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 468

๖. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย

คือบุคคลให้ทานแล้ว ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณา กุศลกรรมที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว ฯลฯ

บุคคลพิจารณาซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น สัญโญชนธรรม และขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๗. สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙) พึงกระทำว่า เพราะปรารภนั่นเทียว.

๓. อธิปติปัจจัย

[๔๓๐] ๑. สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

กระทำสัญโญชนธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ มีการกระทำให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นทั้ง ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓)

๔. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย


ความคิดเห็น 15    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 469

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖)

อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ แม้แห่งวาระทั้ง ๓ ก็ควรกระทำ. พึงจำแนกทั้ง ๓ วาระอีก.

๗. สัญญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

กระทำสัญโญชนธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ฯลฯ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

๔. อนันตรปัจจัย

[๔๓๑] ๑. สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ สัญโญชนธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)

๔. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย


ความคิดเห็น 16    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 470

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ที่เกิดหลังๆ ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่สัญโญชนธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ ฯลฯ แม้ทั้ง๒ วาระ (วาระที่ ๕ - ๖) ก็พึงกระทำอย่างที่กล่าวมาแล้ว.

๗. สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

๕. สมนันตรปัจจัย

๑. สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญญชนธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ.

๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ.


ความคิดเห็น 17    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 471

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๔๓๒] ๑. สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

สัญโญชนธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรมทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย แม้ทั้ง ๓ วาระ ก็เหมือนอย่างนี้.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.


ความคิดเห็น 18    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 472

๕. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.


ความคิดเห็น 19    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 473

๗. สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

ปุเรชาตปัจจัย

[๔๓๓] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย


ความคิดเห็น 20    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 474

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น สัญโญชนธรรม และสัมปยุตตขันธ์- ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๔๓๔] ๑. สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจจองปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ.


ความคิดเห็น 21    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 475

๒. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

๓. สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๔๓๕] ๑. สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

๑๓. กัมมปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๔๓๖] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.


ความคิดเห็น 22    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 476

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๔๓๗] ๑. สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

พึงจำแนก

๒. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

พึงจำแนก ๓. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ วิปปยุตตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของ วิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.


ความคิดเห็น 23    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 477

๕. สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

พึงจำแนก

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๔๓๘] ๑. สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรมด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ ฯลฯ


ความคิดเห็น 24    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 478

๕. สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรมสัญโญชนธรรม ด้วยอํานาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตสัญโญชนธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิด เพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ย่อม เกิดขึ้น.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรมทั้งหลาย ฯลฯ เหมือนกับ อาสวทุกะ.

๗. สัญโญชนธรรมและธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย


ความคิดเห็น 25    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 479

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ เหมือนกับอาสวทุกะ.

๘. สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ พึงจำแนก เหมือนกับ อาสวทุกะ.

๙. สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ พึงจำแนก เหมือนกับอาสวทุกะ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๔๓๙] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ


ความคิดเห็น 26    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 480

ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย ใน ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๔๔๐] ๑. สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๓. สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจขออุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย


ความคิดเห็น 27    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 481

อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาต ปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอํานาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๗. สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

๘. สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๙. สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วย


ความคิดเห็น 28    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 482

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๔๑] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๔๔๒] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ... ใน นสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๔๔๓] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

สัญโญชนทุกะ จบ