เรื่องพระสาคตะ [สุราปานวรรค สิกขาบทที่ ๑]
โดย chatchai.k  3 ก.ค. 2564
หัวข้อหมายเลข 34538

[เล่มที่ 4] พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ ทุติยภาค เล่ม ๒ - หนาที่ 630

ปาจิตตีย วรรคที่ ๖

สุราปานวรรค สิกขาบทที่ ๑

เรื่องพระสาคตะ



ความคิดเห็น 1    โดย chatchai.k  วันที่ 3 ก.ค. 2564

พระวินัยปฎก มหาวิภังค ทุติยภาค เลม ๒ - หนาที่ 630

เรื่องพระสาคตะ

[๕๗๕] โดยสมัยนั้น พระผูมีพระภาคพุทธเจาเสด็จจาริกในเจติยชนบท ไดทรงพระดําเนินไปทางตําบลบานรั้วงาม คนเลี้ยงโค คนเลี้ยงปศุสัตว คนชาวนา คนเดินทาง ไดแลเห็นพระผูมีพระภาคเจากําลังทรงพระดําเนินมา แตไกลเทียว ครั้นแลวไดกราบทูลพระผูมีพระภาคเจาวา ขอพระองคอยาได เสด็จไปยังทามะมวงเลย พระพุทธเจาขา เพราะที่ทามะมวงมีนาคอาศัยอยูใน อาศรมชฎิล เปนสัตวมีฤทธิ์ เปนอสรพิษมีพิษราย มันจะไดไมทํารายพระองค พระพุทธเจาขา

เมื่อเขากราบทูลอยางนั้นแลว พระองคไดทรงดุษณี.

แมครั้งที่สองแล . . . แมครั้งที่สามแล . . .

ครั้นพระผูมีพระภาคเจาเสด็จจาริกโดยลําดับ ถึงตําบลบานรั้วงามแลว ทราบวา พระองคประทับอยูณ ตําบลบานรั้วงามนั้น.

ครั้งนั้นแล ทานพระสาคตะเดินผานไปทางทามะมวง อาศรมชฎิล ครั้นถึงแลวไดเขาไปยังโรงบูชาไฟ ปูหญาเครื่องลาด นั่งบัลลังก ตั้งกาย ตรง ดํารงสติไวเฉพาะหนา นาคนั้นพอแลเห็นทานพระสาคตะเดินผานเขามา ไดเปนสัตวดุรายขุนเคือง จึงบังหวนควันขึ้นในทันใด แมทานพระสาคตะก็ บังหวนควันขึ้น มันทนความลบหลูไมได จึงพนไฟสูในทันที แมทานพระ


ความคิดเห็น 2    โดย chatchai.k  วันที่ 3 ก.ค. 2564

พระวินัยปฎก มหาวิภังค ทุติยภาค เลม ๒ - หนาที่ 631

สาคตะก็เขาเตโชธาตุกสิณสมาบัติ บันดาลไฟตานทานไว ครั้นทานครอบงํา ไฟของนาคนั้นดวยเตโชกสิณแลว เดินผานไปทางตําบลบานรั้วงาม

สวนพระผูมีพระภาคเจาประทับอยูณ ทําบลบานรั้วงาม ตามพระพุทธาภิรมยแลว เสด็จหลีกไปสูจาริกทางพระนครโกสัมพี พวกอุบาสกชาว พระนครโกสัมพีไดทราบขาววา พระคุณเจาสาคตะไดตอสูกับนาคผูอยูณ ทําบลทามะมวง พอดีพระผูมีพระภาคเจาเสด็จจาริกโดยลําดับถึงพระนคร โกสัมพี จึงพวกอุบายสกชาวพระนครโกสัมพีพากันรับเสด็จพระผูมีพระภาคเจา แลว เขาไปหาทานพระสาคตะ กราบไหวแลวยืนอยู ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง แลวถามทานวา ทานขอรับ อะไรเปนของหายากและเปนของชอบของพระคุณเจา พวกกระผมจะจัดของอะไรถวายดี

เมื่อเขาถามอยางนั้นแลว พระฉัพพัคคียไดกลาวตอบคํานี้กะพวก อุบาสกวา มี ทานทั้งหลาย สุราใสสีแดงดังเทานกพิราบ เปนของหายาก ทั้งเปนของชอบของพวกพระ ทานทั้งหลายจงแตงสุรานั้น ถวายเถิด.

ครั้งนั้น พวกอุบาสกชาวพระนครโกสัมพี ไดจัดเตรียมสุราใสสีแดง ดังเทานกพิราบไวทุกๆ ครัวเรือน พอเห็นทานพระสาคตะเดินมาบิณฑบาต จึงตางพากันกลาวเชื้อเชิญวา นิมนตพระคุณเจาสาคตะดื่มสุราใสสีแดงดังเทา นกพิราบเจาขา นิมนตพระคุณเจาสาคตะดื่มสุราใสสีแดงดังเทานกพิราบ เจาขา.

ครั้งนั้น ทานพระสาคตะไดดื่มสุราใสสีแดงดังเทานกพิราบทุกๆ ครัว เรือนแลว เมือจะเดินออกจากเมือง ไดลมกลิ้งอยูที่ประตูเมือง

พอดีพระผูมีพระภาคเจาเสด็จออกจากเมืองพรอมดวยภิกษุเปนอันมาก ไดทอดพระเนตรเห็นทานพระสาคตะลมกลิ้งอยูที่ประตูเมือง จึงรับสั่งกะภิกษุ ทั้งหลายวา ดูกอนภิกษุทั้งหลายพวกเธอจงชวยกันหามสาคตะไป


ความคิดเห็น 3    โดย chatchai.k  วันที่ 3 ก.ค. 2564

พระวินัยปฎก มหาวิภังค ทุติยภาค เลม ๒ - หนาที่ 632

ภิกษุเหลานั้นรับสนองพระพุทธดํารัสแลว หามทานพระสาคตะไปสู อาราม ใหนอนหันศีรษะไปทางพระผูมีพระภาคเจา แตทานพระสาคตะได พลิกกลับนอนผันแปรเทาทั้งสองไปทางพระผูมีพระภาคเจา

ลําดับนั้น พระผูมีพระภาคเจารับสั่งถามภิกษุทั้งหลายวา ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย สาคตะมีความเคารพ มีความยําเกรงในคถาคตมิใชหรือ.

ภิกษุทั้งหลายกราบทูลวา เปนดังรับสั่ง พระพุทธเจาขา.

ภ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เออก็บัดนี้ สาคตะมีความเคารพ มีความ ยําเกรงในตถาคต อยูหรือ

ภิ. ขอนั้นไมมีเลย พระพุทธเจาขา.

ภ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สาคตะไดตอสูกับนาคอยูที่ตําบลทามะมวง มิใชหรือ

ภิ. ใช พระพุทธเจาขา

ภ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เดี๋ยวนี้สาคตะสามารถจะตอสูแมกับงูน้ําได
หรือ.

ภิ. ไมได พระพุทธเจาขา.

ภ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย น้ําที่ดื่มเขาไปแลวถึงวิสัญญีภาพนั้น ควรดื่ม หรือไม.

ภิ. ไมควรดื่ม พระพุทธเจาขา.

ภ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย การกระทําของสาคตะไมเหมาะ. ไม่สมควร ไมใชกิจของสมณะ ใชไมได ไมควรทํา ไฉนสาคตะจึงไดดื่มน้ําที่ทํา ผูดื่มใหเมาเลา การกระทําของสาคตะนั่น ไมเปนไปเพื่อความเลื่อมใสของ ชุมชนที่ยังไมเลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแลว . ..


ความคิดเห็น 4    โดย chatchai.k  วันที่ 3 ก.ค. 2564

พระวินัยปฎก มหาวิภังค ทุติยภาค เลม ๒ - หนาที่ 633

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอยางนี้ วาดังนี้:-

พระบัญญัติ

๑๐๐. ๑. เปนปาจิตตีย ในเพราะดื่มสุราและเมรัย.

เรื่องพระสาคตะ จบ

สิกขาบทวิภังค

[๕๗๖] นี้ชื่อวา สุรา ไดแกสุราที่ทําดวยแปง สุราที่ทําดวยขนม สุราที่ทําดวยขาวสุกสุราที่หมักสาเหลา สุราที่ผสมดวยเครื่องปรุง

ที่ชื่อ เมรัย ไดแกน้ําดองดอกไม น้ําดองผลไม น้ําดองน้ําผึ้ง น้ําดองน้ําออยงบ น้ําดองที่ผสมดวยเครื่องปรุง

คําวา ดื่ม คือ ดื่มโดยที่สุดแมดวยปลายหญาคา ตองอาบัติปาจิตตีย.

บทภาชนีย

ติกปาจิตตีย

[๕๗๗] น้ําเมา ภิกษุสําคัญวาน้ําเมา ดื่ม ตองอาบัติปาจิตตีย น้ําเมา ภิกษุสงสัย ดื่มตองอาบัติปาจิตตีย

น้ําเมา ภิกษุสําคัญวาไมใชน้ําเมา ดื่ม ตองอาบัติปาจิตตีย

ทุกะทุกกฏ

ไมใชน้ําเมา ภิกษุสําคัญวาน้ําเมา ดื่ม ตองอาบัติทุกกฏ

ไมใชน้ําเมา ภิกษุสงสัย ดื่ม ตองอาบัติทุกกฏ


ความคิดเห็น 5    โดย chatchai.k  วันที่ 3 ก.ค. 2564

พระวินัยปฎก มหาวิภังค ทุติยภาค เลม ๒ - หนาที่ 634

ไมตองอาบัติ

ไมใชน้ําเมา ภิกษุสําคัญวาไมใชน้ําเมา ดื่ม ไมตองอาบัติ

อนาปตติวาร

[๕๗๘] ภิกษุดื่มน้ําที่มีกลิ่นรสเหมือนน้ําเมา แตไมใชน้ําเมา ๑ ภิกษุ ดื่มน้ําเมาที่เจือลงในแกง ๑ . . .ที่เจือลงในเนื้อ ๑ ... ที่เจือลงในน้ํามัน ๑ ...น้ําเมาในน้ําออยที่ดองมะขามปอม ๑ ภิกษุดื่มยาดองอริฏฐะซึ่งไมใชของเมา ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมนิกะ ๑ ไมตองอาบัติแล

สุราปานวรรค สิกขาบทที่ ๑ จบ


ความคิดเห็น 6    โดย chatchai.k  วันที่ 3 ก.ค. 2564

พระวินัยปฎก มหาวิภังค ทุติยภาค เลม ๒ - หนาที่ 635

ปาจิตตีย สุราปานวรรคที่ ๖ สุราปานสิกขาบทที่ ๑

พึงทราบวินิจฉัย ในสิกขาบทที่๑ แหงสุราปานวรรคดังตอไปนี้:-

[แกอรรถปฐมบัญญัติ เรื่องสุราเมรัย]

หมูบานแหงหนึ่ง ชื่อวา ภัททวติกะ หมูบานนั้นไดชื่ออยางนี้ เพราะประกอบดวยรั้วงาม

บทวา ปถาวิโน แปลวา คนเดินทาง

สองบทวา เตชสา เตช ไดแก (ครอบงํา) ซึ่งเดชแหงนาคดวยเดช คือ ดวยอานุภาพของตน

บทวา กาโปติกา คือ มีสีแดงเสมอเหมือนกับสีเทาแหงพวกนกพิราบ

คําวา ปสนฺนา นี้ เปนชื่อแหงสุราใส

สามบทวา อนนุจฺฉวิก ภิกฺขเว สาคตสฺส มีรูปความที่ทานกลาว ไววา ชื่อวา การดื่มน้ําเมา เปนการไมสมควรแกสาคตะผูสําเร็จอภิญญา ๕

เมรัยที่เขาทําดวยรสแหงดอกมะซางเปนตน ชื่อวา ปุปผาสวะ. เมรัย ที่เขาคั้นผลลูกจันทนเปนตนแลว ทําดวยรสแหงผลลูกจันทนเปนตนนั้น ชื่อวา ผลาสวะ. เมรัยที่เขาทําดวยรสชาติแหงผลลูกจันทน (หรือองุน) เปนตน ชื่อวา มัธวาสวะ อาจารยบางพวกกลาววา เขาทําดวยน้ําผึ้งก็มี เมรัยที่ ชื่อวา คุฬาสวะ. เขาทําดวยน้ําออยสด เปนตน

ธรรมดาสุรา ที่เขาใสเธอแปง กระทําดวยรสแมแหงจั่นมะพราว เปนตน ยอมถึงการนับวา สุราทั้งนั้น อาจารยบางพวกกลาววา เมื่อตักเอา น้ําใสแหงสุราใสเชื้อแลวนั่นแล (ที่เหลือ) ยอมถึงการนับวาเมรัยทั้งนั้น


ความคิดเห็น 7    โดย chatchai.k  วันที่ 3 ก.ค. 2564

พระวินัยปฎก มหาวิภังค ทุติยภาค เลม ๒ - หนาที่ 636

สามบทวา อนฺตมโส กุสคฺเคนาป ปวติ มีความวา ภิกษุดื่มสุรา หรือเมรัยนั่นตั้งแตเชื้อ แมดวยปลายหญาคา เปนปาจิตตีย. แตเมื่อดื่มแมมาก ดวยประโยคเดียว เปนอาบัติเพียงตัวเดียว. เมื่อดื่มขาดเปนระยะๆ เปนอาบัติ มากตัวโดยนับประโยค.

คําวา อมชฺชฺจ โหต มชฺชวณฺณ มชฺชคนฺธ มชฺชรส มี ความวา เปนยาดองน้ําเกลือก็ดี มีสีแดงจัดก็ดี

บทวา สูปส ปาเก มีความวา ชนทั้งหลายใสน้ําเมาลงนิดหนอย เพื่ออบกลิ่นแลวตมแกง, เปนอนาบัติ ในเพราะแกงใสน้ําเมาเล็กนอยนั้น. แมในตมเนื้อก็นัยนี้เหมือนกัน . ก็ชนทั้งหลายยอมเจียวน้ํามันกับน้ําเมา แม เพื่อเปนยาระงับลม, ไมเปนอาบัติในน้ํามัน แมนั้นที่ไมไดเจือน้ําเมาจนเกินไป เทานั้น. ในน้ํามันที่เจือน้ําเมาจัดไป จนมีสีมีกลิ่น และรสแหงน้ําเมาปรากฏ เปนอาบัติแท.

สองบทวา อมชฺช อริฏ มีความวา ในยาดองชื่ออริฏฐะซึ่งไมใช น้ําเมา ไมเปนอาบัติ. ไดยินวา ชนทั้งหลายทํายาดองชื่ออริฏฐะ ดวยรสแหง มะขามปอมเปนตนนั่นแหละ. ยาดองนั้นมี สี กลิ่น และรสคลายน้ําเมา แตไมเมา. พระผูมีพระภาคเจาทรงหมายเอายาดองชื่ออริฏฐะนั้น จึงตรัสคํานี้ แตยาดองอริฏฐะที่เขาปรุงดวยเครื่องปรุงจัดเปนน้ําเมา ไมควรตั้งแตเชื้อ. บทที่เหลือในสิกขาบทนี้ ตื้นทั้งนั้น.

สิกขาบทนี้ มีสมุฎฐานดุจเอฬกโลมสิกขาบท เปนกิริยา โนสัญญาวิโมกขอจิตตกะ โลกวัชชะ กายกรรม อกุศลจิต มีเวทนา ๓ แล ก็ใน สมุฏฐานเปนตนนี้ บัณฑิตพึงทราบวา เปนอจิตตกะ. เพราะไมรูวัตถุ. พึง ทราบวา เปนโลกวัชชะ เพราะจะพึงดื่มดวยอกุศลจิตเทานั้น ดังนี้แล

สุราปานสิกขาบทที่ ๑

จบ


ความคิดเห็น 8    โดย chatchai.k  วันที่ 3 ก.ค. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น