๑๘. อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ
โดย บ้านธัมมะ  27 ก.พ. 2565
หัวข้อหมายเลข 42267

[เล่มที่ 88] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๔

อนุโลมทุกปัฏฐาน

๑๘. อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 442

๑. เหตุปัจจัย 405/442

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 406/445

ปัจจนียนัย 445

๑. นอธิปติปัจจัย 407/445

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 408/446

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 447

๑. เหตุปัจจัย 409/447

๒. อารัมมณปัจจัย 410/447

๓. อธิปติปัจจัย ฯลฯ ๑๐. อาเสวนปัจจัย 448

๑๑. กัมมปัจจัย 411/449

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 412/450

ปัจจนียนัย 450

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 413/450

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 414/452

อนุโลมปัจจนียนัย 453

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 415/453

ปัจจนียานุโลมนัย 453

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 416/453


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 88]



ความคิดเห็น 1    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 442

๑๘. อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๐๕] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรมและอาสวสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ อาศัยกามาสวะ. พึงผูกจักรนัย

อวิชชาสวะ อาศัยภวาสวะ.

พึงผูกจักรนัย

อวิชชาสวะ อาศัยทิฏฐาสวะ

๒. ธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม เกิด ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยอาสวธรรมทั้งหลาย.

๓. ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยธรรม


ความคิดเห็น 2    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 443

ที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย

คือ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย อาสวสัมปยุตตกามาสวธรรมทั้งหลาย.

พึงผูกจักรนัย

๔. ธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่ อาสวธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๕. ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อาสวธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม.

๖. ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยธรรม ที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย


ความคิดเห็น 3    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 444

คือ ขันธ์ ๓ และอาสวธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่อาสวธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๗. ธรรมที่เป็นอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม และธรรม ที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย

คือ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ อาศัยกามาสวะ และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย.

พึงผูกจักรนัยทั้งหมด

๘. ธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม และ ธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่ อาสวธรรม และอาสวธรรมทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๙. ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยธรรม ที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 4    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 445

คือ ขันธ์ ๓ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่อาสวธรรม และกามาสวะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พึงผูกจักรนัย

ทุกปัจจัยพึงกระทำอย่างนี้.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๔๐๖] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย ไม่มี ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นอธิปติปัจจัย

[๔๐๗] ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

นเหตุมูลกะ ไม่มี.

ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย

ฯลฯ เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย

ฯลฯ


ความคิดเห็น 5    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 446

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๐๘] ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.

แม้การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำให้บริบูรณ์ อย่างนี้ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.


ความคิดเห็น 6    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 447

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๐๙] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓)

๔. ธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลาย ที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๔๑๐] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓)

๔. ธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอํานาจของอารัมมณปัจจัย


ความคิดเห็น 7    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 448

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ อาสวธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๕. ธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ อาสวธรรม อาสวธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๖. ธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ อาสวธรรม อาสวธรรมและขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๗. ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

๓. อธิปติปัจจัย ฯลฯ ๑๐. อาเสวนปัจจัย

อธิปติปัจจัย มีการกระทำให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เหมือนกับ อารัมมณปัจจัย.


ความคิดเห็น 8    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 449

อนันตรปัจจัย พึงกระทำว่า ที่เกิดก่อนๆ เหมือนกับ อารัมมณปัจจัยนั่นเทียว.

สมนันตรปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย เหมือนกับอารัมมณปัจจัยนั่นเทียว การจำแนก ไม่มี มี ๓ วาระ.

พึงกระทำอุปนิสสยปัจจัยทั้งหมด.

๑๑. กัมมปัจจัย

[๔๑๑] ๑. ธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.


ความคิดเห็น 9    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 450

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๔๑๒] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ใน สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๔๑๓] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมเป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.


ความคิดเห็น 10    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 451

๓. ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม และ ธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕. ธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๖. ธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๗. ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็น


ความคิดเห็น 11    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 452

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๘. ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๙. ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่เป็นทั้งอาสวธรรมและอาสวสัมปยุตตธรรม และธรรม ที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๑๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.


ความคิดเห็น 12    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 453

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๔๑๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ... ใน นสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

ปัจจนียานุโลม

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๔๑๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ พึงนับบทที่เป็นอนุโลม ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ จบ