คันถคันถสัมปยุตตทุกกุสลติกะ (๓๐. คันถคันถสัมปยุตตทุกะ ๑. กุสลติกะ)
โดย บ้านธัมมะ  4 มี.ค. 2565
หัวข้อหมายเลข 42418

[เล่มที่ 90] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๖

อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)

คันถคันถสัมปยุตตทุกกุสลติกะ

อกุศลบทปฏิจจวาระ 1325/443

อกุศลบทปัญหาวาระ 1328/444


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 90]



ความคิดเห็น 1    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 4 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 443

คันถคันถสัมปยุตตทุกกุสลติกะ

(๓๐. คันถคันถสัมปยุตตทุกะ ๑. กุสลติกะ)

อกุศลบทปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๓๒๕] ๑. อกุศลธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม อาศัยอกุศลธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๓๒๖] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๓๒๗] ในนอธิปติปัจจัยมี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ

สหชาตวาระก็ดี ฯลฯ สัมปยุตตวาระก็ดี พึงให้พิสดารเหมือนปฏิจจ- วาระ.


ความคิดเห็น 2    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 4 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 444

อกุศลบทปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๓๒๘] ๑. อกุศลธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม และ คันถสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๓๒๙] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๓๓๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๓๓๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ฯลฯ


ความคิดเห็น 3    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 4 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 445

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๓๓๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ฯลฯ

อนุโลมนัยก็ดี ปัจจนียนัยก็ดี อนุโลมปัจจนียนัยก็ดี ปัจจนียานุโลมนัยก็ดี แห่งปัญหาวาระในกุสลติกะ ท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น.

คันถคันถสัมปยุตตทุกกุสลติกะ จบ