[เล่มที่ 86] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒
พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๒
อนุโลมติกปัฏฐาน
๓. วิปากติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย 1238/75
อารัมมณปัจจัย 1243/78
อธิปติปัจจัย 1247/79
อัญญมัญญปัจจัย 1253/81
อาเสวนปัจจัย 1258/83
วิปากปัจจัย 84
อาหารปัจจัยเป็นต้น 1263/85
การนับจํานวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย 1264/85
เหตุมูลกนัย 1265/86
อาเสวนมูลกนัย 1266/86
วิปากมูลกนัย 1267/86
ปัจจนียนัย
นเหตุปัจจัย 1268/87
นอารัมมณปัจจัย 1272/90
นอธิปติปัจจัย 1277/91
นอนันตรปัจจัย - นสมนันตร - นอัญญมัญยปัจจัย 1278/92
นปุเรชาตปัจจัย 1279/92
นปัจฉาชาตปัจจัย - นอาเสวนปัจจัย 95
นกัมมปัจจัย 95
นวิปากปัจจัย 1285/96
นอาหารปัจจัย 1288/97
นอินทริยปัจจัย 1289/97
นฌานปัจจัย 1290/98
นมัคคปัจจัย 1292/89
นวิปปยุตตปัจจัย 1296/99
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ
สุทธมูลกนัย 1300/100
นเหตุมูลกนัย 1301/100
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 1303/101
ปัจจนยานุโลมนัย
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 1307/102
สหชาตวาระ
อนุโลมนัย 1310/104
ปัจจนียนัย 104
อนุโลมปัจจนียนัย 104
ปัจจนียานุโลม 104
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย 1311/105
๒. อารัมมณปัจจัย 1316/109
๓. อธิปติปัจจัย 1321/111
๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย 1326/114
๖. สหชาตปัจจัย ๗. อัญญมัญญปัจจัย 1327/114
๘. นิสสยปัจจัย 1332/116
๙. อุปนิสสยปัจจัย ๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 116
๑๑. อาเสวนปัจจัย 1333/117
๑๒. กัมมปัจจัย 1336/118
๑๓. วิปากปัจจัย 1337/118
๑๔. อาหารปัจจัยถึง ๒๓. อวิคตปัจจัย 119
การนับจํานวนวาระในอนุโลม สุทธมูลกนัย 1338/119
เหตุมูลกนัย 1339/119
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย 1340/120
๒. นอารัมมณปัจจัย 121
๓. การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ สุทธมูลกนัย 1341/121
นเหตุมูลกนัย 1342/122
อนุโลมปัจจนียนัย 1343/122
ปัจจนียานุโลมนัย 1344/123
นิสสยวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย 1345/124
การนับจํานวนวาระในนิสสยวาระ 124
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย 1347/125
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 1348/125
ปัจจนียนัย 1349/126
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 1350/126
อนุโลมปัจจนียนัย 1351/126
ปัจจนียานุโลม 1352/127
สัมปยุตตวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย 1353/128
การนับจํานวนวาระในสัมปยุตตวาระ 128
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย 1354/129
๒. อารัมมณปัจจัย 1357/130
๓. อธิปติปัจจัย 1360/136
๔. อนันตรปัจจัย 1363/136
๕. สมนันตรปัจจัย 1366/142
๖. สหชาตปัจจัย 142
๗. อัญญมัญญปัจจัย 1371/144
๘. นิสสยปัจจัย 1374/145
๙. อุปนิสสยปัจจัย 1376/147
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 1380/151
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 1381/153
๑๒. อาเสวนปัจจัย 1383/153
๑๓. กัมมปัจจัย 1385/154
๑๔. วิปากปัจจัย 1388/156
๑๕. อาหารปัจจัย 157
๑๖. อินทริยปัจจัย 1390/158
๑๗. ฌานปัจจัย 1393/159
๑๘. มัคคปัจจัย 1394/159
๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 1395/160
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 1397/160
๒๑. อัตถิปัจจัย 1400/162
๒๒. นัตถิปัจจัย - ๒๔. อวิคตปัจจัย 167
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 167
สุทธมูลกนัย 1405/167
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ 1407/168
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 171
สุทธมูลกนัย 1412/171
อนุโลมปัจนียนัย
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 1414/172
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 1416/173
อรรถกถาแห่งวิปากติกปัฏฐาน 174
อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 86]
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 75
๓. วิปากติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย
[๑๒๓๘] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์ทั้งหลายเกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยวิบากขันธ์ทั้งหลายเกิดขึ้น.
๓. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 76
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๓๙] ๔. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น.
๖. วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๔๐] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 77
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัย มหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
๘. วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๙. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น, กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๔๑] ๑๐. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๑๑. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น. ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
๑๒. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 78
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัย วิบากขันธ์ และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๔๒] ๑๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
อารัมมณปัจจัย
[๑๒๔๓] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๔๔] ๒. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 79
[๑๒๔๕] ๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๔. วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
[๑๒๔๖] ๕. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย.
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
อธิปติปัจจัย
[๑๒๔๗] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะ อธิปติปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย.
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 80
๓. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ที่อาศัย วิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น มี ๓ * วาระ.
[๑๒๔๘] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๔๙] ๘. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย.
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๕๐] ๙. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย.
๑. คือวาระที่ ๔ - ๕ - ๖ (ซึ่งย่อไว้ไม่แสดง) วาระต่อไปจึงเป็นวาระที่ ๗
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 81
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
[๑๒๕๑] ๑๐. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะสมนันตรปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับอารัมมณปัจจัย
เพราะสหชาตปัจจัย ฯลฯ สหชาตปัจจัยทั้งหมด เหมือนเหตุปัจจัย (คือมี ๑๓ วาระ)
[๑๒๕๒] ๑๑. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย.
คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ
นี้เป็นข้อแตกต่างกันในสหชาตปัจจัย.
อัญญมัญญปัจจัย
[๑๒๕๓] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 82
๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย.
คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยวิบากขันธ์เกิดขึ้น.
๓. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัย วิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย.
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๕๔] ๔. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๕๕] ๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
๖. วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิด ขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 83
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น
[๑๒๕๖] ๗. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย.
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
[๑๒๕๗] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะนิสสยปัจจัย (๑) ฯลฯ เพราะอุปนิสสยปัจจัย (๒) เพราะปุเรชาตปัจจัย (๓)
อาเสวนปัจจัย
[๑๒๕๘] ๑. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๕๙] ๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
(๑) มี ๑๓ วาระ (๒) มี ๕ วาระ (๓) มี ๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 84
[๑๒๖๐] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย (๑) ฯลฯ
วิปากปัจจัย
วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
[๑๒๖๑] ๔. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย.
คือ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
๕. วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย.
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น
๖. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย.
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น, กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๖๒] ๗. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย ฯลฯ.
๑. มี ๑๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 85
๘. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ฯลฯ เกิดขึ้น เพราะ วิปากปัจจัย ฯลฯ.
๙. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ฯลฯ เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย.
อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๑๒๖๓] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะอาหารปัจจัย ฯลฯ เพราะอินทริยปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๑๒๖๔] ในเหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๓ วาระ ใน วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 86
มี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
เหตุมูลกนัย
[๑๒๖๕] เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ. พึงนับเหมือนการนับในกุสลติกะ.
อาเสวนมูลกนัย
[๑๒๖๖] เพราะอาเสวนปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ... ใน อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ใน อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ใน อาหารปัจจัย มี ๒ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๒ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๒ วาระในมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
วิปากมูลกนัย
[๑๒๖๗] เพราะวิปากปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ... ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญ-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 87
ปัจจัย มี ๖ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
การนับวาระในอนุโลม จบ
ปัจจนียนัย
นเหตุปัจจัย
[๑๒๖๘] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น, ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอเหตุกวิบากเกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยวิบากขันธ์เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 88
๓. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกวิบาก เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๖๙] ๔. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เกิดขึ้น.
[๑๒๗๐] ๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปาก นวิปากธัมมธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัย มหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 89
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ
กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
๖. วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๗. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น, กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๗๑] ๘. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๙. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอเหตุกวิบาก และมหาภูตรูป เกิดขึ้น. ในอเหตุปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์ และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 90
๑๐. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุเกิดขึ้น, ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น, กฏัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
นอารัมมณปัจจัย
[๑๒๗๒] ๑. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์เกิดขึ้น.
[๑๒๗๓] ๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น.
[๑๒๗๔] ๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 91
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น, มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น, พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๗๕] ๔. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.. ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๗๖] ๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูปเกิดขึ้น
นอธิปติปัจจัย
[๑๒๗๗] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
ย่อเหมือนสหชาตปัจจัย ที่เป็นอนุโลม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 92
นอนันตร - นสมนันตร - นอัญญมัญญปัจจัย
[๑๒๗๘] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะนอนนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย.
คือ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น, พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลายเกิดขึ้น.
นี้เป็นความต่างกันสำหรับธรรมที่เกิดขึ้น เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย.
นปุเรชาตปัจจัย
[๑๒๗๙] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ
๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๓. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัย วิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 93
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น วิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๘๐] ๔. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น.
[๑๒๘๑] ๖. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ พาหิรรูป ... จิตตสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ.
๗. วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 94
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๘. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๘๒] ๙. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๑๐. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมและ เนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
๑๑. วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยวิบากขันธ์ และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 95
[๑๒๘๓] ๑๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
นปัจฉาชาต - นอาเสวนปัจจัย
วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย.
นกัมมปัจจัย
๑. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น.
[๑๒๘๔] ๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น.
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 96
นวิปากปัจจัย
[๑๒๘๕] ๑. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น.
๓. วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น, ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๘๖] ๔. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่ เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 97
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๘๗] ๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
นอาหารปัจจัย
[๑๒๘๘] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนอาหารปัจจัย
คือ พาหิรรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ. กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
นอินทริยปัจจัย
[๑๒๘๙] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนอินทริยปัจจัย
คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 98
นฌานปัจจัย
[๑๒๙๐] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๙๑] ๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิ- ปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย
คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ. สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ
นมัคคปัจจัย
[๑๒๙๒] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกวิบากเกิดขึ้น มี ๓ วาระ (๑)
[๑๒๙๓] ๔. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะเกิดขึ้น มี ๓ วาระ (๒)
[๑๒๙๔] ๗. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย
๑. บาลีแสดงวาระเดียว อีก ๒ วาระย่อไว้ เพราะฉะนั้น ในข้อ (๑๒๙๓) จึงเป็น ข้อ ๔.
๒. ย่อไว้นัยเดียวกับข้อ (๑๒๙๒)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 99
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและ หทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ มี ๓ วาระ.
[๑๒๙๕] ๑. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
๔. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
๕. อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น มี ๑ วาระ.
นวิปปยุตตปัจจัย
[๑๒๙๖] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะ นวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น, ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๙๗] ๒. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๙๘] ๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวนิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 100
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๙๙] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะโนนัตถิปัจจัย ... เพราะโนวิคตปัจจัย ...
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
สุทธมูลกนัย
[๑๓๐๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
นเหตุมูลกนัย
[๑๓๐๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 101
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๓๐๒] เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
นเหตุมูลกนัย จบ
แม้ในวิปากติกะนี้ พึงนับวาระเหมือนที่นับไว้แล้ว โดยวิธีสาธยายใน กุสลติกะ.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๓๐๓] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญนัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 102
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
[๑๓๐๔] เพราะเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ... ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ. ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๓๐๕] เพราะเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย อธิปติปัจจัย ใน นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๓๐๖] เพราะเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย อธิปติปัจจัย อนันตรปัจจัย ฯลฯ ปุเรชาตปัจจัย ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
พึงนับเหมือนอนุโลมปัจจนียะ ในกุสลติกะ.
อนุโลมปัจจนียะ จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๓๐๗] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสหชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 103
มี ๑๐ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ.
[๑๓๐๘] เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
[๑๓๐๙] เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย นสมนันตรปัจจัย นอัญญมัญญปัจจัย ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ใน ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับเหมือนนเหตุมูลกนัย ในกุสลติกะ.
พึงแจกวิปากติกะให้พิสดาร เหมือนที่แจกปัจจนียานุโลมปัฏฐาน ในกุสลติกะ.
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 104
สหชาตวาระ
อนุโลมนัย
[๑๓๑๐] วิปากธรรม เกิดร่วมกับวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ เกิดร่วมกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ เกิดร่วม กับขันธ์ ๓ เกิดขึ้น, ขันธ์ ๒ เกิดร่วมกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ฯลฯ
ในเหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ ... ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
ปัจจนียนัย
ในนเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ ฯลฯ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย
เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ... ฯลฯ ใน นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจจนียานุโลม
เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ... ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
สหชาตวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 105
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๓๑๑] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น, ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยวิบากขันธ์เกิดขึ้น.
๓. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๓๑๒] ๔. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 106
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น.
๖. วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น. เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ทั้งเป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๓๑๓] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิด ขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๘. วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 107
๙. วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๑๐. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น. ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
๑๑. วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย.
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๓๑๔] ๑๒. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น. ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๑๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 108
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
๑๔. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัย วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์ และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูป อาศัยวิบาก ขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๓๑๕] ๑๕. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๑๖. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
๑๗. วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 109
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๓๑๖] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะอารมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๓๑๗] ๒. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๓๑๘] ๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น, เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 110
๔. วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะเกิดขึ้น, โสตวิญญาณ อาศัย โสตายตนะเกิดขึ้น. ฆานวิญญาณ อาศัยฆานายตนะเกิดขึ้น, ชิวหาวิญญาณ อาศัย ชิวหายตนะเกิดขึ้น, กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ เกิดขึ้น, วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น, ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๕. วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
[๑๓๑๙] ๖. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และจักขายตนะเกิดขึ้น โสตายตนะ ฯลฯ ฆานายตนะ ฯลฯ ชิวหายตนะ ฯลฯ กายายตนะเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากขันธ์และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น. ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัทถุเกิดขึ้น.
[๑๓๒๐] ๗. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและ เนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 111
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
อธิปติปัจจัย
[๑๓๒๑] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะ อธิปติปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น มี ๓ วาระ. อธิปติปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ไม่มี.
อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๓๒๒] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น. ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
[๑๓๒๓] ๘. วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 112
๙. วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมม. ธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๑๐. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
๑๑. วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๓๒๔] ๑๒. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๑๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 113
๑๔. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิบากขันธ์ และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๓๒๕] ๑๕. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและ เนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๑๖. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
๑๗. วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะ อธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 114
๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย
[๑๓๒๖] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะสมนันตรปัจจัย ฯลฯ
เหมือนอารัมมณปัจจัย.
๕. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๗. อัญญมัญญปัจจัย
[๑๓๒๗] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย ... เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยวิบากขันธ์เกิดขึ้น.
๓. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๓๒๘] ๔. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
๑. มี ๑๗ วาระ ๒. มี ๙ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 115
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๓๒๙] ๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมนธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น.
ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมอาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๖. วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะเกิดขึ้น, วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๗. วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 116
[๑๓๓๐] ๘. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และจักขายตนะเกิดขึ้น ฯลฯ โสตายตนะ ฯลฯ ฆานายตน ฯลฯ ชิวหายตนะ ฯลฯ กายายตนะเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุเกิด ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
[๑๓๓๑] ๙. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุเกิด ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๘. นิสสยปัจจัย
[๑๓๓๒] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะนิสสยปัจจัย
เหมือนสหชาตปัจจัย.
๙. อุปนิสสยปัจจัย ๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
... ฯลฯ เพราะอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เพราะปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 117
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น. ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย.
เหมือนอนันตรปัจจัย ฯลฯ
๑๑. อาเสวนปัจจัย
[๑๓๓๓] ๑. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น. ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๓๓๔] ๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๓. วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
[๑๓๓๕] ๔. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและ เนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 118
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ และหทยวัตถุเกิดขึ้น. ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๑๒. กัมมปัจจัย
[๑๓๓๖] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
เหมือนสหชาตปัจจัย (คือมี ๑๗ วาระ)
๑๓. วิปากปัจจัย
[๑๓๓๗] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
๔. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย
คือ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
วิปากและธรรมทั้ง ๒ อาศัย มี ๓ วาระ.
อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 119
๑๔. อาหารปัจจัย ถึง ๒๓. อวิคตปัจจัย
เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทริยปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๑๓๓๘] ในเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัยมี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
เหตุมูลกนัย
[๑๓๓๙] เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ... ฯลฯ ... ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
ในกุสลติกะ นับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น
อนุโลมนัย จบ
๑. ดูการนับจำนวนวาระของปัจจัยเหล่านี้ จากข้อ ๑๓๓๘.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 120
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๓๔๐] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ซึ่งเป็นอเหตุกะเกิดขึ้น. มี ๓ วาระ.
๔. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น.
๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะเกิดขึ้น.
๖. วิปากธรรมอาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือจักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะเกิดขึ้น ฯลฯ
๗. วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 121
๘. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ วิบากขันธ์ ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น. ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ. ฯลฯ
๙. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย ฯลฯ
๑๐. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ... เกิดขึ้น ฯลฯ
๑๑. วิปากธรรมและเนววิปากธัมมธรรม ... เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
๑๒. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๒. นอารัมมณปัจจัย
เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย ฯลฯ
พึงแจกให้พิสดาร ทุกบท.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
สุทธมูลกนัย
[๑๓๔๑] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ใน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 122
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
นเหตุมูลกนัย
[๑๓๔๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๒ วาระ ฯลฯ ... ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ. พึงนับเหมือนการนับในปัจจนียะ ในกุสลติกะ.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนีนัย
[๑๓๔๓] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ฯลฯ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับเหมือนการนับในอนุโลมปัจจนียะ ในกุสลติกะ.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 123
ปัจจนียานุโลมนัย
[๑๓๔๔] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ... ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ... ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๒ วาระ.
เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ... ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
พึงนับเหมือนการนับในปัจจนียานุโลม ในกุสลติกะ.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปัจจยวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 124
นิสสยวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย
[๑๓๔๕] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ.
การนับจำนวนวาระในนิสสยวาระ
[๑๓๔๖] ในเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ ฯลฯ
ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ... ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ... ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.
เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ... ในอวิคตปัจจัย มี ๑๒ วาระ.
นิสสยวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 125
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย
[๑๓๔๗] วิปากธรรม เจือกับวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ฯลฯ
ทุกบท พึงแจกให้พิสดาร.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๓๔๘] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับจำนวนวาระ เหมือนในกุสลติกะ.
อนุโลมนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 126
ปัจจนียนัย
[๑๓๔๙] วิปากธรรม เจือกับวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ซึ่งเป็นอเหตุกะเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พึงแจกทุกบท.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๓๕๐] ในนเหตุปัจจัยมี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัยมี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุคคปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับเหมือนในปัจจนียะ ในกุสลติกะ
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
[๑๓๕๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับเหมือนในอนุโลมปัจจนียะ ในกุสลติกะ
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 127
ปัจจนียานุโลม
[๑๓๕๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ ในมัคคปัจจัยมี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
พึงนับเหมือนในปัจจนียานุโลม ในกุสลติกะ
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
สังสัฏฐวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 128
สัมปยุตตวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย
[๑๓๕๓] วิปากธรรม ประกอบกับวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ประกอบกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากขันธ์ เกิดขึ้น.
การนับจำนวนวาระในสัมปยุตตวาระ
ในเหตุปัจจัยมี ๓ วาระ ฯลฯ.
ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ.
เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ.
เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.
สัมปยุตตวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 129
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๓๕๔] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจ ของเหตุปัจจัย
คือ วิปากเหตุ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ วิปากเหตุ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ วิปากเหตุ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ วิปากเหตุ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๓. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
คือ วิปากเหตุ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ วิปากเหตุ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 130
[๑๓๕๕] ๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย.
๕. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๖. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๓๕๖] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๓๕๗] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 131
คือ บุคคลพิจารณาเห็นวิบากขันธ์ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็น ทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภวิบากขันธ์นั้น ราคะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศล อกุศลดับแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระเสกขบุคคล พิจารณาผล, พิจารณาเห็นวิบากขันธ์ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภวิบากขันธ์นั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น, ย่อมรู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยวิปากจิต ด้วยเจโตปริยญาณ.
วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๓. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอรหันต์ พิจารณาผล พิจารณาเห็นวิบากขันธ์ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, ย่อมรู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียง ด้วยวิปากจิต ด้วยเจโตปริยญาณ.
วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 132
[๑๓๕๘] ๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ แล้วพิจารณากุศลนั้น, พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ในกาลก่อน, ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน, พระเสกขบุคคลพิจารณาโคตรภู, พิจารณาโวทาน.
พระเสกขบุคคลออกจากมรรคพิจารณามรรค.
พระเสกขบุคคลพิจารณากิเลสที่ละแล้ว, พิจารณากิเลสที่ข่มไว้แล้ว, รู้กิเลสที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน, พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, ย่อมเพลินเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น, ย่อมรู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยวิปากธัมมธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนกุศล ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนกุศล ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๕. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 133
คือ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ ปรารภขันธ์นั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศล อกุศลดับแล้ว ตทารัมมณจิต อันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนวิบาก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๖. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจยัแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอรหันต์ ออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณากุศลธรรม ที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน พระอรหันต์พิจารนากิเลสที่ละแล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียง ด้วยวิปากธัมมธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนกิริยา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
อากิญจญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 134
[๑๓๕๙] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอรหันต์พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอรหันต์พิจารณาเห็นจักษุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ รู้จิต ของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนกิริยา เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนกิริยา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
อากิญจัญญายตนกิริยา เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๘. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ นิพพานเป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 135
พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น, เมื่อกุศลและอกุศล ดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยความเป็น ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ ปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศล ดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๙. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
คือ พระเสกขะ พิจารณานิพพาน. นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู. แก่ โวทาน แก่มรรค ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อม ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วย เจโตปริยญาณ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 136
ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๓๖๐] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว
คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว
คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระเสกขะ กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำวิบากขันธ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำวิบากขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
๓. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์ กระทำผลให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 137
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๔. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว
คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๓๖๑] ๕. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว กระทำกุศลนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา กระทำกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา, ออกจากฌานแล้ว กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
พระเสกขะกระทำโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา, กระทำโวทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
พระเสกขะออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว พิจารณา.
ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 138
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตขันธ์ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๖. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์ออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๗. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว
คือ ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็น วิปากธัมมธรรมเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๓๖๒] ๘. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 139
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๙. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว
คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๑๐. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว
คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระเสกขะกระทำ นิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน แก่มรรค ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โสตะ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำโสตะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
๕. อนันตรปัจจัย
[๑๓๖๓] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 140
คือ วิบากขันธ์ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ปัญจวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่มโนธาตุที่เป็นวิบาก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
มโนธาตุที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบาก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ภวังค์ เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นกิริยา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๓๖๔] ๓. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน.
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค.
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 141
๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล.
อนุโลมของพระเสกขะ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ.
เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลของพระอริยบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๓๖๕] ๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๖. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ปัญจวิญญาณ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 142
อนุโลมของพระอรหันต์ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ.
เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาของพระอรหันต์ ผู้ออกจากนิโรธ เป็น ปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจ ของอนันตรปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย
[๑๓๖๖] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจ ของสมนันตรปัจจัย ฯลฯ
เหมือนอนันตรปัจจัย.
๖. สหชาตปัจจัย
๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ มี ๓ วาระ.
[๑๓๖๗] ๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 143
๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ฯลฯ
มหาภูตรูป ... พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
[๑๓๖๘] ๘. เนววิปากวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย.
[๑๓๖๙] ๙. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็น ปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ.
๑๐. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 144
[๑๓๗๐] ๑๑. วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
๗. อัญญมัญญปัจจัย
[๑๓๗๑] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปาก ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วย อำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
๓. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๑๓๗๒] ๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 145
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
๖. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๑๓๗๓] ๗. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก และหทยวัตถุ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ.
ปัญหาวาระ มี ๗ วาระ.
นิสสยปัจจัย
[๑๓๗๔] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 146
๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม มี ๓ วาระ.
๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ฯลฯ
๘. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม
คือ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ วิบากขันธ์.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์.
๙. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม.
[๑๓๗๕] ๑๐. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ ฯลฯ และ กายายตนะ ฯลฯ
ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากและหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปาก และหทยวัตถุ ฯลฯ.
๑๑. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 147
คือ ขันธ์ที่เป็นวิบาก และมหาภูตรูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๑๒. วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ.
๑๓. วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
มี ๑๓ วาระ.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๑๓๗๖] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ กายิกสุข เป็นปัจจัยแก่กายิกสุข แก่กายิกทุกข์ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, กายิกทุกข์ เป็น ปัจจัยแก่กายิกสุข แก่กายิกทุกข์ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, ผลสมาบัติ เป็นปัจจัยแก่กายิกสุข ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 148
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่บุคคลอาศัยกายิกสุข ให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ ทำลายสงฆ์, อาศัยกายิกทุกข์ ให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ ทำลายสงฆ์ กายิกสุข ฯลฯ กายิกทุกข์ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๓. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอรหันต์ อาศัยกายิกสุข ทำกิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น, เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว, พิจารณาเห็นสังขาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, อาศัยกายิกทุกข์ ทำกิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว.
[๑๓๗๗] ๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธา ให้ทาน ฯลฯ ถือมานะ ทิฏฐิ, อาศัยศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ให้ทาน ฯลฯ ถือมานะ ทิฏฐิ, อาศัยราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา ให้ทาน ฯลฯ ทำ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 149
สมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ ความ ปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ ศรัทธา ศีล ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.
บริกรรมแห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ฯลฯ บริกรรมแห่ง เนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.
ปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัย แก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ฯลฯ บริกรรมแห่ง จตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค.
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค, ทุติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ตติยมรรค, ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระเสขบุคคลอาศัยมรรค ทำกุศลสมาบัติ ที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น ฯลฯ
มรรค เป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทาของพระเสขบุคคล ฯลฯ แก่ความ เป็นผู้ฉลาดในฐานะและอฐานะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ปาณาติบาต เป็นปัจจัยแก่ปาณาติบาต ฯลฯ แก่มิจฉาทิฏฐิ ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ มิจฉาทิฏฐิ เป็นปัจจัยแก่มิจฉาทิฏฐิ ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย, ฯลฯ พยาบาท เป็นปัจจัยแก่พยาบาท ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, มาตุฆาตกรรม เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ แก่นิยตมิจฉาทิฏฐิ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, นิยตมิจฉาทิฏฐิ เป็นปัจจัยแก่นิยตมิจฉาทิฏฐิ แก่สังฆเภทกรรม ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 150
[๑๓๗๘] ๕. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ.
ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธา ทำคนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน, เสวยทุกข์ที่มีการแสวงหาเป็นมูล, ฯลฯ อาศัยความปรารถนา ทำตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ กายิกสุข แก่กายิกทุกข์ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
กุศลและอกุศลกรรม เป็นปัจจัยแก่กรรมวิบาก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๖. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ.
ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอรหันต์อาศัยมรรค ทำกิริยาสมาบัติ ที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว พิจารณาเห็นสังขารโดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ มรรค เป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา แก่ธัมมปฏิสัมภิทา แก่นิรุตติปฏิสัมภิทา แก่ปฏิภาณปฏิสัมภิทาของพระอรหันต์ แก่ความเป็นผู้ฉลาดในฐานะและอฐานะ ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.
[๑๓๗๙] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 151
มี ๓ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ.
ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอรหันต์อาศัยอุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ทำกิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิดขึ้นให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว.
๘. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ.
ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่กายิกสุข แก่กายิกทุกข์ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
๙. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ.
ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยอุตุ ให้ทาน ฯลฯ ทำ ลายสงฆ์, อาศัยโภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์, อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๑๓๘๐] ๑. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 152
ที่เป็นอารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ พระอรหันต์เห็นจักษุ ฯลฯ กายะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ เห็นรูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ ฯลฯ.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๒. เนววัปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.
ที่เป็นอารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณา เห็นจักษุโดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น. พิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุโดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ตทารัมมณจิต อันเป็นวิบากย่อมเกิดขึ้น.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็นวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 153
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณา เห็นจักษุ ฯลฯ เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น พิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
ที่เป็นวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๓๘๑] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ วิบากขันธ์ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๓๘๒] ๒. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๑๓๘๓] ๑. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 154
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธรรมที่เกิดขึ้นก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดขึ้นหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน, โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๑๓๘๔] ๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ที่เกิดก่อนๆ ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๑๓๘๕] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรมด้วยอำนาจ ของกัมมปัจจัย
คือ วิปากเจตนาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตขันธ์ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ วิปากเจตนา ฯลฯ.
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ วิปากเจตนา เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย. ในปฏิสนธิขณะ วิปากเจตนา เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เจตนา เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๓. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 155
คือ วิปากเจตนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ วิปากเจตนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๓๘๖] ๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตขันธ์ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๕. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว
คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๖. วิปากกัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปาก ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๗. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรมและ เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 156
มีอย่างเดียว
คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๘. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๓๘๗] ๙. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๑๔. วิปากปัจจัย
[๑๓๘๘] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 157
ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย, ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ฯลฯ
๓. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ
๑๕. อาหารปัจจัย
๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารที่เป็นวิปาก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ มี ๓ วาระ.
แม้ในปฏิสนธิขณะ พึงแจกให้ได้ ๓ วาระ
๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๓๘๙ (๑) ] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
กพฬีการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
(๑) เลขข้อควรวางไว้หน้า ข้อ ๑. ของอาหารปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 158
๑๖. อินทริยปัจจัย
[๑๓๙๐] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ.
ในปฏิสนธิขณะ ก็พึงแจก.
๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๓๙๑] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐาน ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๘. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ
[๑๓๙๒] ๙. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ จักขุนทรีย์และจักขุวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 159
กายินทรีย์และกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๑๗. ฌานปัจจัย
[๑๓๙๓] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.
๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.
๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย
คือ องค์ฌานที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
๑๘. มัคคปัจจัย
[๑๓๙๔] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.
๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.
๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 160
คือ องค์มรรคที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.
๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
[๑๓๙๕] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๓๙๖] ๒. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย
๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย
คือ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
[๑๓๙๗] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 161
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ วิบากขันธ์ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูป. ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ วิบากขันธ์ที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๓๙๘] ๒. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๓๙๙] ๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง
คือ ที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมที่ เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุที่เกิดก่อนเป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 162
๔. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายาตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ. หทยวัทถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว
คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๑๔๐๐] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ ฯลฯ
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 163
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ วิบากขันธ์ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ วิบากขันธ์ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๓. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๑๔๐๑] ๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๕. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 164
๖. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.
[๑๔๐๒] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
มี ๕ อย่าง
คือ ที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย, ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย. มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
มหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป แก่กฏัตตารูป ที่เป็น อุปาทารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ พระอรหันต์ พิจารณาเห็นจักษุ โสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ ฯลฯ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 165
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กพฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๘. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง
คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุโดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดีเพลิดเพลิน. เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบากย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ ย่อมพิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบากย่อมเกิดขึ้น.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักษุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ. หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๙. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว
คือ ปุเรชาตะ ได้แก่พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุ โสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 166
เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๔๐๓] ๑๐. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัย แก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี อย่างเดียว
คือ ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ.
ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณที่เกิดพร้อมกัน และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ , ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ ฯลฯ
๑๑. วิปากธรรม และเนวิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง
คือ ที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ วิบากขันธ์และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูป. ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูป.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่ วิบากขันธ์เกิดภายหลังและกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่ วิบากขันธ์ที่เกิดภายหลังและรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป.
[๑๔๐๔] ๑๒. วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 167
มี อย่างเดียว
คือ ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ.
ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดพร้อมกันและหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ.
๑๓. วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง
คือ ที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดพร้อมกัน และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดภายหลังและกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดมาภายหลังและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป.
๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย
วิปากธัมมธรรม ฯลฯ.
นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย เหมือนอนันตรปัจจัย.
อวิคตปัจจัย เหมือนอัตถิปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๑๔๐๕] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ. ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 168
มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ใน มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
[๑๔๐๖] เพราะเหตุปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ... ในสหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
การนับวาระในอนุโลมแห่งปัญหาวาระ ในกุสลติกะท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๑๔๐๗] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 169
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๓. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็น ปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๔. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๔๐๘] ๕. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๖. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๗. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 170
๘. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๙. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๔๐๙] ๑๐. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตะปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๑๑. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๑๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๔๑๐] ๑๓. วิปากธรรม และเนววิปาก นวิปากธัมมธรรมเป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 171
มี ๑ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ (สหชาตะ+ ปุเรชาตะ)
๑๔. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ (คือปัจฉาชาตาหารและปัจฉาชาตินทริยะ)
[๑๔๑๑] ๑๕. วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
มี ๑ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
๑๖. วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระและรวมกับอินทริยะ (คือปัจฉาชาตาหารและปัจฉาชาตินทริยะ)
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
สุทธมูลกนัย
[๑๔๑๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนอธิปติปัจจัยมี ๑๖ วาระ ในนอนันตรปัจจัยมี ๑๖ วาระ ในนสมนันตรปัจจัยมี ๑๖ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัยมี ๑๒ วาระ ในนนิสสยปัจจัยมี ๑๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัยมี ๑๖
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 172
วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑๕ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนมัคคปัจจัยมี ๑๖ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ.
[๑๔๑๓] เพราะนเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๖ วาระ ... ในโนอวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ.
พึงนับให้พิสดารเหมือนที่นับปัจจนียะ ในกุสลติกะ.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๔๑๔] เพราะนเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ โนนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 173
[๑๔๑๕] ปัจจัย ๕ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย นิสสยปัจจัย อัตถิปัจจัย อวิคตปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ... ฯลฯ ... ใน โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
พึงนับให้พิสดารเหมือนที่นับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ ในกุสลติกะ. ผู้มีปัญญาพึงจำแนกวิธีสาธยาย เช่นนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๔๑๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ในอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
[๑๔๑๗] เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 174
พึงนับให้พิสดารเหมือนการนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ ในกุสลติกะ.
ปัจจนียานุโลม จบ
วิปากติกะที่ ๓ จบ
อรรถกถาพรรณนาเนื้อความแห่งวิปากติกปัฏฐาน
พึงทราบวินิจฉัยใน วิปากติกะ ต่อไป วาระ ๑๓ เหล่าใดที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในเหตุปัจจัยว่า วิปากํ ธมฺมํ ปฏิจฺจ วิปาโก ธมฺโม อุปฺปชฺชติ เหตุปจฺจยา เพื่อจะย่อแสดงวาระเหล่านั้น ด้วยการนับ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า เหตุยา เตรส แม้ในคำว่า อารมฺมเณ ปญฺจ เป็นต้น ก็นัยนี้เหมือนกัน. ในอธิการนี้มีการกำหนดวิธีนับ ๖ อย่าง
คือ ๑๓ - ๕- ๙ - ๗ - ๓ - ๒ ด้วยประการฉะนี้ ในการรวมปัจจัยด้วยอำนาจแห่งวิธีนั้นเหล่านั้น ผู้ศึกษาพึงทราบวิธีคำนวณโดยนัยที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้แล้วในหนหลัง.
จริงอยู่ ในปัจจนียนัย พระผู้มีพระภาคเจ้าเพื่อจะย่อแสดงวาระ ๑๐ ที่ตรัสไว้ใน นเหตุปัจจัย ว่า วิปากํ ธมฺมํ ปฏิจฺจ วิปาโก ธมฺโม อุปฺปชฺชติ นเหตุปจฺจยา โดยการคำนวน จึงตรัสว่า น เหตุยา ทส แม้ ในคำว่า น อารมฺมเณ ปญฺจ เป็นต้น ก็นัยนี้เหมือนกัน ในอธิการนี้มีการกำหนดวิธีนับ ๘ อย่าง
คือ ๑๐ - ๕ - ๑๓ - ๑๒ - ๒ - ๑ - ๙ - ๓ ด้วยประการฉะนี้ ในการรวมปัจจัยด้วยอำนาจการกำหนดวิธีนับเหล่านั้น ผู้ศึกษาพึงทราบการ กำหนดโดยพิสดาร ตามนัยที่ข้าพเจ้ากล่าวแล้วในหนหลัง ส่วนบาลีพระผู้มี-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 175
พระภาคเจ้าทรงย่อไว้ ก็ผู้ศึกษาพึงเทียบเคียงด้วยอำนาจการกำหนดที่มีได้เหล่านี้เอง แล้วทราบอนุโสมปัจจนียนัย และปัจจนียานุโลนัยเถิด.
สหชาตวาระ มีคติอย่างเดียวกับ ปัจจยวาระ นิสสยวาระ สังสัฏฐวาระ และสัมปยุตตวาระ ย่อมกำหนดตามบาลีนั่นเอง.
พึงทราบวินิจฉัยใน ปัญหาวาระ ต่อไป. สองบทว่า กุสลากุสเล นิรุทฺเธ ความว่า เมื่อกุศลอันเป็นไปด้วยอำนาจวิปัสสนา และเมื่ออกุศล อันเป็นไปด้วยอำนาจความกำหนัดเป็นต้นนี้ดับไปแล้ว. คำว่า วิปาโก ตทารมฺมณตา อุปฺปชฺชติ ความว่า กามาวจรวิบากย่อมเกิดขึ้นโดยเป็นตทารัมมณะ ส่วนอาจารย์เหล่าใดกล่าวว่า ในที่สุดแห่งวิปัสสนาชวนะ และวิจิกิจฉาสัมปยุตตจิต อุทธัจจสัมปยุตตจิตไม่มีตทารัมมณะ อาจารย์ เหล่านั้นพึงถูกคัดค้านด้วยพระบาลีนี้. คำว่า อากาสานญฺจายนกุสลํ วิญฺญาณญฺจายตนกิริยสฺส อารมฺมณปจฺจเยน ปจฺจโย นี้ ท่านกล่าวไว้ด้วยอำนาจแห่งบุคคลผู้บรรลุพระอรหัต แล้วเข้าสมาบัติที่ไม่เคยเข้าโดยปฏิโลม. ในวิสัชนาทั้งปวง ผู้ศึกษาพิจารณาบาลีให้ดีแล้ว พึงทราบเนื้อความ โดยอุบายนี้.
แม้ในคำว่า เหตุยา สตฺต อารมฺมเณ นว อธิปติยา ทส เป็นต้น ผู้ศึกษาพึงทราบด้วยอำนาจแห่งสหชาตาธิปติปัจจัย อารัมมณาธิปติปัจจัย สหชาตนิสสยปัจจัย ปุเรชาตนิสสยปัจจัย อนันตรูปนิสสยปัจจัย อารัมมณูปนิสสยปัจจัย ปกตูปนิสสยปัจจัย สหชาตวิปปยุตตปัจจัย และปุเรชาตวิปปยุตตปัจจัย เพราะฉะนั้นในปัจจัยใดๆ ได้วิสัชนาจำนวนเท่าใด โดยประการใดๆ ผู้ศึกษาพึงกำหนดวิสัชนาเหล่านั้นทั้งหมดในปัจจัยนั้นๆ โดยประการ นั้นๆ. อนึ่ง วิธีทั้งหมดคือการยกวาระด้วยอำนาจอนุโลมในปัจจนียนัยเป็น
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 176
ต้น การนับคือการรวมปัจจัยที่มีวาระอันได้โดยอนุโลมโดยเป็นปัจจนียะ การมีได้การมีไม่ได้แห่งปัจจัยซึ่งมีวาระและการนับที่มีไม่ได้ ในเหตุมูลกนัยเป็นต้น ล้วนๆ ในอนุโลมปัจจยนียะ และปัจจนียานุโลม และที่เป็นไปด้วยอำนาจการรวม (ปัจจัย) ผู้ศึกษาพึงทราบด้วยอำนาจแห่งนัยที่ข้าพเจ้ากล่าวในหนหลัง ก็แม้ในติกะและทุกะนอกจากนี้ก็พึงทราบเหมือนในอธิการนี้.
จริงอยู่ ปัฏฐานปกรณ์ว่าโดยบาลีแล้ว มีปริมาณไม่สิ้นสุด แม้บุคคลมีอายุยืนยิ่ง ปฏิบัติด้วยคิดว่า จักพรรณนาเนื้อความแห่งปัฏฐานนั้นตามลำดับบท อายุย่อมไม่เพียงพอ ก็เมื่อท่านพรรณนา ส่วนหนึ่งแห่งปัฏฐานแล้ว แสดงส่วนที่เหลือไปตามนัย (นั้น) ผู้ศึกษาไม่สามารถทราบเนื้อความได้ก็หาไม่ เพราะฉะนั้นต่อจากนี้ไป ข้าพเจ้าจะไม่กล่าวคำมีประมาณเท่านี้ก่อน จักกล่าวเฉพาะคำที่จำเป็นต้องกล่าวเท่านั้น เพราะมีประการที่พระผู้มีพระภาคเจ้ายังไม่ได้ตรัสในหนหลัง ในติกะและทุกะที่เหลือ ก็คำที่ข้าพเจ้าไม่ได้กล่าวถึง ผ่านไปเสีย ผู้ศึกษาพึงทราบตามนัยแห่งพระบาลี แล.
อรรถกถาพรรณนาเนื้อความแห่งวิปากติกปัฏฐาน จบ