พระภิกขุเวลาลงสวดพระปาฏิโมกข์ ท่านสวด อย่างไรครับ?
โดย jirasak0143  27 เม.ย. 2550
หัวข้อหมายเลข 3567

กราบเรียนขอความอนุเคราะห์อาจารย์ เวลาพระภิกษุท่านลงสวดพระปาฏิโมกข์ ท่านสวดตามลำดับในพระวินัยปิฎก หรือมีการย่อ และพอจะมี Web ไหน คัดลอกวิธีการสวดข้อความตั้งแต่ต้นจนจบไว้บ้างครับ ผมหาหลาย Web แล้วไม่พบครับ ขอความอนุเคราะห์ด้วยครับ



ความคิดเห็น 1    โดย study  วันที่ 27 เม.ย. 2550

เวลาพระภิกษุท่านลงปาฏิโมกข์ ภิกษุผู้สวดท่านจะสวดสิกขาบท ๒๒๗ ตามลำดับทั่วไปจะนิยมสวดภาษาบาลี ที่มูลนิธิมหามกุฏ หน้าวัดบวรมีจำหน่าย ทั้งแบบบาลีล้วนและบาลีแปลเป็นไทยก็มี

ในที่นี้ขอนำคำสวดบางส่วนที่พระท่านสวดมาให้ดูเป็นตัวอย่างดังนี้


ความคิดเห็น 2    โดย study  วันที่ 27 เม.ย. 2550

ภิกฺขุปาฏิโมกฺขปาลิ - หน้าที่ 1

ภิกฺขุปาฏิโมกฺขปาลิ อุโปสถกรณโต ปุพฺเพ นววิธํ ปุพฺเพกิจฺจํ กาตพฺพํ โหติ. ตณฺฐานสมฺมชฺชนญฺจตตฺถ ปทีปุชฺชลนญจ อาสนปญฺปนญฺจปานียปริโภชนียูปฏฺปนญฺจ ฉนฺทารหานํภิกฺขุนํ ฉนฺทาหรณญจ เตสญฺเญว อกตุโปสถานํ ปาริสุทฺธิยาปิ อาหรณญฺจอุตุกฺขานญจ ภิกฺขุคณนา จ ภิกฺขุนีนโมวาโท จาติ. ตตฺถ ปุริมานิ จตฺตาริ ภิกฺขุนํ วตฺตํชานนฺเตหิ อารามิเกหิปิ ภิกฺขูหิปิ กตานิปรินิฏฺฐิตานิ โหนฺติ. ฉนฺทาหรณ ปาริสุทฺธิ อาหรณานิ ๕ ปน อิมิสฺสํ สีมายํ หตฺถปาสํ วิชหิตฺวานิสินฺนานํ ภิกฺขูนํ อภาวโต นตฺถิ. อุตุกฺขานํ นาม เอตตฺตกํ อติกฺกนฺตํ,เอตฺตกํ อวสิฏฺฐนฺติ เอวํ อุตุอาจิกฺขนํ;อุตูนีธ ปน สาสเน เหมนฺตคิมฺหวสฺสานานํ วเสน ตีณิ โหนฺติ. อยํ เหมนฺโตตุ ๖ อสฺมิญฺจ อุตุมฺหิ อฏฺฐ อุโปสถา, อิมินาปกฺเขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโตสตฺต อุโปสถา อวสิฏฺฐ อิติ เอวํสพฺเพหิ อายสฺมนฺเตหิ อุตุกฺขานํ ธาเรตพฺพํภิกฺขุคณนา นาม อิมสฺนึ อุโปสถคฺเคลอุโปสถตฺถาย สนฺนิปติตา ภิกฺขูเอตฺตกาติ ภิกฺขูนํ คณนา. อิมสฺมิมฺปน อุโปสถคฺเค จตฺตาโร ภิกฺขู สนฺนิปติตาโหนฺติ อิติ สพฺเพริ อายสฺมนฺเตหิภิกฺขุคณนาปิ ธาเรตพฺพา. ภิกฺขุนีนโมวาโท ปน อิทานิ ตาสํนตฺถิตาย นตฺถิ. อิติ สกรโณกาสานํปุพฺพกิจฺจานํ กตตฺตา นิกฺกรโณกาสานํปุพฺพกิจฺจานํ ปกติยา ปรินิฏฐิตตฺตาเอวนฺตํ นววิธํ ปุพฺพกิจฺจํ ปรินิฏฺฐิตํ โหติ.


ความคิดเห็น 3    โดย study  วันที่ 27 เม.ย. 2550

ภิกฺขุปาฏิโมกฺขปาลิ - หน้าที่ 19

นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส. สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. อชฺชุโปสโถปณฺณรโส. ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลิลํ,สงฺโฆ อุโปสถํ กเรยฺย, ปาฏิโมกฺขํอุทฺทิเสยฺย. กึ สงฺฆสฺส ปุพฺพกิจฺจํ, ปาริสุทฺธึอายสฺมนฺโต อาโรเจถ, ปาฏิโมกฺขํ อุทฺทิ-สิสฺสามิ. ตํ สพฺเพว สนฺตา สาธุกํสุโณม มนสิกโรม. ยสฺส สิยา อาปตฺติ,โส อาวิกเรยฺย, อสนฺติยา อาปาตฺติยาตุณฺหี ภวิตพฺพํ. ตุณฺหีภาเวน โข ปนา-ยสฺมนฺเต ปริสุทฺธาติ เวทิสฺสามิ. ยถาโข ปน ปจฺเจกปุฏฺฐสฺส เวยฺยากรณํโหติ, เอวเมวํ เอวรูปาย ปริสาย ยาว-ตติยํ อนุสฺสาวิตํ โหติ. โย ปน ภิกฺขุยาวตติยํ อนุสฺสาวิยมาเน สรมาโนสนฺตึ อาปตฺตึ นาวิกเรยฺย, สมฺปชานมุสา-วาทสฺส โหติ, สมฺปชานมุสาวาโท โขปนายสฺมนฺโต อนฺตรายิโก ธมฺโม วุตฺโตภควตา; ตสฺมา สรมาเนน ภิกฺขุนาอาปนฺเนน วิสุทฺธราเปกฺเขน สนฺตี อาปตฺติอาวิกาตพฺพา. อาวิกตา หิสฺส ผาสุโหติ นิทานุทฺเทโส นิฏฺฐิโต. ตตฺริเม จตฺตาโร ปาราชิกา ธมฺมาอุทฺเทสํ อาคจฺฉนฺติ. ๑. โย ปน ภิกฺขุ ภิกฺขูนํ สิกาขาสาชีว-สมาปนฺโน สิกฺขํ อปฺปจฺจกฺขาย ทุพฺพลฺยํอนาวิกตฺวา เมถุนํ ธมฺมํ ปฏิเสเวยฺยอนฺตมโส ติรจฺฉานคตายปิ, ปาราชิโกโหติ อสํวาโส. ๒. โย ปน ภิกฺขุ คามา วา อรญฺาวา อทินฺนํ เถยฺยสงฺขาตํ อาทิเยยฺย,ยถารูเป อทินฺนาทาเน ราชาโน โจรํคเหตฺวา หเนยฺยุํ วา พนฺเธยฺยุํ วาปพฺพาเชยฺยุํ วา " โจโรสิ พาโลสิมูฬฺโหสิ เถโนสีติ; ตถารูปํ ภิกฺขุ อทินฺนํอาทิตยมาโน, อยมฺปิ ปาราชิโก โหติอสํวาโส. ๓. โย ปน ภิกฺขุ สญฺจิจฺจ มนุสฺส-วิคฺคหํ ชีวิตา โวโรเปยฺย, สตฺถหารกํวาสฺส ปริเยเสยฺย, มรณวณฺณํ วาสํวณฺเณยฺย, มรณาย วา สมาทเปยฺย" อมฺโภ ปุริส กึ ตุยฺหิมินา ปาปเกนทุชฺชีวิเตน, มตนฺเต ชีวิตา เสยฺโยติ;อิติ จิตฺตมโน จิตฺตสงฺกปฺโป อเนก-ปริยาเยน มรณวณฺณํ วา สํวณฺเณยฺย,มรณาย วา สมาทเปยฺย; อยมฺปิปาราชิโก โหติ อสํวาโส. ๔. โย ปน ภิกฺขุ อนภิชานํ อุตฺตริ-มนุสฺสธมฺมํ อตฺตูปนายิกํ อลมริยาณ-ทสฺสนํ สมุทาจเรยฺย "อิติ ชานามิ,อิติ ปสฺสามีติ; ตโต อปเรน สมเยนสมนุคฺคาหิยมาโน วา อสมนุคฺคาหิยมาโนวา อาปนฺโน วิสุทฺธาเปกฺโข เอวํ วเทยฺย" อชานเมวํ อาวุโส อวจํ ' ชานามิ 'อปสฺสํ ' ปสฺสามิ ' ตุจฺฉํ มุสา วิลปินฺติ,อญฺตฺร อธิมานา; อยมฺปิ ปาราชิโกโหติ อสํวาโส. อุทฺทิฏฺฐา โข อายสฺมนฺโต จตฺตาโรปาราชิกา ธมฺมา, เยสํ ภิกฺขุ อญฺตรํวา อญฺตรํ วา อาปชฺชิตฺวา น ลภติภิกฺขูหิ สทฺธึ สํวาสํ, ยถา ปุเร; ตถาปจฺฉา; ปาราชิโก โหติ อสํวาโว. ตตฺถายสฺมนฺเต ปุจฺฉามิ: กจฺจิตฺถปริสุทฺธา? ทุติยมฺปิ ปุจฉามิ: กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา? ตติยมฺปิ ปุจฺฉามิ: กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา? ปริสุทฺเธตฺถายสฺมนฺโต; ตสฺมา ตุณฺหี,เอวเมตํ ธารยามิ. ปาราชิกุทฺเทโส นิฏฺฐิโต.


ความคิดเห็น 4    โดย study  วันที่ 27 เม.ย. 2550

ภิกฺขุปาฏิโมกฺขปาลิ - หน้าที่ 25

อิเม โข ปนายสฺมนฺโต เตรสสงฺฆาทิเสสา ธมฺมา อุทฺเทสํ อาคจฺฉนฺติ. ๑. สญเจตนิกา สุกฺกวิสฏฺ€ิ, อญฺตฺรสุปินนฺตา สงฺฆาทิเสโส. ๒. โย ปน ภิกฺขุ โอติณฺโณ วิปริณ-เตน จิตฺเตน มาตุคาเมน สทฺธึ กาย-สํสคฺคํ สมาปชฺเชยฺย, หตฺถคาหํ วาเวณิคาหํ วา อญฺตรสฺส วา อญฺตรสฺสวา องฺคสฺส ปรามสนํ, สงฺฆาทิเสโส. ๓. โย ปน ภิกฺขุ โอติณฺโณวิปริณเตน จิตฺเตน มาตุคามํ ทุฏฺ€ุลฺลาหิวาจาหิ โอภาเสยฺย, ยถาตํ ยุวา ยุวตึเมถุนูปสญฺหิตาหิ; สงฺฆาทเสโส. ฯลฯ อิเม โข ปนายสฺมนฺโต เทฺว อนิยตาธมฺมา อุทฺเทสํ อาคจฺฉนฺติ. ๑. โย ปน ภิกฺขุ มาตุคาเมน สทฺธึเอโก เอกาย รโห ปฏิจฺฉนฺเน อาสเนอลํกมฺมนิเย นิสชฺชํ กปฺเปยฺย; ตเมนํสทฺเธยฺยวจสา อุปาสิกา ทิสฺวา ติณฺณํธมฺมานํ อฺตเรน วเทยฺย ปาราชิเกน วาสงฺฆาทิเสเสน วา ปาจิตฺติเยน วา, นิสชฺชํภิกฺขุ ปฏิชานมาโน ติณฺณํ ธมฺมานํอญฺตเรน กาเรตพฺโพ ปาราชิเกน วาสงฺฆาทิเสเสน วา ปาจิตฺติเยน วา; เยนวา สา สทฺเธยฺยวจสา อุปาสิกา วเทยฺย, เตนโส ภิกฺขุ กาเรตพฺโพ; อยํ ธมฺโม อนิยโต. ฯลฯ อิเม โข ปนายสฺมนฺโต ตึส นิสฺสคฺคิยาปาจิตฺติยา ธมฺมา อุทฺเทสํ อาคจฺฉนฺติ. ๑. นิฏฺ€ิตจีวรสฺมึ ภิกฺขุนา อุพฺภตสฺมึก€ิเน, ทสาหปรมํ อติเรกจีวรํ ธาเรตพฺพํ,ตํ อติกฺกามยโต, นิสฺสคฺคิยํ ปาจิตฺติยํ. ๒. นิฏฺ€ิตจีวรสฺมึ ภิกฺขุนา อุพฺภตสฺมึก€ิเน, เอกรตฺตมฺปิ เจ ภิกฺขุ ติจีวเรนวิปฺปวเสยฺย, อญฺตฺร ภิกฺขุสมฺมติยา,นิสฺสคฺคิยํ ปาจิตฺติยํ.

ฯลฯ อิเม โข ปนายสฺมนฺโต เทฺวนวุติปาจิตฺติยา ธมฺมา อุทฺเทสํ อาคจฺฉนฺติ. ๑. สมฺปชานมุสาวาเท ปาจิตฺติยํ. ๒. โอมสวาเท ปาจิตฺติยํ. ๓. ภิกฺขุเปสุฺเ ปาจิตฺติยํ. ๔. โย ปน ภิกฺขุ อนุปสมฺปนฺนํ ปทโสธมฺมํ วาเจยฺย, ปาจิตฺติยํ. ๕. โย ปน ภิกฺขุ อนุปสมฺปนฺเนนอุตฺตริทฺวิรตฺตติรตฺตํ สหเสยฺยํ กปฺเปยฺย,ปาจิตฺติยํ. ฯลฯ

ภิกฺขุปาฏิโมกฺขปาลิ - หน้าที่ 109

อุทฺทิฏ€ํ โข อายสฺมนฺโต นิทานํ.อุทฺทิฏฺฐา จตฺตาโร ปาราชิกา ธมฺมา.อุทฺทิฏฺฐา เตรส สงฺฆาทิเสสา ธมฺมา.อุทฺทิฏฺ€า เทฺว อนิยตา ธมฺมา. อุทฺทิฏฺ€า ตึส นิสฺสคฺคิยา ปาจิตฺติยา ธมฺมา.อุทฺทิฏฺ€า เทฺวนวุติ ปาจิตฺติยา ธมฺมา.อุทฺทิฏฺ€า จตฺตาโร ปาฏิเทสนียา ธมฺมา.อุทฺทิฏฺฐา เสขิยา ธมฺมา. อุทฺทิฏฺ€า สตฺตาธิกรณสมถา ธมฺมา.เอตฺตกนฺตสฺส ภควโต สุตฺตาคตํสุตฺตปริยาปนฺนํ อนฺวฑฺฒมาสํ อุทฺเทสํอาคจฺฉติ. ตตฺถ สพฺเพเหว สมคฺเคหิสมฺโมทมาเนหิ อวิวทมาเนหิ สิกฺขิตพฺพนฺติ. ภิกฺขุปาฏิโมกฺขํ นิฏฺ€ิตํ.


ความคิดเห็น 5    โดย แล้วเจอกัน  วันที่ 27 เม.ย. 2550

ขอนอบน้อมแด่พระรัตนตรัย

อนุโมทนาครับ


ความคิดเห็น 6    โดย jirasak0143  วันที่ 28 เม.ย. 2550

ขอความเจริญยั่งยืนแด่ท่านครับ

จิรศักดิ์


ความคิดเห็น 7    โดย wannee.s  วันที่ 28 เม.ย. 2550

หลังจากที่มีภิกษุประพฤติไม่สมควร พระพุทธเจ้าจึงทรงบัญญัติสิกขาบท ตั้งแต่นั้นมาให้ภิกษุสงฆ์สวดปาฏิโมกข์ทุกกึ่งเดือน ปาฏิโมกข์ แปลว่า พ้นอย่างยิ่ง รักษาผู้ประพฤติไม่ให้ตกไปสู่ภูมิต่ำ


ความคิดเห็น 8    โดย peem  วันที่ 22 ส.ค. 2557

ขอบพระคุณ และขออนุโมทนาค่ะ


ความคิดเห็น 9    โดย wirat.k  วันที่ 24 ม.ค. 2558

ขอบพระคุณ และขออนุโมทนาครับ


ความคิดเห็น 10    โดย chatchai.k  วันที่ 29 ธ.ค. 2563

ขออนุโมทนาครับ


ความคิดเห็น 11    โดย yu_da2554hotmail  วันที่ 4 มิ.ย. 2567

ยินดีในกุศลจิตค่ะ


ความคิดเห็น 12    โดย Jarunee.A  วันที่ 13 ก.ค. 2567

ขอบพระคุณ และขออนุโมทนาค่ะ