๖๐. จิตตสมุฏฐานทุกะ
โดย บ้านธัมมะ  28 ก.พ. 2565
หัวข้อหมายเลข 42304

[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๕

อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)

๖๐. จิตตสมุฏฐานทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 154

๑. เหตุปัจจัย 153/154

๒. อารัมมณปัจจัย 154/157

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 155/159

ปัจจนียนัย 159

๑. นเหตุปัจจัย 156/159

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 158/164

อนุโลมปัจจนียนัย 165

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 159/1650

ปัจจนียานุโลมนัย 165

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 160/165

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 166

๑. เหตุปัจจัย 161/166

๒. อารัมมณปัจจัย 162/167

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 163/169

ปัจจนียนัย 170

๑. นเหตุปัจจัย 164/170

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 165/170

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 171

๑. เหตุปัจจัย 166/171

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 167/172

ปัจจนียนัย 172

๑. นเหตุปัจจัย 168/172

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 169/173

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 174

๑. เหตุปัจจัย 170/174

๒. อารัมมณปัจจัย 171/175

๓. อธิปติปัจจัย 172/177

๔. อนันตรปัจจัย 173/179

๕. สมนันตรปัจจัย 180

๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 174/180

๙. อุปนิสสยปัจจัย 175/180

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 176/182

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ๑๒. อาเสวนปัจจัย 177/187

๑๓. กัมมปัจจัย 178/188

๑๔. วิปากปัจจัย 179/189

๑๕. อาหารปัจจัย 180/189

๑๖. อินทริยปัจจัย 181/192

๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 194

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 182/194

๒๑. อัตถิปัจจยั 183/197

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 200

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 184/200

ปัจจนียนัย 200

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 185/200

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 186/203

อนุโลมปัจจนียนัย 203

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 187/203

ปัจจนียานุโลมนัย 204

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 188/204


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]



ความคิดเห็น 1    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 154

๖๐. จิตตสมุฏฐานทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๕๓] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ จิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตมุฏฐานธรรม.

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ- ฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 2    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 155

คือ ขันธ์ ๒ จิต, และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น จิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ จิตและกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น จิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต หทยวัตถุ อาศัยจิต, จิต อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๕. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๖. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ- ฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูปอาศัยจิต

ในปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.


ความคิดเห็น 3    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 156

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏ- ฐานธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏ- ฐานธรรม และจิต.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ.

๙. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ- ฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จัตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น จิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.


ความคิดเห็น 4    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 157

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ จิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๕๔] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทยวัตถุ.


ความคิดเห็น 5    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 158

๕. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต. ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม อาศัย หทยวัตถุ.

๖. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย


ความคิดเห็น 6    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 159

คือ ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ.

๙. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม แสะหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๕๕] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ใน วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๕๖] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 7    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 160

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏ- ฐานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐาน ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม.

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น จิตตสมุฏฐานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒. ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 8    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 161

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต หทยวัตถุ อาศัย จิต, จิต อาศัยหทยวัตถุ, พึงกระทำมหาภูตรูป ๑ จนถึงอสัญญสัตว์.

๕. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และะจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิตซึ่งเป็น อเหตุกะ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยจิต.

๖. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูป อาศัยจิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และ สมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏ- ฐานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.


ความคิดเห็น 9    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 162

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐาน ธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้ง หลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และจิต.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น จิตตสมุฏฐานธรรม และจิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐาน ธรรม และหทยวัตถุ.

๙. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.


ความคิดเห็น 10    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 163

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

[๑๕๗] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม.

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม

๓. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต.

หทยวัตถุ อาศัยจิต ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๔. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

๕. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย


ความคิดเห็น 11    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 164

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏ- ฐานธรรม และจิต.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๕๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ใน นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๖ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.


ความคิดเห็น 12    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 165

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำน วนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๕๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ... ในนอธิปปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ใน โนนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๖๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ใน มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.


ความคิดเห็น 13    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 166

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๖๑] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ. เหมือนกับ ปฏิจจวาระ. (วาระ ๑ - ๒ - ๓)

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๕. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต, ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

๖. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ เหมือนกับปฏิจจวาระ ทั้ง ๒ วาระ.


ความคิดเห็น 14    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 167

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒, ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ เหมือนกับปฏิจจวาระทั้ง ๒ วาระ.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๙. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๖๒] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ. (วาระ ที่ ๑ - ๒ - ๓)


ความคิดเห็น 15    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 168

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ. จิต อาศัยหทยวัตถุ. ๕. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ อาศัยจักขุวิญญาณ และ จักขายตนะ ฯลฯ อาศัยกายวิญญาณ และกายายตนะ.

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต, ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

๖. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ อาศัยกายายตนะ, จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.


ความคิดเห็น 16    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 169

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และ จักขายตนะ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ จิตอาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น จิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๙. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุ- วิญญาณ และจักขายตนะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ

ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๖๓] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.


ความคิดเห็น 17    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 170

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๖๔] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พึงกระทำหมดทั้ง ๙ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ แม้ปัญจวิญญาณ ก็พึงกระทำ โมหะ มีทั้ง ๓ วาระ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๖๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.


ความคิดเห็น 18    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 171

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๖๖] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เจือกับจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ เจือกับ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เจือกับจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เจือกับจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ- ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิต เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ


ความคิดเห็น 19    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 172

๔. จิตตสมุฏฐานธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. จิตตสมุฏฐานธรรม เจือกับจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๖๗] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

[๑๖๘] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เจือกับจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พึงกระทำเป็น ๕ วาระ โมหะมีทั้ง ๓ วาระ.


ความคิดเห็น 20    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 173

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๖๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.


ความคิดเห็น 21    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 174

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๗๐] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิต และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุ- ปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย, จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ


ความคิดเห็น 22    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 175

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๗๑] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็น จิตตสมุฎฐานธรรม เกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

คือ จิต ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ปรารภขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่ โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น จิต ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยจิต ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.


ความคิดเห็น 23    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 176

อากาสานัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ ฯลฯ

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่ อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ พิจารณานิพพาน.

มีคำอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีที่มีอยู่ข้างต้น.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักษุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ แก่อนาคตังสญาณ, แก่ อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย


ความคิดเห็น 24    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 177

คือ พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ พิจารณานิพพาน.

มีคำอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีที่มีอยู่ข้างต้น

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยความ เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ ด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่ อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย พึงกระทำเพราะปรารภ ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

๓. อธิปติปัจจัย

[๑๗๒] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม กระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็น จิตตสมุฏฐานธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมเกิดขึ้น.


ความคิดเห็น 25    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 178

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

อารัมมณาธิปติก็ดี สหชาตาธิปติก็ดี พึงกระทำทั้ง ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ

บุคคล ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว จิต ย่อมเกิดขึ้น.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ

บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.


ความคิดเห็น 26    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 179

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ

บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ฯลฯ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ อธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๙) เป็นอารัมมณาธิปติอย่างเดียว.

๔. อนันตรปัจจัย

[๑๗๓] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ วุฏฐานะไม่มี.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย


ความคิดเห็น 27    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 180

คือ จิต ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลังๆ ฯลฯ. เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของผู้ที่ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.

การนับสองวาระนอกจากนี้ (วาระที่ ๕ - ๖) พึงกระทำเหมือนอย่างนี้.

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย พึงกระทำเป็น ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙) วุฏฐานะไม่มี.

๕. สมนันตรปัจจัย

เป็นปัจจัยย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือน อนันตรปัจจัย.

๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

[๑๗๔] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย เหมือนกับปัจจยวาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๑๗๕] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย


ความคิดเห็น 28    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 181

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ พึงกระทำ ๓ วาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยอุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยอุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต แล้ว ให้ทาน ทำลายสงฆ์.

อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.


ความคิดเห็น 29    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 182

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานธรรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยอุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำสายสงฆ์.

อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๑๗๖] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่


ความคิดเห็น 30    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 183

บุคคลพิจารณาเห็นรูปทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพะทั้งหลาย โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นรูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ โผฏ- ฐัพพะทั้งหลาย โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น จิต ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นรูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ โผฏ- ฐัพพะทั้งหลาย โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.


ความคิดเห็น 31    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 184

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ กาย ฯลฯ รูปทั้งหลาย ฯลฯ โผฏฐัพพะทั้งหลาย โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะปรารภจักษุ เป็นต้นนั้น จิต ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตปัจจัย ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.


ความคิดเห็น 32    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 185

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ ด้วยทิพโสตธาตุ ฯลฯ

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.


ความคิดเห็น 33    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 186

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปเรชาตะ

คือ รูปายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ

รูปายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และกายายตนะ ฯลฯ

๘. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

คือ รูปายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัย แก่จิต ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ

รูปายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และ กายายตนะ ฯลฯ


ความคิดเห็น 34    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 187

๙. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

คือ รูปายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัย แก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ

รูปายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจักขายตนะ เป็นปัจจัย แก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๑๗๗] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

ปัจฉาชาตปัจจัย พึงให้พิสดารโดยอาการนี้ (มี ๙ วาระ)

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.


ความคิดเห็น 35    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 188

๑๓. กัมมปัจจัย

[๑๗๘] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรมเป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ ด้วยอำนาจ ของกัมมปัจจัย.

๒. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช้ จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของ กัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากจิต และกฏัตตา รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.


ความคิดเห็น 36    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 189

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ กัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์, จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์, จิต และ กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๑๗๙] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน ธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ.

๑๕. อาหารปัจจัย

[๑๘๐] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.


ความคิดเห็น 37    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 190

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๒)

อาหารทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ กวฬีการาหาร ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัย แก่กายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรมนี้ ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๓)

อาหารทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย, จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็น ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

กวฬีการาหาร ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

พึงการทำมูล. (วาระที่ ๕)

อาหารทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.


ความคิดเห็น 38    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 191

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๖)

ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสมุมุฏฐานธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ อาหารปัจจัย

คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ- ฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๘) ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และที่ ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อาหารปัจจัย.

กวฬีการาหาร ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๙)


ความคิดเห็น 39    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 192

ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และที่ไม่ ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๑๖. อินทริยปัจจัย

[๑๘๑] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ. (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๕)

คืออินทรีย์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ


ความคิดเห็น 40    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 193

จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๖)

คือในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันข์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

จักขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคต ด้วยจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอันทริยปัจจัย

คือ อินทรีย์ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ จักขุนทรีย์ และอุเบกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ และสุขินทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย์ และทุกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

คือ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรมและ ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย.


ความคิดเห็น 41    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 194

จักขุนทรีย์ และอุเบกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๙)

คือ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และ ที่ไม่ใช่จิตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

จักขุนทรีย์ และอุเบกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ

๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๑๘๒] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย


ความคิดเห็น 42    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 195

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตธรรมปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ จิต เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย, จิต เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.


ความคิดเห็น 43    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 196

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ วิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๘. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๙. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ


ความคิดเห็น 44    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 197

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๑๘๓] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ ฯลฯ.

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ ปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ


ความคิดเห็น 45    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 198

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ ฯลฯ

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ- ฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ- ปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ

๘. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ- ฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ, ปัจฉาชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัย แก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย กายวิญญาณ ฯลฯ


ความคิดเห็น 46    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 199

จิตตสมุฏฐานธรรม ที่เป็น สหชาตะ ฯลฯ พึงกระทำให้เหมือน กับปัจจยวาระ ทั้งปฏิสนธิ และปวัตติ ตลอดจนวาระทั้งปวง.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ที่เกิดภายหลัง และจิต เป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิ- ปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ที่เกิดภายหลัง, จิต และ กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ที่เกิดภายหลัง จิต และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๙. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ- ฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ที่เกิดร่วมกัน ฯลฯ

สหชาตะ ปัจจยวาระ เหมือนกัน พึงกระทำบทว่า สหชาตะ ทุกนัย.


ความคิดเห็น 47    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 200

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๘๔] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๑๘๕] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย


ความคิดเห็น 48    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 201

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.


ความคิดเห็น 49    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 202

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๘. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ- ฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ- ของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย,


ความคิดเห็น 50    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 203

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย.๑

๙. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ- ฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๘๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ฯลฯ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๘๗] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.


๑. ม. ไม่มี


ความคิดเห็น 51    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 204

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๘๘] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจจัย มี ๙ วาระ ... ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงกระทำการนับอนุโลม.

จิตตสมุฏฐานทุกะ จบ