๒๐. อัชฌัตตติกะ - อนุโลมติกปัฏฐาน
โดย บ้านธัมมะ  23 ก.พ. 2565
หัวข้อหมายเลข 42224

[เล่มที่ 87] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๓

อนุโลมติกปัฏฐาน

๒๐. อัชฌัตตติกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 646

๑. เหตุปัจจัย 646

๒. อารัมมณปัจจัย 647

๓. อธิปติปัจจัย 647

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๖. สหชาตปัจจัย 648

๗. อัญญมัญญปัจจัย ๒๔. อวิคตปัจจัย 650

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 650

ปัจจนียนัย 650

๑. นเหตุปัจจัย 650

๒. นอารัมมณปัจจัย 652

๓. อนธิปติปัจจัย ฯลฯ ๘. นปุเรชาตปัจจัย 653

๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๑. นกัมมปัจจัย 655

๑๒. นวิปากปัจจัย ๑๓. นอาหารปัจจัย 655

๑๔. นอินทริยปัจจัย 655

๑๕. นฌานปัจจัย 655

๑๖. นมัคคปัจจัย ฯลฯ ๑๘. นวิปปยุตตปจจัย 656

๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย 656

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 656

อนุโลมปัจจนียนัย 657

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 657

ปัจจนียานุโลมนัย 657

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 657

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 658

๑. เหตุปัจจัย 658

๒. อารัมมณปัจจัย 658

๓. อธิปติปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 659

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 659

ปัจจนียนัย 660

๑. นเหตุปัจจัย 660

๒. นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๑๔. โนวิคตปัจจัย 661

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 661

อนุโลมปัจจนียนัย 661

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 661

ปัจจนียานุโลมนัย 662

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 662

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 663

๑. เหตุปัจจัย 663

๒. อารัมมณปัจจัย 663

๓. อธิปติปัจจัย 667

๔. อนันตรปัจจัย 670

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 671

๙. อุปนิสสยปัจจัย 671

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 673

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 677

๑๒. อาเสวนปัจจัย 677

๑๓. กัมมปัจจัย 678

๑๔. วิปากปัจจัย 679

๑๕. อาหารปัจจัย 679

๑๖. อินทริยปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 681

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 681

๒๑. อัตถิปัจจัย 682

๒๒. นัตถิปัจจัย ๒๔. อวิคตปัจจัย 686

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 686

ปัจจนียนัย 687

การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ 687

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 688

อนุโลมปัจจนียนัย 689

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 689

ปัจจนียานุโลมนัย 689

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 689

อรรถกถาอัชฌัตตติกะ 690


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 87]



ความคิดเห็น 1    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 646

๒๐. อัชฌัตตติกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๐๓๓] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

[๒๐๓๔] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ


ความคิดเห็น 2    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 647

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธา ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๒๐๓๕] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

[๒๐๓๖] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.

๓. อธิปติปัจจัย

[๒๐๓๗] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย


ความคิดเห็น 3    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 648

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

มหาภูตรูป ๓ อาศัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตตรูปทั้งหลาย.

[๒๐๓๘] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ เพราะ อธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๖. สหชาตปัจจัย

[๒๐๓๙] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอนันตรปัจจัย เพราะ สมนันตรปัจจัย เพราะ สหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม. ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ


ความคิดเห็น 4    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 649

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

[๒๐๔๐] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม เกิดขึ้น เพราะ สหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัย หาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูปอาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัย หาภูตรูปทั้งหลาย.


ความคิดเห็น 5    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 650

๗. อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

[๒๐๔๑] อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ อัญญมัญญปัจจัย เพราะ นิสสยปัจจัย เพราะ อุปนิสสยปัจจัย เพราะ ปุเรชาตปัจจัย เพราะ อาเสวนปัจจัย.

ในปุเรชาตปัจจัย ก็ดี ในอาเสวนปัจจัย ก็ดี ปฏิสนธิ ไม่มี.

เพราะ กัมมปัจจัย เพราะ วิปากปัจจัย เพราะ อาหารปัจจัย เพราะ อินทริยปัจจัย เพราะ ฌานปัจจัย เพราะ มัคคปัจจัย เพราะ สัมปยุตตปัจจัย เพราะ วิปปยุตตปัจจัย เพราะ อัตถิปัจจัย เพราะ นัตถิปัจจัย เพราะ วิคตปัจจัย เพราะ อวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๐๔๒] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิตตปัจจัย มี ๒ วาระ.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๐๔๓] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ


ความคิดเห็น 6    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 651

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

[๒๐๔๔] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม เกิดขึ้นเพราะ นเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.


ความคิดเห็น 7    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 652

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๒๐๔๕] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม, หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ

หาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

[๒๐๔๖] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม, หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐาน... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ


ความคิดเห็น 8    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 653

๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๘. นปุเรชาตปัจจัย

[๒๐๔๗] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้นเพราะ นอธิปติปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับ สหชาตปัจจัยในอนุโลม ไม่มีแตกต่างกัน.

เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ ฯลฯ

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ

[๒๐๔๘] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ พึงใส่ให้เต็ม.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอลัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.


ความคิดเห็น 9    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 654

๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๑. นกัมมปัจจัย

[๒๐๔๙] ๑.อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม ฯลฯ เพราะ นปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอัชฌัตตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม

อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

[๒๐๕๐] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ เพราะ นกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นพหิทธาธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

๑๒. นวิปากปัจจัย ๑๓. นอาหารปัจจัย

[๒๐๕๑] ๓. อัชฌัตตธรรมอาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นวิปากปัจจัย ปฏิสนธิไม่มี.

เพราะนอาหารปัจจัย

คือ อุตสุมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ

[๒๐๕๒] ๒. พหิทธาธรรมอาศัยพหิธาธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอาหารปัจจัย

คือ พาหิรรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.


ความคิดเห็น 10    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 655

๑๔. นอินทริยปัจจัย

[๒๐๕๓] ๑. ฯลฯ อาศัยอัชฌัตตธรรม ฯลฯ เพราะนอินทริยปัจจัย

คือ อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

[๒๐๕๔] ๒. ฯลฯ อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ เพราะนอินทริย ปัจจัย

คือ พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๑๕. นฌานปัจจัย

[๒๐๕๕] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม ฯลฯ เพราะ นฌานปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยปัญจวิญญาณ ฯลฯ

อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.

[๒๐๕๖] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ เพราะ นณานปัจจัย


ความคิดเห็น 11    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 656

คือ ฯลฯ อาศัยปัญจวิญญาณ ฯลฯ

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ

๑๖. นมัคคปัจจัย ฯลฯ ๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย

[๒๐๕๗] ๑. ฯลฯ อาศัยอัชฌัตตธรรม ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย เหมือนกับนเหตุปัจจัย โมหะ ไม่มี.

เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วน พวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.

[๒๐๕๘] ๒. ฯลฯ อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.

๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย

ฯลฯ เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๐๕๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอธิปติปัจจัย ๒ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๒ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.


ความคิดเห็น 12    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 657

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๒๐๖๐] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ... ฯลฯ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัยมี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๒๐๖๑] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

ปฏิจจวาระ จบ

สหชาตวาระ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.


ความคิดเห็น 13    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 658

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๐๖๒] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ พึงใส่ให้เต็ม.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

[๒๐๖๓] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๒๐๖๔] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.


ความคิดเห็น 14    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 659

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ

[๒๐๖๕] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๓. อธิปติปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

[๒๐๖๖] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย เพิ่มหทยวัตถุ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย ในสหชาตวาระ พึงใส่ให้เต็ม.

ฯลฯ อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย

พึงการทำปัญจายตนะ และหทยวัตถุที่เกิดภายหลัง, มหาภูตรูปและ ขันธ์ทั้งหลาย

เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๐๖๗] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

อนุโลมนัย จบ


ความคิดเห็น 15    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 660

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๒๐๖๘] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ

จักขายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

[๒๐๖๙] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ เพราะนเหตุปัจจัย พึงกระทำทั้งปวัตติ ปฏิสนธิ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

คือ จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ ฯลฯ.


ความคิดเห็น 16    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 661

๒. นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๑๔. โนวิคตปัจจัย

เพราะนอารัมมณปัจจัย เพราะนอธิปติปัจจัย เหมือนกับ สหชาตปัจจัย.

เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.

เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย เพราะนกัมมปัจจัย ฯลฯ เพราะนวิปยุตตปัจจัย เหมือนกับ วิปปยุตตปัจจัย ในปฏิจจวารปัจจนียะ.

เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๐๗๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในโนวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๒๐๗๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในนวิปากปัจจัยมี ๒ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒วาระ นโนนัตถิปัจจัยมี ๒ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ


ความคิดเห็น 17    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 662

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๒๐๗๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

ปัจจนียานุโลม จบ

นิสสยวาระ เหมือนกับ ปัจจยวาระ

สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงให้พิสดาร.


ความคิดเห็น 18    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 663

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๐๗๓] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๒๐๗๔] ๒. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วยจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิ ขณะ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๒๐๗๕] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้น.


ความคิดเห็น 19    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 664

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค, พิจารณาผล, พิจารณากิเลสที่ละแล้ว, พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.

พิจารณาเห็นจักษุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ กายะ รูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุ เป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ด้วยอารัมมณปัจจัย.

อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสูญญายตนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๒๐๗๖] ๒. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย


ความคิดเห็น 20    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 665

คือ บุคคลอื่นพิจารณาเห็นจักษุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภหทยวัตถุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของเจโตปริยญาณ.

รูปายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็น พหิทธาธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๒๐๗๗] ๓. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลอื่น ให้ทาน ฯลฯ ศีลฯฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณา กุศลกรรมนั้น.

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลาย เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.

ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค, ออกจากผล ฯลฯ พิจารณานิพพาน.


ความคิดเห็น 21    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 666

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่ อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลส ทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.

บุคคลอื่น พิจารณาเห็นจักษุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย.

อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย.

รูปายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๒๐๗๘] ๔. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย


ความคิดเห็น 22    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 667

คือ พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พิจารณาจักษุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น พหิทธาธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

รูปายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็น อัชฌัตตธรรม.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๒๐๗๙] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทำกุศลกรรมนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.


ความคิดเห็น 23    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 668

กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ.

ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๒๐๘๐] ๒. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่rพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุที่เป็น อัชฌัตตธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.


ความคิดเห็น 24    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 669

[๒๐๘๑] ๓. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลอื่นให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทำกุศลกรรม นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ.

กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อนให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ฯลฯ.

ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำนิพพานให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล ด้วยอำนาของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.


ความคิดเห็น 25    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 670

[๒๐๘๒] ๔. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลายกระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น, ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย

[๒๐๘๓] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน, โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค, มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ, เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.


ความคิดเห็น 26    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 671

[๒๐๘๔] ๒. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ที่เกิดก่อนๆ เท่านั้น ที่ต่างกัน จากนั้นมีอธิบายตามบาลีข้างต้นนั้นเอง.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

[๒๐๘๕] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

๙. อุปนิสสยปัจจัย

๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัชฌัตตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ยังฌาน ฯลฯ ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.


ความคิดเห็น 27    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 672

ศรัทธาที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาเป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๒๐๘๖] ๒. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่ป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลอื่นเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัชฌัตตธรรม แล้วให้ทาน ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลอื่นเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธาที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ เป็นพหิทธาธรรม แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๒๐๘๗] ๓. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ


ความคิดเห็น 28    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 673

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลอื่นเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธาที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ เป็นพหิทธาธรรม แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๒๐๘๘] ๔. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นพหิทธาธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธาที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ เป็นอัชฌัตตธรรม แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๒๐๘๙] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารมมณปุเรชาตะ ได้แก่


ความคิดเห็น 29    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 674

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[๒๐๙๐] ๒. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลอื่นพิจารณาเห็น จักษุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ.

หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.


ความคิดเห็น 30    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 675

[๒๐๙๑] ๓. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลอื่นพิจารณาเห็นจักษุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ ที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[๒๐๙๒] ๔. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจขอปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความ เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.


ความคิดเห็น 31    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 676

รูปายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่ เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจขอปุเรชาตปัจจัย.

[๒๐๙๓] ๕. อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่ พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

รูปายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และจักขายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม และกายายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นอัชฌัตตธรรม.

รูปายตนะที่เป็นพหิธาธรรม ฯลฯ และหทยวัตถุที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[๒๐๙๔] ๖. อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่ พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

รูปายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และจักขาตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และกายายตนะที่เป็นพหิทธา-


ความคิดเห็น 32    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 677

ธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

รูปายตนะที่เป็นอัชฌตตธรรม และหทยวัตถุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และหทยวัตถุที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๒๐๙๕] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

[๒๐๙๖] ๒. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๒. อาเสวนปัจจัย

[๒๐๙๗] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย


ความคิดเห็น 33    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 678

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน

โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

[๒๐๙๘] ๒. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ ฯลฯ เหมือนกับ อัชฌัตตะนั่นเอง.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๒๐๙๙] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.


ความคิดเห็น 34    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 679

[๒๑๐๐] ๒. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๒๑๐๑] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

๑๕. อาหารปัจจัย

[๒๑๐๒] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ กวฬีการาหารที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.


ความคิดเห็น 35    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 680

[๒๑๐๓] ๒. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ กวฬีการาหารที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

[๒๑๐๔] ๓. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย พึงกระทำปวัตติ ปฏิสนธิ.

กวฬีการาหารที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

[๒๑๐๕] ๔. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ กวฬีการาหารที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็น อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

[๒๑๐๖] ๕. อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัย แก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ กวฬีการาหารที่เป็นอัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัย แก่กายที่เป็นอัชฌัตตตธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.


ความคิดเห็น 36    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 681

[๒๑๐๗] ๖. อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ กวฬีการาหารที่เป็นอัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๑๖. อินทริยปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๒๑๐๘] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ก็ดี, รูปชีวิตินทรีย์ ก็ดี พึงให้พิสดาร.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

๑. อัชฌัตตธรรมเป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

บทมาติกาทั้งหลาย ผู้มีปัญญา พึงให้พิสดาร.

[๒๑๐๙] ๒. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่ สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ.


ความคิดเห็น 37    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 682

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๒๑๑๐] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรมที่เกิดภายหลัง และ กวฬีการาหาร ที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอัชฌัตตธรรม.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย


ความคิดเห็น 38    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 683

[๒๑๑๑] ๒. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น ปุเรชาตะ และ อาหาระ

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลอื่นพิจารณาเห็นจักษุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

กวฬีการาหาร ที่เป็นอัชฌัตตธรรมเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๒๑๑๒] ๓. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ

พหิทธาธรรม ไม่มีอะไรแตกต่างกัน บทมาติกาทั้งหลาย พึงให้พิสดาร.

[๒๑๑๓] ๔. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย


ความคิดเห็น 39    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 684

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น ปุเรชาตะ และ อาหาระ

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักษุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

กวฬีการาหารที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๒๑๑๔] ๕. อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น ปุเรชาตะ และ อาหาระ

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

รูปายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม และจักษุที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็น ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม และกายายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

รูปายตนะที่เป็น พหิทธาธรรม และหทยวัตถุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นพหิทธาธรรม และหทยวัตถุที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.


ความคิดเห็น 40    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 685

ที่เป็น อาหาระ ได้แก่

กวฬีการาหารที่เป็นอัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๒๑๑๕] ๖. อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น ปุเรชาตะ และ อาหาระ

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

รูปายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และจักขายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และกายายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

รูปายตนะที่เป็นอัชฌตตธรรม และหทยวัตถุที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพพายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และหทยวัตถุที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น อาหาระ ได้แก่

กวฬีการาหารที่เป็นอัชฌัตตธรรม และกวฬีการาหารที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.


ความคิดเห็น 41    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 686

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

[๒๑๑๖] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๑๑๗] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๖ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๒ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ


ความคิดเห็น 42    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 687

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ

[๒๑๑๘] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

[๒๑๑๙] ๒. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

[๒๑๒๐] ๓. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย เป็นด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.


ความคิดเห็น 43    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 688

[๒๑๒๑] ๔. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

[๒๑๒๒] ๕. อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ฯลฯ

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น ปุเรชาตะ และ อาหาระ

[๒๑๒๓] ๖. อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ฯลฯ

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น ปุเรชาตะ และ อาหาระ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๑๒๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวงพึงกระทำเป็น ๖ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ


ความคิดเห็น 44    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 689

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๒๑๒๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๒ วาระ ในนสัมปยุตต ปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๒๑๒๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ... ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ

พึงกระทำการนับบทที่เป็นอนุโลม ในอวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

ปัญหาวาระ จบ

อัชฌัตตติกะที่ ๒๐ จบ


ความคิดเห็น 45    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 690

อรรถกถาอัชฌัตตติกะ

อัชฌัตตบท และ พหิทธาบท ไม่ทรงถือเอาใน อัชฌัตตติกะ. จริงอยู่ หมวดธรรมทั้งสอง คืออัชฌัตตธรรมและพหิทธาธรรม ย่อมไม่เป็นปัจจัยและปัจจยุบบัน เพราะฉะนั้นผู้ศึกษาพึงทราบว่า แม้สีของเมล็ดผักกาดที่อยู่ในฝ่ามือ ย่อมไม่เป็นอารมณ์อันเดียวกันกับสีของฝ่ามือ.

อรรถกถาอัชฌัตตติกะ จบ