[เล่มที่ 87] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓
พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๓
อนุโลมติกปัฏฐาน
๑๕. มิจฉัตตติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย 480
๑. เหตุปัจจัย 480
๒. อารัมมณปัจจัย 481
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 482
ปัจจนียนัย 483
๑. นเหตุปัจจัย 483
๒. นอารัมมณปัจจัย 483
๓. นอธิปติปัจจัย 485
อนุโลมปัจจนียนัย 485
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 485
ปัจจนียานุโลมนัย 486
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 486
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย 487
๑. เหตุปัจจัย 487
๒. อารัมมณปัจจัย 489
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 489
ปัจจนียนัย 490
๑. นเหตุปัจจัย 490
๒. นอารัมมณปัจจัย 491
๓. นอธิปติปัจจัย 491
๔. นอนันตรปัจจัยฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย 493
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 493
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 493
ปัจจนียานุโลมนัย 494
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 494
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย 495
๑. เหตุปัจจัย 495
๒. อารัมมณปัจจัยฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย 495
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 496
ปัจจนียนัย 496
๑. นเหตุปัจจัย 496
๒. นอธิปติปัจจัย 496
๓. นปุเรชาตปัจจัย 497
๔. นปัจฉาชาตปัจจัย 498
๕. นอาเสวนปัจจัย 498
๖. นกัมมปัจจัย ๗. นวิปากปัจจัย 498
๘. นฌานปัจจัย ๙. นมัคคปัจจัย 498
๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย 499
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 499
อนุโลมปัจจนียนัย 499
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 499
ปัจจนียานุโลมนัย 501
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย 501
๑. เหตุปัจจัย 501
๒. อารัมมณปัจจัย 502
๓. อธิปติปัจจัย 505
๔. อนันตรปัจจัย 508
๕. สมนันตรปัจจัญ ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 510
๙. อุปนิสสยปัจจัย 510
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 514
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 516
๑๒. อาเสวนปัจจัย 517
๑๓. กัมมปัจจัย 518
๑๔. วิปากปัจจัย 520
๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 521
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 521
๒๑. อัตถิปัจจัย 523
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 528
ปัจจนียนัย 528
การยกปัจจัยในปัจจนียะ 528
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 531
อนุโลมปัจจนียนัย 532
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 532
ปัจจนียานุโลมนัย 532
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 532
อรรถกถามิจฉัตตติกะ 533
อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 87]
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 480
๑๕. มิจฉัตตติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๖๓๒] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๒. อนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม.
๓. มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๖๓๓] ๔. สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยสัมมัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (คือวาระที่ ๔ - ๕ - ๖)
[๑๖๓๔] ๕. อนิยตธรรมอาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 481
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑, ฯลฯ มหาภูตรูป ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย.
[๑๖๓๕] ๕. อนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม และ ภูตรูปทั้งหลาย.
[๑๖๓๖] ๙. อนิยตธรรม อาศัยสัมมัตตนิยตธรรม และ อนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๖๓๗] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 482
[๑๖๓๘] ๒. สัมมัตตนิตยธรรม อาศัยสัมมัตตนิตยธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๖๓๙] ๓. อนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิตยธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
ปัจจัยทั้งหมด พึงให้พิสดารด้วยเหตุนี้.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๖๔๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ให้อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิลสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาร ะ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 483
ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนับ จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๖๔๑] ๑. อนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๑๖๔๒] ๑. อนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 484
๓. นอธิปติปัจจัย
[๑๖๔๓] ๑. มิจฉัตตนิตยธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม.
[๑๖๔๔] ๒. สัมมัตตนิตยธรรม อาศัยสัมมัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นสัมมัตตานิยตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม.
[๑๖๔๕] ๓. อนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
๔. นอนันตรปัจจัย
[๑๖๔๖] อนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอนันตรปัจจัย
ปัจจัยทั้งหมด พึงให้พิสดาร.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 485
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๖๔๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย ที่ ๕ วาระ ใน โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๖๔๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย ในนสมนันตรปัจจัย ในนอัญญมัญญปัจจัย ในนอุปนิสสยปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมมปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 486
มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๖๔๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปัจจยวาระ จบ
สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 487
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๖๕๐] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓)
๔. สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยสัมมัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๖)
[๑๖๕๑] ๗. อนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม ฯลฯ เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๘. มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม ฯลฯ เพราะ เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 488
๙. สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๑๐. มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม อาศัย อนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๑๑. สัมมัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
จิตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๑๖๕๒] ๑๒. มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม และหทยวัตถุ, ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๑๓. อนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 489
๑๔. มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตมิยตธรรม แลหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๑๖๕๓] ๑๕. สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยสัมมัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑๕ - ๑๗) เหมือนกับมิจฉัตตธรรม.
พึงนับอย่างนี้.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๖๕๔] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย ฯลฯ พึงแจกเหมือนกับปัจจยวาระในกุสลติกะ.
เพราะ อวิคตปัจจัย ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๖๕๕] ในเหตุปัจจัย ๑๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ. ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ ในกัมปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ ใน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 490
อินทริยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๖๕๖] ๑. อนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ,
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 491
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๑๖๕๗] ๑. อนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม.
เหมือนกับ กุสลติกะ พึงกระทำเป็น ๕ วาระ.
๓. นอธิปติปัจจัย
[๑๖๕๘] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรมเกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมเป็นมิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม.
[๑๖๕๙] ๒. สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยสัมมัตตนิยตธรรมเกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น สัมมัตตนิยตธรรม.
[๑๖๖๐] ๓. อนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 492
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ อาศัยกายายตนะ. ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๔. มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๕. สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรมเกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
[๑๖๖๑] ๖. มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยนิจฉัตตนิยตธรรมและอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม และหทยวัตถุ.
[๑๖๖๒.] ๗. สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยสัมมัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม และหทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 493
๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย
[๑๖๖๓] ๑. อนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอนันตรปัจจัย ฯลฯ
เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๖๖๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๖๖๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 494
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๖๖๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
นิสสยวาระ เหมือนกับปัจจยวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 495
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๖๖๗] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เจือกับมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๖๖๘] ๒. สัมมัตตนิยตธรรม เจือกับสัมมัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๖๖๙] ๓. อนิยตธรรม เจือกับอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๒. อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
[๑๖๗๐] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เจือกับมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 496
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๖๗๑] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๖๗๒] ๑. อนิยตธรรม เจือกับอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. นอธิปติปัจจัย
[๑๖๗๓] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เจือกับมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็น มิจฉัตตนิยตธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 497
[๑๖๗๔] ๒. สัมมัตตนิยตธรรม เจือกับสัมมัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม เจือกับขันธ์ทั้งหลาย ที่ เป็นสัมมัตตนิยตธรรม.
[๑๖๗๕] ๓. อนิยตธรรม เจือกับอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิตยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๓. นปุเรชาตปัจจัย
[๑๖๗๖] สัมมัตตนิยตธรรม เจือกับสัมมัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๖๗๗] ๒. อนิยตธรรม เจือกับอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ์๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 498
๔. นปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๖๗๘] มิจฉัตตนิยตธรรม เจือกับมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม. (๓ วาระ)
๕. นอาเสวนปัจจัย
[๑๖๗๙] ๑. อนิยตธรรม เจือกับอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๖. นกัมมปัจจัย ๗. นวิปากปัจจัย
[๑๖๘๐] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เจือกับมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย เพราะนวิปากปัจจัย ฯลฯ.
๘. นฌานปัจจัย ๙. นมัคคปัจจัย
[๑๖๘๑] ๑. อนิยตธรรม เจือกับอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นฌานปัจจัย
คือ ปัญจวิญญาณ ฯลฯ
เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยอนิยตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 499
๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย
[๑๖๘๒] ๑. สัมมัตตนิยตธรรม เจือกับสัมมัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๖๘๓] ๒. อนิยตธรรม เจือกับอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๖๘๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๖๘๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ... ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 500
มี ๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในน วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
[๑๖๘๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ... ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
จบ สังสัฏฐาวาระ
สัมปยุตตวาระ เช่นเดียวกับสังสัฏฐวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 501
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๖๘๗] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๖๘๘] ๒. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
[๑๖๘๙] ๓. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๖๙๐] ๔. สัมมัตตนิตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 502
[๑๖๙๑] ๕. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๖๙๒] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นมิจฉตตนิยตธรรม รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.
พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ
รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติฌาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๖๙๓] ๒. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 503
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค.
รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๖๙๔] ๓. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้น.
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
ออกจากฌาน พิจารณาฌาน.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณาผล พิจารณานิพพาน.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่ผล แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอนิยตธรรม กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ
พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลิน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 504
ยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นอนิยตธรรม ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอนิยตธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิญญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๖๙๕] ๔. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมัมณปัจจัย.
คือ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม แก่ปิตุมาตกรรม แก่อรหันตฆาตกรรม แก่รุหิรุปปาทกรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้ลูบคลำ ซึ่งหทยวัตถุใด หทยวัตถุนั้น เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 505
[๑๖๙๖] ๕. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๖๙๗] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๖๙๘] ๒. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๖๙๙] ๓. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 506
อธิปติธรรมที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสุมฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๗๐๐] ๔. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๗๐๑] ๕. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสัมมัตตนิตยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๗๐๒] ๖. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรมและอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 507
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
[๑๗๐๓] ๗. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อนให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
พระอริยะทั้งหลายกระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะการทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุ เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นอนิยตธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 508
อธิปติธรรมที่เป็นอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๗๐๔] ๘. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๔. อนันตรปัจจัย
[๑๗๐๕] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๗๐๖] ๒. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
[๑๗๐๗] ๓. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 509
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน.
ผล เป็นปัจจัยแก่ผล.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ.
เนวสัญญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผล สมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๗๐๘] ๔. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ โทมนัสที่เป็นอนิตยธรรม เป็นปัจจัยแก่โทมนัสที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย, มิจฉาทิฏฐิที่เป็นอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉาทิฏฐิที่เป็นนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๗๐๙] ๕. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 510
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย
[๑๗๑๐] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย.
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ มี ๙ วาระ.
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ มี ๓ วาระ.
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย เหมือนกับ กุสลติกะ มี ๑๓ วาระ.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๑๗๑๑] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
มาตุฆาตกรรม เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
มาตุฆาตกรรม ฯลฯ ปิตุฆาตกรรม ฯลฯ อรหันตฆาตกรรม ฯลฯ รุหิรุปปาทกรรม ฯลฯ สังฆเภทกรรม ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่นิตยมิจฉาทิฏฐิ ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พึงกระทำจักรนัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 511
นิยตมิจฉาทิฏฐิ เป็นปัจจัยแก่นิยตมิจฉาทิฏฐิ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
นิยตมิจฉาทิฏฐิ เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม ฯลฯ แก่สังฆเภทกรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๗๑๒] ๒. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลปลงชีวิตมารดาแล้วเพื่อป้องกันกรรมนั้น ย่อมให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม
ปลงชีวิตบิดา ฯลฯ ปลงชีวิตพระอรหันต์ ฯลฯ ยังโลหิตของพระตถาคตให้ห้อด้วยจิตประทุษร้าย ฯลฯ ทำลายสงฆ์แล้ว เพื่อป้องกันกรรมนั้น ย่อมให้ทาน สมาทานศีล การทำอุโบสถกรรม.
[๑๗๑๓] ๓. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 512
[๑๗๑๔] ๔. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายเข้าไปอาศัยมรรค แล้วยังสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมพิจารณาเห็นสังขาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.
มรรค เป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทาของพระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ แก่ ความฉลาดในฐานะและอฐานะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๗๑๕] ๕. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอนิยตธรรมแล้ว ย่อมให้ทาน สมาทาน ศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌาน ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ย่อมก่อมานะ ย่อมถือทิฏฐิ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 513
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอนิยตธรรม อาศัยสุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เสนาสนะแล้ว ย่อมให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม.
ศรัทธาที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ เสนาสนะเป็น ปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
บริกรรมแห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌานนั้นแหละ ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายาตนะ นั้นแหละ.
ปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัย แก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ
ปาณาติบาต เป็นปัจจัยแก่ปาณาติบาต ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พึงกระทำจักรนัย.
[๑๗๑๖] ๖. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 514
บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นอนิยตธรรมแล้วปลงชีวิตมารดา ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ อาศัยความปรารถนา ฯลฯ อาศัยสุขทางกาย ฯลฯ อาศัยเสนาสนะแล้ว ปลงชีวิตมารดา ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ราคะที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม แก่ปิตุฆาตกรรม แก่อรหันตฆาตกรรม แก่รุหิรุปปาทกรรม แก่สังฆเภทกรรม แก่นิยตมิจฉาทิฏฐิ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๗๑๗] ๗. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ฯลฯ บริกรรมแห่งจตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๑๗๑๘] ๑. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 515
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นอนิยตธรรม ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๗๑๙] ๒. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม แก่ปิตุฆาตกรรม แก่อรหันตฆาตกรรม แก่รุหิรุปปาทกรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 516
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๗๒๐] ๓. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๗๒๑] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๗๒๒] ๒. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 517
[๑๗๒๓] ๓. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๑๗๒๔] ๑. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วย อำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๑๗๒๕] ๒. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ โทมนัสที่เป็นอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่โทมนัสที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย อนิยตมิจฉาทิฏฐิ เป็นปัจจัยแก่นิยตมิจฉาทิฏฐิ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๑๗๒๖] ๓. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 518
คือ โคตรภู เป็นปัจจัยมรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๑๗๒๗] ๓. มิจฉัตตนิตยธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๗๒๘] ๒. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๗๒๙] ๓. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 519
คือ เจตนาที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๗๓๐] ๔. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิตยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
คือ เจตนาที่เป็นสัมตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๗๓๑] ๕. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๗๓๒] ๖. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 520
คือ เจตนาที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๗๓๓] ๗. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอนิยตธรรม, เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอนิตยธรรม เป็นปัจจัยแก่ วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๑๔. วิปากปัจจัย
[๑๗๓๔] ๑. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 521
๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
[๑๗๓๕] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
[๑๗๓๖] ๑. มิจฉัตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๗๓๗] ๒. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 522
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๗๓๘] ๓. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 523
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๗๓๙] ๔. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๗๔๐] ๕. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๑๗๔๑] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 524
[๑๗๔๒] ๒. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๗๔๓] ๓. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๗๔๔] ๔. สัมมัตตนิตยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๖).
[๑๗๔๕] ๖. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 525
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิตยธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จักขุทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 526
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๗๔๖] ๘. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม ฯลฯ แก่รุหิรุปปาทกรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๗๔๗] ๙. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
[๑๗๔๘] ๑๐. มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 527
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
ขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมที่เกิดพร้อมกัน และหทยวัตถุเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ ฯลฯ
[๑๗๔๙] ๑๑. มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมที่เกิดพร้อมกัน และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๗๕๐] ๑๒. สัมมัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ (วาระที่ ๑๒ - ๑๓) เหมือนกับมิจฉัตตนิยตธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 528
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๗๕๑] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๘ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๑๗๕๒] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 529
[๑๗๕๓] ๒. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๗๕๔] ๓. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๗๕๕] ๔. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๗๕๖] ๕. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๗๕๗] ๖. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 530
[๑๗๕๘] ๗. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๑๗๕๙] ๘. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๗๖๐] ๙. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๗๖๑] ๑๐. มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
[๑๗๖๒] ๑๑. มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 531
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ
[๑๗๖๓] ๑๒. สัมมัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมมัตตนิยตธรรม ฯลฯ
มี อย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
[๑๗๖๔] ๑๓. สัมมัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๗๖๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย ในนอนันตรปัจจัย ในนสมนันตรปัจจัย แต่ละปัจจัย ๑๓ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย ในนวิปากปัจจัย ในนอาหารปัจจัย แต่ละปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 532
ในโนอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๗๖๖] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๗๖๗] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๘ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 533
ในกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย แต่ละปัจจัยมี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
มิจฉัตตติกะที่ ๑๕ จบ
อรรถกถามิจฉัตตติกะ
ใน มิจฉัตตติกะ มิจฉัตตนิยตธรรม ย่อมไม่เป็นปัจจัยโดยปัจจัย ไรๆ แก่สัมมมัตตนิยตธรรม หรือสัมมมัตตนิยตธรรม ย่อมไม่เป็นปัจจัยโดยปัจจัยไรๆ แก่มิจฉัตตนิยธรรม มิจฉัตตนิยตธรรม หรือสัมมัตตนิยธรรม ชื่อว่า เว้นสหชาตาธิปติปัจจัย ย่อมไม่มี. ใน สัมมัตตนิยตธรรมย่อมไม่มีอารัมมณปุเรชาต (๑) ปัจจัยโดยแน่นอน (คือ สัมมัตตนิยตธรรมไม่เป็นอารัมมณปุเรชาตปัจจัยแน่นอน). ใน มิจฉัตตนิยตธรรม มีอารัมมณปุเรชาตปัจจัย.
นิยตมิจฉาทิฏฐิ พึงปรารภอนิยตจิตเกิดขึ้นได้ นิยตจิตย่อมไม่ปรารภ นิยตจิตที่เหลือเกิดขึ้น. ธรรมอะไรๆ ย่อมไม่ทำมิจฉัตตนิยตธรรมให้หนักเกิดขึ้น กุศลย่อมไม่เป็นอุปนิสสยปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม คำที่เหลือในอธิการนี้ พึงทราบตามนัยที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ในบาลี.
อรรถกถามิจฉัตตติกะ จบ
(๑) ของไทยหน้า ๖๖๓ บรรทัดที่ ๑ เป็น วตฺถุปุเรชาต แต่ผิดสภาวะ จึงแปลตามบาลี พม่าที่เป็น อารมฺมณปุเรชาต.