พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค เล่ม ๓ ภาค ๑ - หน้าที่ 305
บทว่าทิฏฺ ได้แก่รูปายตนะ.
บทว่า สุต ได้แก่สัททายตนะ.
บทว่า มุต ได้แก่คันธายตนะ รสายตนะโผฏฐัพพายตนะของสิ่งที่ตนรู้แล้ว คือ ถึงแล้วพึงถือเอา.
บทว่า วิญฺาณ ได้แก่ธรรมายตนะมีสุขและทุกข์เป็นต้น
................................................................
เราเคยได้ยินคำว่า ทิฏฐัง สุตัง มุตัง วิญญาณัง มาบ่อยๆ แต่ไม่ทราบว่าข้อความนี้อยู่ที่ไหนในพระไตรปิฏก
ปรากฏว่าอยู่ในและมีความหมายว่า
ทิฏฺ ได้แก่ก่รูปายตนะ. คือรูปสุต ได้แก่สัททายตนะ คือเสียง
มุต ได้แก่คันธายตนะ รสายตนะ ตือกลิ่น รส โผฏฐัพพะโผฏฐัพพายตนะของสิ่งที่ตนรู้แล้วคือถึงแล้วพึงถือเอาบทว่า วิญฺาณ ได้แก่ธรรมายตนะมีสุขและทุกข์ เป็นต้น
{ธรรมายตนะได้แก่ สุขุมรูป 16 เจตสิก 52 นิพพาน}ยังมี มนายตนะ ซึ่งได้แก่จิตทั้งหมด 89 และยังมีปสาทรูป 5 อีกด้วย
ทั้งหมดเป็นอารมณ์ ของสติปัฏฐาน ที่สติสัมปชัญญะต้องระลึกไปเรื่อยๆ
จนกว่าจะบรรลุมรรคผล นิพพาน
...อนุโมทนาครับ...
อายตนะ หมายถึงที่อยู่ที่ประชุม บ่อเกิด อายตนะมี 12 อายตนะภายใน 6 คือตา หู จมูก
ลิ้น กาย ใจ อายตนะภายนอก 6 คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมะ