[เล่มที่ 34] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๓
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
ปฐมปัณณาสก์
พาลวรรคที่ ๑
๑. ภยสูตร ว่าด้วยผู้เป็นภัยและไม่เป็นภัย
๒. ลักขณสูตร ว่าด้วยลักษณะของพาลและบัณฑิต
๓. จินตสูตร ว่าด้วยลักษณะแตกต่างระหว่างบัณฑิตกับคนพาล
๔. อัจจยสูตร ว่าด้วยธรรมที่บ่งบอกว่าเป็นพาลหรือบัณฑิต
๕. อโยนิโสสูตร ว่าด้วยธรรมที่บ่งบอกว่าเป็นพาลหรือบัณฑิต
๖. อกุสลสูตร ว่าด้วยธรรมที่บ่งบอกว่าพาลหรือบัณฑิต
๗. สาวัชชสูตร ว่าด้วยธรรมที่บ่งบอกว่าเป็นพาลหรือบัณฑิต
๘. สัพยาปัชชสูตร ว่าด้วยธรรมที่บ่งบอกว่าเป็นพาลหรือบัณฑิต
๙. ขตสูตร ว่าด้วยการบริหารตนแบบพาลและบัณฑิต
๑๐. มลสูตร ว่าด้วยมลทิน ๓ ประการ
ปฐมปัณณาสก์
รถการวรรคที่ ๒
๑. ญาตกสูตร ว่าด้วยปฏิบัติเพื่อประโยชน์และมิใช่ประโยชน์
๒. สรณียสูตร ว่าด้วยสถานที่ที่กษัตริย์และภิกษุพึงระลึกถึงตลอดชีวิต
๓. ภิกขุสูตร ว่าด้วยบุคลล ๓ จําพวกในทางโลกและทางธรรม
๔. จักกวัตติสูตร ว่าด้วยราชาของพระเจ้าจักรพรรดิและของพระพุทธองค์
๕. ปเจตนสูตร ว่าด้วยความคดของไม้กับคน
๖. อปัณณกสูตร ว่าด้วยข้อปฏิบัติไม่ผิด
๗. อัตตสูตร ธรรมที่อํานวยให้เบียดเบียนและไม่เบียดเบียนตน
๘. เทวสูตร ว่าด้วยสิ่งที่ควรรังเกียจ
๙. ปฐมปาปณิกสูตร องค์คุณของพ่อค้ากับของภิกษุ
๑๐. ทุติยปาปณิกสูตร คุณสมบัติของพ่อค้ากับของภิกษุ
ปฐมปัณณาสก์
ปุคคลวรรคที่ ๓
๑. สวิฏฐสูตร ว่าด้วยบุคคล ๓ พวก ที่พยากรณ์ยาก
๒. คิลานสูตร ว่าด้วยคนไข้และผู้เปรียบด้วยคนไข้ ๓ จําพวก
๓. สังขารสูตร ว่าด้วยกรรมและผลแห่งกรรม
๔. พหุการสูตร ว่าด้วยผู้มีอุปการะมาก ๓ จําพวก
๕. วชิรสูตร ว่าด้วยผู้มีจิตเหมือนแผลเก่า - ฟ้าแลบ - เพชร
๖. เสวิตัพพสูตร ว่าด้วยผู้ควรคบและไม่ควรคบ
๗. ชิคุจฉิตัพพสูตร ว่าด้วยบุคคลที่ควรคบและไม่ควรคบ
๘. คูถภาณีสูตร ว่าด้วยผู้พูด ๓ จําพวก
๙. อันธสูตร ว่าด้วยคนตาบอด - ตาเดียว - สองตา
๑๐. อวกุชชิตสูตร ว่าด้วยผู้มีปัญญา ๓ จําพวก
ปฐมปัณณาสก์
เทวทูตวรรคที่ ๔
๑.พรหมสูตร ว่าด้วยพรหมของบุตร
๒. อานันทสูตร ว่าด้วยการเข้าเจโตวิมุตติ และ ปัญญาวิมุตติ
๓. สารีปุตตสูตร ว่าด้วยผู้ตัดตัณหาได้
๔. นิทานสูตร ว่าด้วยเหตุเกิดของกรรม
๕. หัตถกสูตร ว่าด้วยผู้มีความสุขแท้
๖. ทูตสูตร ว่าด้วยเทวทูต ๓ จําพวก
๗. ปฐมราชสูตร ว่าด้วยท้าวโลกบาลตรวจโลก
๘. ทุติยราชสูตร ว่าด้วยการกล่าวคาถาผิดฐาน และถูกฐาน
๙. สุขุมาลสูตร ว่าด้วยสุขุมาลชาติ และความเมา ๓ ประการ
๑๐. อธิปไตยสูตร ว่าด้วยอธิปไตย ๓
ปฐมปัณณาสก์
จูฬวรรคที่ ๕
๑. สัมมุขีสูตร ว่าด้วยเหตุให้ประสบบุญมาก ๓ ประการ
๒. ฐานสูตร ว่าด้วยลักษณะผู้มีศรัทธา ๓ ประการ
๓. ปัจจยวัตตสูตร ว่าด้วยประโยชน์ ๓ ที่ผู้แสดงธรรมสมควรพิจารณา
๔. ปเรสสูตร ว่าด้วยเหตุให้เกิดการเจรจาธรรม
๕. ปัณฑิตสูตร ว่าด้วยสิ่งที่บัณฑิตบัญญัติไว้ ๓ ประการ
๖. ศีลสูตร ว่าด้วยบ่อเกิดของบุญ
๗. สังขตสูตร ว่าด้วยลักษณะแห่งสังขตธรรม ๓ ประการ
๘. อสังขตสูตร ว่าด้วยลักษณะแห่งอสังขตธรรม ๓ ประการ
๙. ปัพพตสูตร ว่าด้วยการพึ่งพาอาศัยเป็นเหตุให้เจริญ
๑๐. อาตัปปสูตร ว่าด้วยความเพียร ๓ ประการ
๑๑. มหาโจรสูตร ว่าด้วยองค์ของโจรและของภิกษุอลัชชี
ทุติยปัณณาสก์
พราหมณวรรคที่ ๑
๑. ปฐมชนสูตร ว่าด้วยที่พึ่งในภายหน้า
๒. ทุติยชนสูตร ว่าด้วยที่พึ่งในภพหน้า
๓. พราหมณสูตร ว่าด้วยธรรมคุณ
๔. ปริพาชกสูตร ว่าด้วยธรรมคุณ
๕. นิพพุตสูตร ว่าด้วยพระนิพพาน
๖. ปโลภสูตร ว่าด้วยเหตุที่ทําให้มนุษย์มีจํานวนน้อยลง
๗. ชัปปสูตร ว่าด้วยผู้รับที่ทําให้ทานมีผลมาก
๘. ติกัณณสูตร ว่าด้วยวิชชา ๓ ของพราหมณ์และของพุทธ์
๙. ชานุสโสณีสูตร ว่าด้วยวิชชา ๓ ของพราหมณ์และพุทธะ
๑๐. สังคารวสูตร ว่าด้วยบุญปฏิปทาที่มีผลมาก
ทุติยปัณณาสก์
มหาวรรคที่ ๒
๑. ติตถสูตร ว่าด้วยอกิริยาทิฏฐิ - ลัทธิเดียรถีย์ ๓ อย่าง
๒. ภยสูตร ว่าด้วยอมาตาปุตติกภัย ๓ อย่าง
๓. เวนาคสูตร ว่าด้วยพระพุทธองค์ได้ที่นั่งที่นอนสูงใหญ่ ๓ อย่าง
๔. สรภสูตร ว่าด้วยอฐานะ ๓ อย่าง
๕. กาลามสูตร ว่าด้วยมิให้เชื่อโดยอาการ ๑๐ อย่าง
๖. สาฬหสูตร ว่าด้วยมิให้เชื่อโดยอาการ ๑๐ อย่าง
๗. กถาวัตถุสูตร ว่าด้วยถ้อยคําที่ควรพูด ๓ อย่าง
๘. ติตถิยสูตร ว่าด้วยความแตกต่างแห่งอกุศลมูล ๓
๙. มูลสูตร ว่าด้วยกุศลมูลและอกุศลมูล
๑๐. อุโปสถสูตร ว่าด้วยอุโบสถ ๓ อย่าง
ทุติยปัณณาสก์
อานันทวรรคที่ ๓
๑. ฉันนสูตร ว่าด้วยโทษแห่งกุศลมูล
๒. อาชีวกสูตร ว่าด้วยความดี ๓ อย่าง
๓. สักกสูตร ว่าด้วยไตรสิกขาของพระเสขะและพระอเสขะ
๔. นิคัณฐสูตร ว่าด้วยความบริสุทธิ์ ๓ อย่าง
๕. สมาทปกสูตร ว่าด้วยฐานะ ๓ อย่าง
๖. นวสูตร ว่าด้วยเหตุเกิดแห่งภพทั้ง ๓
๗. ภวสูตร ว่าด้วยเหตุเกิดแห่งภพทั้ง ๓
๘. สีลัพพตสูตร ว่าด้วยผลแห่งศีลพรต
๙. คันธสูตร ว่าด้วยกลิ่นหอม ๓ อย่าง
๑๐. จูฬนีสูตร ว่าด้วยแสนโกฏิจักรวาล
ทุติยปัณณาสก์
สมณวรรคที่ ๔
๑. สมณสูตร ว่าด้วยกิจของสมณะ ๓ อย่าง
๒. คัภรสูตร ภิกษุไร้ไตรสิกขาเปรียบเหมือนลาในฝูงโค
๓. เขตตสูตร กิจเบื้องต้นของชาวนาและภิกษุ
๔. วัชชีปุตตสูตร ว่าด้วยการเจริญไตรสิกขาเพื่อละอกุศลมูล
๕. ปฐมเสขสูตร ว่าด้วยเสขบุคคล
๖. ทุติยเสขสูตร ว่าด้วยเสขบุคคล
๗. ตติยเสขสูตร ว่าด้วยเสขบุคคล
๘. จตุตถเสขสุตร ว่าด้วยเสขบุคคล
๙. ปฐมสิกขาสูตร ว่าด้วยไตรสิกขา
๑๐. ทุติยสิกขาสูตร ว่าด้วยไตรสิกขา
๑๑. ปังกธาสูตร ว่าด้วยผู้สรรเสริญและไม่สรรเสริญ
ทุติยปัณณาสก์
โลณผลวรรคที่ ๕
๑. อัจจายิกสูตร ว่าด้วยกิจรีบด่วนของชาวนาและภิกษุ
๒. วิวิตตสูตร ว่าด้วยความสงัดจากกิเลส ๓ อย่าง
๓. สรทสูตร ว่าด้วยการละสังโยชน์ ๓ ด้วยธรรมจักษุ
๔. ปริสาสูตร ว่าด้วยบริษัท ๓ จําพวก
๕. ปฐมอาชานียสูตร ว่าด้วยองค์ ๓ ของม้าต้นและของภิกษุ
๖. ทุติยอาชานียสูตร ว่าด้วยองค์ ๓ ของม้าต้นและของภิกษุ
๗. ตติยอาชานียสูตร ว่าด้วยองค์ ๓ ของม้าต้นและของภิกษุ
๘. นวสูตร ว่าด้วยบุคคลที่เปรียบได้กับผ้าเปลือกไม้ 3 ชนิด
๙. โลณกสูตร ว่าด้วยการให้ผลของกรรม
๑๐. สังฆสูตร ว่าด้วยอุปกิเลส ๓ อย่าง
๑๑. สมุคคตสูตร ว่าด้วยนิมิต ๓
ตติยปัณณาสก์
สัมโพธิวรรคที่ ๑
๑. ปุพพสูตร ว่าด้วยเหตุให้ปฏิญาณว่าเป็นผู้ตรัสรู้
๒. มนุสสสูตร ว่าด้วยเหตุให้ปฏิญาณว่าเป็นผู้ตรัสรู้
๓. อัสสาทสูตร ว่าด้วยเหตุให้หลุดพ้นจากโลก
๔. สมณสูตร ว่าด้วยผู้ควรยกย่องเป็นสมณะและพราหมณ์
๕. โรณสูตร ว่าด้วยความร่าเริงและความเบิกบานในธรรม
๖. อติตตสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เสพไม่รู้อิ่ม ๓ อย่าง
๗. ปฐมกูฏสูตร ว่าด้วยธรรมที่เกิดจากการรักษาและไม่รักษาจิต
๘. ทุติยกูฏสูตร ว่าด้วยกรรมพินาศและไม่พินาศเพราะจิต
๙. ปฐมนิทานสูตร ว่าด้วยเหตุเกิดแห่งธรรม ๓ อย่าง
๑๐. ทุติยนิทานสูตร ว่าด้วยเหตุเกิดแห่งกรรม ๓ อย่าง
ตติยปัณณาสก์
อาปายิกวรรคที่ ๒
๑. อาปายิกสูตร ว่าด้วยบุคคล ๓ จําพวกที่ต้องไปอบายภูมิ
๒. ทุลลภสูตร ว่าด้วยบุคคลหาได้ยาก ๓ จําพวก
๓. อัปปเมยยสูตร ว่าด้วยบุคคล ๓ จําพวก
๔. อาเนญชสูตร ว่าด้วยบุคคลผู้เจริญอรูปฌาน ๓ จําพวก
๕. อยสูตร ว่าด้วยวิบัติ ๓ และสัมปทา ๓
๖. อปัณณกสูตร ว่าด้วยวิบัติ ๓ และสัมปทา ๓
๗. กัมมันตสูตร ว่าด้วยเรื่องวิบัติ ๓ และสัมปทา ๓
๘. ปฐมโสเจยยสูตร ว่าด้วยความสะอาด ๓ อย่าง
๙. ทุติยโสเจยยสูตร ว่าด้วยความสะอาด ๓ อย่าง
๑๐. โมเนยยสูตร ว่าด้วยความเป็นมุนี ๓ อย่าง
ตติยปัณณาสก์
กุสินาวรรคที่ ๓
๑. กุสินารสูตร ว่าด้วยบิณฑบาตที่มีผลมาก
๒. ภัณฑนสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งความบาดหมาง ๓ อย่าง
๓. โคตมสูตร ว่าด้วยอาการที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรม ๓ อย่าง
๔. ภรัณฑุสูตร ว่าด้วยศาสดา ๓ จําพวก
๕. หัตถกสูตร ว่าด้วยหัตถกเทพบุตรไม่อิ่มธรรม ๓ อย่าง
๖. กฏุุวิยสูตร ว่าด้วยพระทําตัวเป็นของเน่า
๗. ปฐมอนุรุทธสูตร ว่าด้วยธรรม ๓ อย่าง ที่พาหญิงไปอบายภูมิ
๘. ทุติยอนุรุทธสูตร ว่าด้วยพระอนุรุทธะสนทนากับพระสารีบุตร
๙. ปฏิจฉันนสูตร ว่าด้วยสิ่งที่ปิดดี เปิดไม่ดี ๓ อย่าง
๑๐. เลขสูตร ว่าด้วยบุคคล ๓ จําพวก
ตติยปัณณาสก์
โยธาชีวรรคที่ ๔
๑. โยธสูตร ว่าด้วยนักรบที่คู่ควรแก่พระราชา
๒. ปริสาสูตร ว่าด้วยบริษัท ๓ จําพวก
๓. มิตตสูตร ว่าด้วยองค์ ๓ ของมิตรแท้
๔. อุปปาทสูตร ว่าด้วยธรรมนิยาย
๕. เกสกัมพลสูตร ว่าด้วยโมฆบุรุษเป็นไซดักมนุษย์
๖. สัมปทาสูตร ว่าด้วยสัมปทา ๓ อย่าง
๗. วุฑฒิสูตร ว่าด้วยวุฑฒิ ๓ อย่าง
๘. ปฐมอัสสสูตร ว่าด้วยม้ากระจอกและคนกระจอก ๓ จําพวก
๙. ทุติยอัสสสูตร ว่าด้วยม้าดี และบุรุษดี ๓ จําพวก
๑๐. ตติยอัสสสูตร ว่าด้วยม้าอาชาไนย และบุรุษอาชาไนย ๓ จําพวก
๑๑. ปฐมโมรนิวาปสูตร ว่าด้วยขันธ์ ๓
๑๒. ทุติยโมรนิวาปสูตร ว่าด้วยปาฏิหาริย์ ๓
๑๓. ตติยโมรนิวาปสูตร ว่าด้วยผู้ประเสริฐเพราะมีธรรม ๓ อย่าง
ตติยปัณณาสก์
มงคลวรรคที่ ๕
๑. อกุศลสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตกนรกและขึ้นสวรรค์
๒. สาวัชชสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตกนรกและขึ้นสวรรค์
๓. วิสมสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตกนรกและขึ้นสวรรค์
๔. อสุจิสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตกนรกและขึ้นสวรรค์
๕. ปฐมขตสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตนถูกทําลายและไม่ถูกทําลาย
๖. ทุติยขตสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตนถูกทําลายและไม่ถูกทําลาย
๗. ตติยขตสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตนถูกทําลายและไม่ถูกทําลาย
๘. จตุตถขตสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตนถูกทําลายและไม่ถูกทําลาย
๙. วันทนาสูตร ว่าด้วยการไหว้ ๓ อย่าง
๑๐. สุปุพพัณหสูตร ว่าด้วยเวลาที่เป็นฤกษ์ดี
พระสูตรที่ไม่สงเคราะห์เข้าในปัณณาสก์