[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕
พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๕
อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)
๖๖. อัชฌัตติกทุกะ 274-330
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย 274
๑. เหตุปัจจัย 256/274
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 258/278
ปัจจนียนัย 278
๑. นเหตุปัจจัย 259/278
๒. นอารัมมณปัจจัย 260/281
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 261/283
๑๗. ฌานปัจจัย 262/283
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 263/285
อนุโลมปัจจนียนัย 285
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 264/285
ปัจจนียานุโลมนัย 285
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 265/285
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย 286
๑. เหตุปัจจัย 266/286
๒. อารัมมณปัจจัย 267/287
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 268/290
ปัจจนียนัย 290
๑. นเหตุปัจจัย 269/290
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 270/290
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย 292
๑. เหตุปัจจัย 271/292
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 272/293
ปัจจนียนัย 293
๑. นเหตุปัจจัย 273/293
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 274/294
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย 295
๑. เหตุปัจจัย 275/295
๒. อารัมมณปัจจัย 276/296
๓. อธิปติปัจจัย 277/299
๔. อนันตรปัจจัย 278/301
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 301
๙. อุปนิสสยปัจจัย 279/302
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 280/303
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 281/307
๑๒. อาเสวนปัจจัย 308
๑๓. กัมมปัจจัย 282/308
๑๔. วิปากปัจจัย 310
๑๕. อาหารปัจจัย 283/310
๑๖. อินทริยปัจจัย 284/313
๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 285/317
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 286/317
๒๑. อัตถิปัจจัย 287/322
๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 326
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 288/326
ปัจจนียนัย 326
การยกปัจจัยในปัจจนียะ 289/326
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 290/329
อนุโลมปัจจนียนัย 329
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 291/329
ปัจจนียานุโลมนัย 330
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 292/330
อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 274
๖๖. อัชฌัตติกทุกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๒๕๖] ๑. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยจิต.
๒. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.
ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และพาหิรกฏัตตารูปอาศัยจิต.
๓. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, อัชฌัตติกะ และ พาหิรกฏัตตารูป อาศัยจิต.
๔. พาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 275
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และพาหิรกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ.
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๕. อัชฌัตติกธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ จิต และอัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ เป็นพาหิรธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทยวัตถุที่เป็นพาหิรธรรม.
๖. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒, จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น พาหิรธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒, จิต และอัชฌัตติกะและพาหิรกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
๗. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 276
คือ ในปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยจิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
๘. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และพาหิรกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น พาหิรธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
พาหิรกฏัตตารูป อาศัยจิต และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม อาศัยจิต และ หทยวัตถุ.
๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และอัชฌัตติกะและพาหิรกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
[๒๕๗] ๑. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.
ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 277
๒. พาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
๓. อัชฌัตติกธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทยวัตถุ.
๔. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
๕. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌีตติกธรรม และพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 278
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิรธรรม, จิต และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๒๕๘] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๒๕๙] ๑. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 279
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยจิต
๒. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต ซึ่งเป็น อเหตุกะ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และพาหิรกฏัตตารูป อาศัยจิต.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยจิต ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๓. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และอัชฌัตติกะ และพาหิรกฏัตตารูป อาศัยจิต
๔. พาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์. ที่เป็นพาหิรธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 280
๕. อัชฌัตติธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต และอัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทยวัตถุ. ๖. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒, จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น พาหิรธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒, จิต และอัชฌัตติกะและพาหิรกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
๗. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยจิต และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.
๘. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 281
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต ซึ่งเป็นอเหตุกะ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และพาหิรกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม และจิต ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ พาหิรกฏัตตารูป อาศัยจิต และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม อาศัยจิต และหทยวัตถุ.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และจิต.
๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และอัชฌัตติกะและพาหิรกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๒๖๐] ๑. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ อเหตุกปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยจิต.
๒. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 282
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.
ในปฏิสนธิขณะ พาหิรกฏัตตารูป อาศัยจิต.
๓. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกะและพาหิรกฏัตตารูป อาศัยจิต.
๔. พาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ พาหิรกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม, หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม.
มหาภูตรูป ๑ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.
๕. อัชฌัตติกธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น พาหิรธรรม.
๖. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกะและพาหิรกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม.
๗. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 283
คือ ในปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยจิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.
๘. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม และจิต. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.
๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และพหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกะและพาหิรกฏัตตารูป อาศัยจิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๒๖๑ (๑) ] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ.
๑๗. นฌานปัจจัย
[๒๖๒] ๑. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย
๑. ข้อนี้ควรจะรวมกับข้อ (๒๖๓)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 284
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจักขุวิญญาณ ฯลฯ กายวิญญาณ.
๒. พาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะ นฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๓. อัชฌัตติกธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย
คือ จักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ
๔. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๒, ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ.
๕. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขุ วิญญาณ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒. ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกาย วิญญาณ ฯลฯ พึงผูกจักรนัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 285
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๒๖๓] ในนฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสันปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัยมี ๕ วาระ ในโนนัตถิ ปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัยนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๒๖๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ.ฯลฯ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๒๖๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัยมี ๓ วาระ.
ฯลฯ
แม้สหชาตวาระ ก็เหมือนกับปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 286
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๒๖๖] ๑. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
๔. พาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย จนถึงมหาภูตรูปที่เป็นอัชฌัตติกธรรม. ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๕. อัชฌัตติกธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม, จิต อาศัยหทยวัตถุ.
ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.
๖. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 287
จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
ในปฏิสนธิขณะ พึงกระทำทั้ง ๒ นัย.
๗. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยจิตและสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย.
๘. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิตและมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม อาศัยจิตและหทยวัตถุ.
ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๓ นัย.
๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และอัชฌัตติกะและพาหิรกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๒๖๗] ๑. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 288
คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ.
๒. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ และ จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ. สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๓. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ.
๔. พาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๕. อัชฌัตติกธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม จิตอาศัยหทยวัตถุ.
ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.
๖. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 289
คือ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
ในปฏิสนธิขณะ มี ๑ นัย.
๗. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ จักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ
๘. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ, จักขายตนะ และจักขุวิญญาณ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรพาธรรม และจิต, ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม อาศัยจิตและหทยวัตถุ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พึงทำทั้ง ๒ นัย.
๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุ- วิญญาณ และจักขายตนะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 290
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๒๖๘] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ใน ปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๒๖๙] ๑. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยจิต, จักขุ- วิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ
พึงทำแม้ทั้ง ๙ วาระอย่างนี้ พึงบวกปัญจวิญญาณ เข้าไปด้วย มี ๓ นัย เหมือนกับ โมหะ.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๒๗๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสมนันตร-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 291
ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
การนับสองวาระนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 292
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๒๗๑] ๑. พาหิรธรรม เจือกับอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับจิต.
ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับจิต.
๒. พาหิรธรรม เจือกับพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๓. อัชฌัตติกธรรม เจือกับพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิต เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๔. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เจือกับพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 293
คือ ขันธ์ ๒ และจิต เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๕. พาหิรธรรม เจือกับอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม และจิต ฯลฯ เจือ กับขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๒๗๒] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
ปัจจนียนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๒๗๓] พาหิรธรรม เจือกับอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย
พึงทำ ๕ วาระ อย่างนี้ มี ๓ นัย เหมือนกับ โมหะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 294
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๒๗๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.
การนับสองวาระนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 295
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๒๗๕] ๑. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และพาหิรกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
๒. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของ เหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต และ อัชฌัตติกกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
๓. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 296
ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, จิต และอัชฌัตติกะและพาหิรกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ ของเหตุปัจจัย.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๒๗๖] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ จิต ปรารภจิต เกิดขึ้น.
พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๒)
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ปรารภจิต เกิดขึ้น.
พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๓)
จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ปรารภจิต เกิดขึ้น.
๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทานแล้ว ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณาซึ่งกุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศล กรรมนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลพิจารณากุศลกรรมที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.
ออกจากฌาน พิจารณาฌาน ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 297
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค ฯลฯ ผล ฯลฯ นิพพาน
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว ซึ่งเป็นพาหิรธรรม ฯลฯ พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.
บุคคลพิจารณาเห็นรูปทั้งหลาย ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น พาหิรธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ. บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นพาหิรธรรม ด้วย เจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่ วิญญาณัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๕. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 298
คือ บุคคลให้ทานแล้ว ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณา กุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น จิต ย่อมเกิดขึ้น.
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.
ออกจากฌาน พิจารณาฌาน ฯลฯ
ที่ย่อไว้ทั้งหมด พึงจำแนกให้พิสดาร.
บุคคลพิจารณาเห็นกิเลสทั้งหลาย ที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ พิจารณาเห็นรูปทั้งหลาย ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น จิต ย่อม เกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่ เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่ อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๖. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทานแล้ว ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณา ซึ่งกุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 299
ที่ย่อไว้ทั้งหมด พึงจำแนกให้พิสดาร.
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น จิต และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่ เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่ อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)
๓. อธิปติปัจจัย
[๒๗๗] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป้นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
จิต กระทำจิต ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 300
๒. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม กระทำจิตให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่นแล้ว ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรม
คือ จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๓)
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย กระทำจิตที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ให้ เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมเกิดขึ้น.
๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน ฯลฯ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖)
อธิปติปัจจัยทั้งสอง พึงจำแนกทั้ง ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 301
๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มี ๓วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)
แม้ทั้ง ๓ วาระ ก็เป็นอธิปติปัจจัยอย่างเดียว.
๔. อนันตรปัจจัย
[๒๗๘] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ จิตที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)
๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖)
แม้ทั้ง ๓ วาระ ก็เช่นเดียวกัน.
๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 302
เป็นปัจจัย ด้วยอํานาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือน กับปฏิจจวาระ.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ เหมือน กับปฏิจจวาระ.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๒๗๙] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ.
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
จิต เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)
๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 303
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พึงแจกให้บริบูรณ์ทั้ง ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖) พึงแจกแก่จิต, และสัมปยุตตขันธ์.
๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๒๘๐] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ กายะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น จิต ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 304
๒. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ. ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ กายะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๓. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ กายะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 305
๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นรูปทั้งหลาย ฯลฯ โผฏฐัพพะทั้งหลาย ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.
๕. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นรูปทั้งหลาย ฯลฯ โผฏฐัพพะทั้งหลาย ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น จิต ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๖. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 306
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นรูปทั้งหลาย ฯลฯ โผฏฐัพพะทั้งหลาย หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะปรารภรูปเป็นต้น จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.
๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
คือ จักขายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ฯลฯ กายายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
รูปายตนะ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และกายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.
๘. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 307
คือ จักขายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
รูปายาตนะ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.
๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
คือ จักขายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ และหทยวัตถุ ฯลฯ
รูปายตนะ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ.
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๒๘๑] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 308
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย แก่กายนี้ ที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
พึงทำมูล (วาระที่ ๒)
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นพาหิรธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
พึงทำมูล (วาระที่ ๓)
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
ทั้ง ๙ วาระ พึงจำแนกอย่างนี้.
๑๒. อาเสวนปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย พึงจำแนกเป็น ๙ วาระ.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๒๘๒] ๑. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 309
เจตนาที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏ- ฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ที่เป็นวิบากจิต และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๒. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ วิบากจิต และกฏัตตารูป ทั้งหลาย ที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๓. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 310
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ วิบากขันธ์ทั้งหลาย, จิต และกฏัตตารูป ที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของ กัมมปัจจัย.
๑๔. วิปากปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ.
๑๕. อาหารปัจจัย
[๒๘๓] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม เป็น ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๒. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ด้วยอำนาจ ของอาหารปัจจัย.
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 311
ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
กพฬีการาหารที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๕. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจ ของอาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
กพฬีการาหารที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอัชฌัตติก ธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๖. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 312
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์- ทั้งหลาย, จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, จิต และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
กพฬีการาหารที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจ ของอาหารปัจจัย.
๘. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 313
๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๑๖. อินทริยปัจจัย
[๒๘๔] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม เป็น ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๒. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย อำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 314
จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยกายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๓. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรมและพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ กายินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอินทริยปัจจัย.
๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย อำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 315
๕. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย อำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจ ของอินทริยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิต และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๖. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, จิต และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 316
คือ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจ ของอินทริยปัจจัย.
จักขุนทรีย์ และอุเบกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจ ของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ และสุขินทรีย์, กายินทรีย์ และทุกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๘. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอันทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
จักขุนทรีย์ และอุเบกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคต ด้วยจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ และสุขินทรีย์, กายินทรีย์ และทุกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 317
คือ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
จักขุนทรีย์ และอุเบกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ และ สุขินทรีย์, กายินทรีย์ และทุกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
[๒๘๕] พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วยอำนาจ ของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
[๒๘๖] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ จิตที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 318
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายตนะ ที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๒. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ ที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคต ด้วยกายวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นพาหิรธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 319
๓. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะที่เกิดก่อน เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 320
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ วิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ เป็นพาหิรธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๕. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัย แก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตา รูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 321
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ เป็นอัชฌัตติกธรรมที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๖. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ฯลฯ ที่เกิดภายหลัง ฯลฯ
๘. อัชฌัตติกธรรน และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ
๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 322
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ฯลฯ
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๒๘๗] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ จิต เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ กายะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เหมือน กับปุเรชาตะ ไม่มีแตกต่างกัน.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ พึงกระทำเหมือนปัจฉาชาตปัจจัย.
๒. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
สหชาตะในที่ทั้งปวง มีในที่นี้ เหมือนกับปัจจยวาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 323
ปุเรชาตะ พึงกระทำเหมือนปัจฉาชาตปัจจัย.
ปัจฉาชาตะ พึงกระทำเหมือนปุเรชาตปัจจัย ไม่มีแตกต่างกัน.
๓. อัชฌัตติกธรรม เบ็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ
๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ อินทริยะ พึงให้พิสดารทั้งหมด.
๕. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ อินทริยะ ฯลฯ
๖. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ อินทริยะ ฯลฯ
๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 324
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัย แก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย กายวิญญาณ และกายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของอัตถิ- ปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของอัตถิ ปัจจัย.
รูปายตนะ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏ- ฐัพพายตนะ และกายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิ ปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดก่อน ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 325
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรมที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๘. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ จักขายตนะ และจักขุ- วิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.
สหชาตะ เหมือนกับปัจจยวาระ ไม่มีแตกต่างกัน.
เหมือนกับข้อความในบาลีข้างต้นนั่นเอง.
๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.
พึงจำแนกบททั้งปวง โดยนัยแห่งปัจจัยสงเคราะห์ข้างต้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 326
๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๒๘๘] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๒๘๙] ๑. อัชฌัตติกรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 327
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๒. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๓. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย.
๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๕. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 328
ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๖. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และ พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๘. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 329
ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๒๙๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๒๙๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 330
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๒๙๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
อัชฌัตติกทุกะ จบ