ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
พระพุทธศาสนา คือ พระธรรมคำสอนของพระอรหันตสัมมา สัมพุทธเจ้า มี ๓ ขั้น
๑. ขั้นปริยัติ ศึกษาพระธรรมวินัย
๒. ขั้นปฏิบัติ เจริญธรรมเพื่อบรรลุธรรมที่ดับกิเลส ดับทุกข์
๓. ขั้นปฏิเวธ รู้แจ้งธรรมที่ดับกิเลส ดับทุกข์
โดย อาจารย์สุจินต์ บริหารวนเขตต์ จัดพิมพ์เผยแพร่ โดย คณะกรรมการ ศิลปะและวัฒนธรรม สภาผู้แทนราษฎร เนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรษา ครบ ๗๕ พรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๕
ขอเชิญอ่านหรือดาวน์โหลดหนังสือ ...
ปรมัตถธรรมสังเขป
คุณปริศนา ตันทอง (พุทธรักษา) ได้นำเสนอเป็นตอนๆ ในเว็ปไซต์ บ้านธัมมะ รวม 173 ตอน ขอเชิญเปิดอ่านตามลิงก์ที่นำเสนอ ครับ
[1] ทรงตรัสรู้สภาพธรรม
[2] ความจริงที่ทรงตรัสรู้
[3] จิต เจตสิก รูป นิพพาน
[4] จิตปรมัตถ์ - สภาพธรรมที่รู้อารมณ์
[5] อารมณ์ของจิต
[6] เจตสิกปรมัตถ์
[7] รูปปรมัตถ์ เป็นสภาพธรรม ที่ไม่รู้อารมณ์
[8] มหาภูตรูป และ อุปาทายรูป
[9] ปริจเฉทรูป คือ อากาสรูป
[10] รูปที่มีใจครอง และ วิการรูป ๓
[11] วิญญัติรูป ๒ (กายวิญญัติรูป - วจีวิญญัติรูป) และ สัททรูป
[12] รูปมี ๔ สมุฏฐาน
[13] กัมมชรูป ๙
[14] จิตตชรูป
[15] อุตุชรูป
[16] อาหารชรูป
[17] สมุฏฐานของรูป
[18] การจำแนกรูปโดยนัยต่างๆ
[19] นิพพาน เป็นสภาพธรรม ที่ ดับทุกข์
[20] สอุปาทิเสสนิพานธาตุ - อนุปาทิเสสนิพพานธาตุ
[21] พระนิพพาน ชื่อว่า สุญญตะ อนิมิตตะ อัปปณิหิตะ
[22] จิต เจตสิก รูป นิพพาน เป็น ปรมัตถธรรม
[23] ความไม่เที่ยง ของ นามธรรม ... รู้ยาก
[24] สังขารธรรม คือ จิต เจตสิก รูป ไม่เที่ยง
[25] นิพพานเป็น วิสังขารธรรม อสังขตธรรม โลกุตตระ
[26] นิพพานปรมัตถ์ นามธรรม รูปธรรม และ ขันธ์ ๕
[27] จิตตสูตร ... จิต เป็นธาตุรู้ สภาพรู้
[28] ใจ คือ จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ ...
[29] ชื่อว่า จิต เพราะ เป็น ธรรมชาติวิจิตร
[30] ที่ (จิต) ชื่อว่า มโน เพราะ รู้ อารมณ์
[31] ที่ (จิต) ชื่อว่า ปัณฑระ เพราะ ว่า บริสุทธิ์
[32] จิต ต้องเกิดร่วมกับ เจตสิกเจตสิก
[33] พระอริยบุคคล มี ๔ ขั้น
[34] ที่ (จิต) ชื่อว่า มนายตนะ - เป็นที่อาศัย เป็นบ่อเกิด เป็นที่ประชุม และ เป็นเหตุ
[35] จิต เป็นเหตุ แห่ง ผัสสะ
[36] สหชาตปัจจัย - ปัจจัยให้สภาพธรรมอื่น เกิดขึ้น พร้อมกับตน
[37] จิต ไม่ได้สั่ง ให้รูปเกิด
[38] จุดประสงค์ ของการศึกษา เพื่อ เป็น สังขารขันธ์ ปรุงแต่ง ให้ สติ เกิด
[39] ลักษณะของจิต ๖ อย่าง
[40] จิต เป็น สภาพธรรมที่คิด
[41] จิต เกิดขึ้น รู้แจ้งอารมณ์ ที่ปรากฏ
[42] จิตทุกดวง เป็น อนันตรปัจจัย
[43] จิต - สั่งสมสันดานของตนด้วยสามารถแห่งชวนวิถี
[44] ปฏิสนธิจิต ภวังคจิต จุติจิต
[45] การละกิเลส ไม่ใช่ สิ่งที่สามารถจะกระทำได้ ทันที
[46] เจริญกุศล ทุกประการไม่ใช่เพียง ทานกุศล
[47] ชื่อว่า จิต เพราะ สั่งสมสันดานของตน ด้วยสามารถแห่งชวนวิถี
[48] โลกนี้ ไม่ ปรากฏ กับ ปฏิสนธิจิต ภวังคจิต จุติจิต
[49] ภูมิที่มีขันธ์ ๕ คือ ภูมิ ที่มีทั้ง รูปขันธ์ และ นามขันธ์
[50] อารมณ์ทั้งหมด จำแนกเป็น ๖ อารมณ์
[51] วิถีจิตขณะแรก กระทำ อาวัชชนกิจ
[52] กุศลธรรม เป็นเสมือน ญาติสนิท ที่คอยอุปการะ เกื้อกูล
[53] ปัญจทวาราวัชชนจิต และ มโนทวาราวัชชนจิต
[54] วิถีจิตทางมโนทวาร เกิดขึ้น-สืบต่อ วิถีจิตทางปัญจทวาร
[55] การเกิดขึ้น เป็นไป ของวิถีจิต ไม่อยู่ในอำนาจบังคับบัญชา
[56] วิถีจิต
[57] กำลังสะสม อกุศลนั้นๆ ถึง 7 เท่า ขณะที่เป็น ชวนวิถีจิต
[58] ขณะนี้ กำลังเป็น ผู้ รื้ออิฐ หรือ กำลังเป็น ช่าง ก่อ อิฐ
[59] ชวนวิถีจิต ชื่อ ว่า สั่งสมสันดานของตน
[60] ค่อยๆ สะสมทุกข์ มากขึ้นๆ ทีละเล็ก ทีละน้อย
[61] การสั่งสมของชวนวิถีจิต ทำให้ แต่ละบุคคล ต่างกัน
[62] วาสนา - การประพฤติทางกาย ทางวาจา ที่ สั่งสมมาจน
[63] วิถีจิตทางปัญจทวารมี ๗ วิถี
[64] วิถีจิตทางปัญจทวาร 17 ขณะ
[65] วิถีจิตทางมโนทวารมี 3 วิถี
[66] วาระ คือ วิถีจิต ที่ รู้อารมณ์เดียวกัน ทางทวารเดียวกัน
[67] โมฆวาระ โวฏฐัพพนวาระ ชวนวาระ ตทาลัมพนวาระ
[68] อารมณ์ ของ โวฏฐัพพนวาระ คือ ปริตตารมณ์
[69] อารมณ์ของชวนวาระ เป็น มหันตารมณ์
[70] อารมณ์ของตทาลัมพนจิต เป็น อติมหันตารมณ์
[71] ทวาร ๖ และ วัตถุ ๖
[72] จิต วาระใด วาระหนึ่ง ไม่ปะปนกันเลย
[73] ชาติ ของจิต - กุศล อกุศล วิบาก กิริยา
[74] ภวังคจิต ทำกิจ สืบต่อ จนมี วิถีจิต เกิดขึ้นรู้ อารมณ์
[75] กิริยาจิต ไม่ใช่กุศลจิต อกุศลจิต หรือ วิบากจิต
[76] วิถีจิต ที่รู้อารมณ์ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย
[77] อุปมา การเกิดขึ้น รู้อารมณ์ ของ วิถีจิตทางปัญจทวาร
[78] อารมณ์ มีกิจ คือ มีหน้าที่เพียงกระทบปสาท
[79] ชวนวิถีจิต เสพอารมณ์ซ้ำๆ กัน ๗ ขณะ โดย อาเสวน
[80] จิต ๘๙ ประเภท จำแนกออกเป็น ๔ ชาติ
[81] ทำไม จิต จึงมี ๔ ชาติ
[82] วิบากจิต ไม่เป็น เหตุ ให้เกิด วิบากจิต
[83] ศึกษา เพื่อเข้าใจ สภาพธรรม ให้ถูกต้อง ตามความเป็น
[84] ค่อยๆ ศึกษา พิจารณา สภาพธรรมที่กำลังปรากฏ
[85] จิต ขณะหนึ่งๆ อายุสั้นมาก มี 3 อนุขณะ
[86] ทุกขันธ์ เกิดขึ้น แล้วต้องดับไป สูญไปหมดเลย
[87] วิริยารัมภกถา เป็นปัจจัย ให้ สติ เกิด
[88] จิต ๘๙ ประเภท และ กิจของจิต ๑๔ กิจ
[89] ปฏิสนธิจิต และ กิจของจิต
[90] จิต - รู้แจ้งอารมณ์ สั่งสมสันดาน กรรมกิเลส-สั่งสมวิบาก
[91] สังสารวัฏฏ์ คือ กิเลสวัฏฏ์ กัมมวัฏฏ์ วิปากวัฏฏ์
[92] ปฏิจจสมุปปาท
[93] กรรม-กิเลส-สั่งสมวิบาก
[94] การให้ผลของกรรมต้อง ถึงพร้อม ด้วย สมบัติ และ วิบัติ
[95] คติสมบัติ และ คติวิบัติ
[96] คติ- อุปธิ- กาล- ปโยค สมบัติ และ วิบัติ
[97] เรื่องของ ผล ซึ่งจะต้องเกิดจาก เหตุ
[98] กัมมปัจจัย ทำให้เกิด ผล (วิบากจิต และ เจตสิก)
[99] กัมมปัจจัย - วิปากปัจจัย
[100] วิบากจิต ที่เกิดขึ้น เป็นผลของ กัมมปัจจัย
[101] ทุกบุคคล เสมอกัน โดยสภาพที่เป็น ปรมัตถธรรม
[102] วิบากแห่งกรรม - อจิตไตย ๔ ประการ
[103] การเข้าใจหนทาง และ ข้อประพฤติปฏิบัติ ที่ผิดพลาด มีแต่สมัยโบราณ
[104] ลักษณะ ที่เป็น สัมปยุตตธรรม
[105] สัมปยุตตธรรม เป็น ลักษณะของนามธรรม
[106] จิต ๘๙ ต่างกัน เป็น ๔ ชาติ คือ กุศลจิต อกุศลจิต วิบากจิต กิริยาจิต
[107] กิริยาจิต ไม่เป็นเหตุ ให้เกิด ผล (วิบากจิต)
[108] อัพยากตธรรม คือ ปรมัตถธรรม ที่ไม่ใช่ กุศลธรรม และ อกุศลธรรม
[109] ภูมิของจิต - กามาวจรภูมิ รูปาวจรภูมิ อรูปาวจรภูมิ โลกุตตรภูมิ
[110] ปริตตธรรม - รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
[111] สังขารธรรม เกิดขึ้นแล้ว ก็ต้องดับไป
[112] ไม่ควรประมาทกิเลส ควรเข้าใจสภาพธรรม ตรง ตามความเป็นจริง
[113] ที่ตั้งของความยินดีพอใจ เป็น วัตถุกาม
[114] ความหมายของ กามาวจรจิต
[115] ภูมิ มี ๒ ความหมาย
[116] ภูมิ ซึ่งเป็นที่เกิด ย่อมต่างกันไปตาม เหตุ
[117] จำแนกจิตโดยภูมิ ๒๗
[118] การจำแนกจิตโดยนัยต่างๆ
[119] โลกุตตรกุศลจิต เป็นปัจจัยให้ โลกุตตรวิบากจิต เกิด สืบต่อ ทันที
[120] จำแนกจิต โดยประเภทของเวทนาเจตสิก ที่เกิดร่วมด้วย
[121] ทรงแสดง เวทนาเจตสิก เป็น เวทนาขันธ์
[122] ความต่างของเวทนาเจตสิก
[123] อย่างไร คือ ความรู้ทั่ว
[124] ขณะที่ กำลังหลับ มี เวทนาเจตสิก ไหม
[125] ขณะที่ตื่น นั้น อะไร ตื่น
[126] ในวันหนึ่งๆ ต้องยอมรับ ว่า มีอกุศลจิต มากกว่า กุศลจิต
[127] ถ้าไม่เข้าใจ เรื่องของเวทนา บางท่าน อาจจะเข้าใจผิด
[128] อกุศลสัมปยุตต์ - โสภณสัมปยุตต์
[129] โทสมูลจิต 2 ประเภท - อสังขาริก และ สสังขาริก
[130] โมหมูลจิต ๒ ประเภท - วิจิกิจฉาสัมปยุตต์ และ อุทธัจจสัมปยุตต์
[131] เจตนาเจตสิก เป็น อภิสังขาร เป็น สภาพธรรมที่ปรุงแต่งอย่างยิ่ง
[132] ปฏิจจสมุปปาทะ คือ ปุญญาภิสังขาร อปุญญาภิสังขาร อาเนญชาภิสังขาร
[133] ความต่างของจิตโดยประเภท อสังขาริก และ สสังขาริก
[134] พุทธญาณ ชื่อว่า อนันตะ แท้ แม้กว่า อนันตะทั้ง ๓ นั้น
[135] กามาวจรกุศลจิต หรือ มหากุศลจิต ๘ ประเภท
[136] เคยง่วง เคยเพลีย เคยเบื่อไหม
[137] ปรมัตถธรรม ที่เป็น เหตุ ได้แก่ เจตสิก ๖ ประเภท
[138] ธรรมทั้งหลายจำแนกเป็น ๒ หมวด คือ เหตุ และ นเหตุ
[139] สภาพธรรมทั้งหลาย จำแนกโดย เหตุ นเหตุ และ สเหตุกะ อเหตุกะ
[140] กุศลจิต ที่ไม่เกิดร่วม และเกิดร่วมกับ ปัญญาเจตสิก
[141] สภาพธรรม ซึ่งเป็น ตัวเหตุ ทำให้เกิด ผล คือ ภพ ชาติ
[142] ปสาทรูป 5 เป็น ปัจจัย โดยเป็น อินทริยปัจจัย
[143] ปัญญา เกิดขึ้น เจริญขึ้น ตามลำดับขั้นของปัญญา
[144] จำแนก เจตสิกที่เป็น เหตุ 6 ออกเป็น เหตุ 9
[145] การศึกษา ปรมัตถธรรม ต้องคิด พิจารณาเหตุผล ด้วยตนเอง
[146] นี่เป็นความต่างกันของจิตแต่ละขณะ ในชีวิตประจำวัน
[147] ปฏิสนธิจิต เป็นผลของกรรมที่ต่างกัน
[148] การสั่งสมสืบต่อของอกุศลธรรม ในวันหนึ่งๆ มากมาย
[149] การจำแนกจิต
[150] โลกในวินัยของพระอริยเจ้า
[151] โลกียจิต - โลกุตตรจิต
[152] โลกว่างเปล่าจากอะไร.?
[153] สภาพธรรมทั้งหลาย เป็นเพียง โลกซึ่งว่างเปล่า
[154] โลกตามความเป็นจริง
[155] โลก ที่ปรากฏ ในวันหนึ่งๆ มีสาระอะไรบ้าง
[156] สมิทธิสูตร - โลก หรือ การบัญญัติ ว่า โลก
[157] ผัคคุณสูตร - ไม่รู้จัก โลก ตามความเป็นจริง ก็พ้นไม่ได้
[158] ขณะที่ภวังคจิต เกิด-ดับ-สืบต่อ โลกนี้ ไม่ปรากฏ
[159] ทวาร คือ ทาง ที่จิตเกิดขึ้น รู้ โลกที่ปรากฏ มี 6 ทวาร
[160] ทรงแสดง เรื่องของทวาร โดยละเอียด
[161] จิต และ เจตสิก เกิด-ดับ-สืบต่อกันอย่างรวดเร็ว
[162] ชื่อว่า จิต เพราะกระทำให้วิจิตร
[163] ให้อาจหาญ คือ ให้เกิดความอุตสาหะ ในการสมาทาน
[164] ลักษณะของจิต - สามัญญลักษณะ ๑ สภาวะลักษณะ ๑
[165] อธิบายบัญญัติโดยนัยต่างๆ
[166] อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘
[167] จิตเห็น รู้ บัญญัติ ไม่ได้
[168] จิต รู้ บัญญัติได้ขณะไหน
[169] บัญญัติ นิมิต อนุพยัญชนะ
[170] บัญญัติ ปิดบัง ลักษณะของปรมัตถธรรม
[171] ต้องเป็น สัมมาสมาธิ ที่เกิดร่วมกับ มรรคมีองค์ ๘
[172] ชื่อว่า บัญญัติ เพราะรู้ได้ ด้วยประการนั้นๆ
[173] บัญญัติ เป็นอารมณ์ของอกุศลจิต ได้ไหม
ยินดีในกุศลด้วยความเคารพค่ะ
กราบขอบพระคุณยินดีในกุศลธรรมทานเป็นอย่างยิ่งค่ะ
กราบอนุโมทนาในกุศลจิตอย่างยิ่งครับ