[เล่มที่ 88] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔
พระอภิธรรมปิฎก
เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๔
อนุโลมทุกปัฏฐาน
๑. เหตุโคจฉกะ
๑. เหตุทุกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย 1/1
๒. อารัมมณปัจจัย 2/4
๓. อธิปติปัจจัย 4
๔. อนันตรปัจจัยฯลฯ ๖. สหชาตปัจจัย 5
๗. อัญญมัญญปัจจัยฯลฯ ๑๓. วิปากปัจจัย 5
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 3/5
ปัจจนียนัย 5
๑. นเหตุปัจจัย 4/5
๒. นอารัมมณปัจจัย 5/6
๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย 7
๘. นปุเรชาตปัจจัย 6/7
๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย 7/10
๑๑. นกัมมปัจจัย 8/10
๑๒. นวิปากปัจจัย 9/11
๑๓. นอาหารปัจจัย 10/11
๑๔. นอินทริยปัจจัย 11/11
๑๕. นฌานปัจจัย 12/12
๑๖. นมัคคปัจจัย 13/12
๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย 12
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 14/13
อนุโลมปัจจนียนัย 13
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 15/13
ปัจจนียานุโลมนัย 14
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 16/14
ปัญหาวาระ
๑. เหตุปัจจัย 17/15
๒. อารัมมณปัจจัย 18/16
๓. อธิปติปัจจัย 19/19
๔. อนันตรปัจจัย 20/23
๕. สมนันตรปัจจัยฯลฯ๘. นิสสยปัจจัย 21/24
๙. อุปนิสสยปัจจัย 22/25
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 23/28
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 24/30
๑๒. อาเสวนปัจจัย 25/31
๑๓. กัมมปัจจัย 26/31
๑๔. วิปากปัจจัย 27/32
๑๕. อาหารปัจจัย 28/33
๑๖. อินทริยปัจจัย 29/34
๑๗. ฌานปัจจัย 30/34
๑๘. มัคคปัจจัย 31/34
๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 35
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 32/35
๒๑. อัตถิปัจจัย 33/38
๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 44
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 34/44
ปัจจนียนัย 45
การยกปัจจัยในปัจจนียะ 35/45
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 36/47
อนุโลมปัจจนียนัย 47
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 37/47
ปัจจนียานุโลมนัย 48
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 38/48
อรรถกถาทุกปัฏฐาน 49
อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 88]
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 1
พระอภิธรรมปิฎก
เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๔ (๑)
อนุโลมทุกปัฏฐาน
๑. เหตุโคจฉกะ
๑. เหตุทุกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑] ๑. เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ, อโลภะ อโมหะ อาศัยอโทสะ, อโลภะ อโทสะ อาศัยอโมหะ โมหะ อาศัยโลภะ, โลภะ อาศัยโมหะ, โมหะ อาศัยโทสะ, โทสะ อาศัยโมหะ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. นเหตุธรรม อาศัยเหตุ ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย
(๑) บาลีเล่ม ๔๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 2
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยเหตุธรรม. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๓. เหตุธรรม และนเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ อโทสะ อโมหะ, สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอโลภะ.
พึงผูกจักรนัย.
โมหะ, สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะ ฯลฯ.ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๔. นเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม ฯลฯขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.
ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
๕. เหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย
คือ เหตุธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนเหตุธรรม. ในปฏิสนธิขณะ เหตุธรรมทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 3
๖. เหตุธรรม และนเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓, เหตุธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น นเหตุธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒, เหตุธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ
๗. เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย. พึงผูกจักรนัย.
โมหะ อาศัยโลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, โมหะ อาศัยโทสะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ และหทยวัตถุ ฯลฯ.
๘. นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม และเหตุธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ และเหตุธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุและเหตุธรรม.
๙. เหตุธรรม และนเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และ นเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 4
คือ ขันธ์ ๓, อโทสะ, อโมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม และอโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒, อโทสะ, อโมหะ และจิตตสมุฏ- ฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ และอโลภะ.
พึงผูกจักรนัย.
ขันธ์ ๓, โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม และโสภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ อโทสะ, อโมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ และอโลภะ ฯลฯ.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๒] ๑. เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ ปัจจัย
ทิ้งรูปภูมิเสีย พึงกระทำเป็น ๙ วาระ ในอรูปภูมิเท่านั้น.
๓. อธิปติปัจจัย
เพราะอุปติปัจจัย ปฏิสนธิไม่มี พึงกระทำให้บริบูรณ์.
ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย.
นี้เป็นข้อที่ต่างกัน.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 5
๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๖.สหชาตปัจจัย
เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาต ปัจจัย
มีมหาภูตรูปทั้งหมดตลอดถึงอสัญญสัตว์.
๗. อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ๑๓. วิปากปัจจัย
เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสย ปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย ปฏิสนธิไม่มี แม้ในภูมิ ทั้งสอง.
เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย เกิดขึ้น. เพราะอวิคตปัจจัย ปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๓] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ปัจจัย ทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ. พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย
จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๔] ๑. นเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 6
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์๑ ที่เป็นนเหตุธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
๒. เหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๕] ๑. นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยเหตุธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเหตุธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูปทั้งหมด. ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 7
๓. นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยเหตุธรรม และขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุ- ธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย
เพราะนอธิปปัจจัย พึงกระทำให้บริบูรณ์.
เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญ มัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย
๘.นปุเรชาตปัจจัย
[๖] ๑. เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาต ปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ.
พึงผูกจักรนัย
โมหะ อาศัยโลภะ, โลภะ อาศัยโมหะ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาต ปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 8
คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยเหตุธรรม, จิตตสมุฏ- ฐานรูป อาศัยเหตุธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๓. เหตุธรรม และนเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ อโทสะ, อโมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย อโลภะ.
พึงผูกจักรนัย.
โมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโลภะ.
พึงผูกจักรนัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๔. นเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะ นปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
๕. เหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะ นปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 9
คือ ในอรูปภูมิ เหตุธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุ. ธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ๖. เหตุธรรม และนเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ และเหตุธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ ๑ ที่ ที่เป็นนเหตุธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๗. เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ และสมัปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย.
พึงผูกจักรนัย.
ในอรูปภูมิ โมหะ อาศัยโลภะ และสมัปยุตตขันธ์ทั้งหลาย พึงผูกจักรนัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๘. นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรมและเหตุ- ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 10
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม และเหตุ- ธรรม
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยเหตุธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๙. เหตุธรรม และนเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรมและนเหตุ- ธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓, อโทสะและ อโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น นเหตุธรรม และอโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒. ฯลฯ.
พึงผูกจักรนัย.
ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ที่เป็นนเหตุธรรม และโลภะ. พึงผูกจักรนัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐.นอาเสวนปัจจัย
[๗] ๑. เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะนปัจฉา ชาตปัจจัย ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย (มี ๙ วาระ).
๑๑.นกัมมปัจจัย
[๘] ๑. นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมม ปัจจัย
คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยเหตุธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 11
๒. นเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะน กัมมปัจจัย
คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม.
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
๓. นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยเหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.
๑๒. นวิปากปัจจัย
[๙] ๑. เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปาก ปัจจัย มี ๙ วาระ.
๑๓. นอาหารปัจจัย
[๑๐] ๑. นเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะน อาหารปัจจัย
คือ พาหิรรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๑๔. นอินทริยปัจจัย
[๑๑] ๑. ฯลฯ เพราะนอินทริยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 12
คือ พาหิรรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป
ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๑๕. นฌานปัจจัย
[๑๒] ๑. ฯลฯ เพราะนฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯอาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๑๖.นมัคคปัจจัย
[๑๓] ๑. ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ.
ในอเหตุปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๑๗.นสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ๒๐.โนวิคตปัจจัย
เพราะนสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ เพราะนวิปปยุตตปัจจัยเหมือน นปุเรชาตปัจจัย พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ในอรูปภูมิเท่านั้น ฯลฯ เพราะ โนนัตถิปัจจัย ฯลฯ เพราะโนวิคตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 13
การนับจำนวนวาระปัจจนียะ
[๑๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียนัย
จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนอุปนิสสย ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปาก ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 14
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๒ วาระ ใน ฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจานียานุโลมนัย
จบ
แม้สหชาตวาระ ก็เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.
ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี มี ๕ วาระ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.
หัวข้อปัจจัย เมื่อมหาภูตรูปทั้งหลายจบแล้ว พึงกระทำว่า "อาศัย หทยวัตถุ" อายตนะ ๕ ย่อมได้ในอนุโลมก็ดี ในปัจจนียะก็ดี ฉันใด พึง กระทำฉันนั้น.
สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงทำให้บริบูรณ์ รูปภูมิไม่ มี มีแต่อรูปภูมิเท่านั้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 15
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๗] เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ เหตุปัจจัย
คือ อโลภะ เป็นปัจจัยแก่อโทสะ แก่อโมหะ ด้วยอำนาจของเหตุ- ปัจจัย.
พึงผูกจักรนัย.
โลภะ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย โทสะ เป็น ปัจจัยแก่โมหะ ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจของ เหตุปัจจัย
คือ เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ แลจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิณะ ฯลฯ
๓. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 16
คือ อโลภะ เป็นปัจจัยแก่อโทสะ อโมหะ, สัมปยุตตขันธ์และจิตต สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พึงผูกจักรนัย.
โลภะ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๘] ๑. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย
คือ เหตุธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะปรารภเหตุธรรม.
๒. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะปรารภเหตุธรรม.
๓. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมและนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะ ปรารภเหตุธรรม.
๔. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 17
คือ (๑) บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณาซึ่ง กุศลกรรมนั้น.
บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.
บุคคลออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌาน.
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว พิจารณา ฯลฯ ผล ฯลฯนิพพาน ฯลฯ.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่ อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
(๒) พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ละแล้ว ที่เป็นเหตุธรรม, กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นมาแล้วในกาลก่อน.
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุ- ธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
บุคคลรู้จิตชอบบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นนเหตุธรรม ด้วย เจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนกิริยา เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนกิริยา, อากิญจัญญายตนกิริยา เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยา.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
(๑) หมายความว่า บาลีตอนที่ ๑,
(๒) หมายความว่า บาลีตอนที่ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 18
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่เจโต ปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังส ญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๕. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย
พึงยกเอาเฉพาะข้อความในบาลี ตอนที่ ๑ ว่า "บุคคลให้ทาน" เท่า นั้นมาใส่ในที่นี้ แต่อาวัชชนะ และข้อความที่ว่า "รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ นี้ก็ไม่มี.
๖. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ แล้วพิจารณา ซึ่งกุศลกรรมนั้น เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น เหตุธรรมทั้งหลายและสัมปยุตต ขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
พึงยกเอาข้อความทั้งอยู่ในบาลีนั้นมาใส่ที่นี้ ให้เหมือนกับข้อความ ในบาลีตอนที่ ๒.
๗. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เหตุธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้นเพราะปรารภเหตุธรรมและสัมปยุตต ขันธ์ทั้งหลาย.
๘. เหตุธรรมและนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 19
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเหตุธรรม ย่อมเกิดขึ้น เพราะปรารภเหตุ- ธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.
๙. เหตุธรรมและนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น เพราะปรารภเหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๙] ๑. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
เพราะกระทำเหตุธรรมให้หนักแน่น เหตุธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตเหตุทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย.
๒. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 20
เพราะการกระทำเหตุธรรมให้อารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่ เป็นนเหตุธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่อธิปติธรรมที่เป็นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๓. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาปัจจัย และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
เพราะการกระทำเหตุธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เหตุธรรมทั้ง หลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นเหตุธรรม เป็นปัจจัยสัมปยุตตขันธ์, เหตุธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๔. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ พึงยกเอาข้อความตามบาลีที่ว่า "บุคคล ให้ทานแล้ว " ใส่ให้พิสดาร จนถึงคำว่า "ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม".
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 21
อธิปติธรรมที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๕. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยเหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน ฯลฯ พึงยกเอาข้อความตามบาลีข้างต้นมาใส่จนถึง หทัยวัตถุ และขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตเหตุทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๖. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศล กรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา เพราะกระทำกุศลกรรม นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม และเหตุ- ธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 22
พึงยกเอาข้อความตามบาลีที่ว่า " บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่ เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน จนถึงหทยวัตถุ และขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุ- ธรรม " มาใส่.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เหตุธรรมทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๗. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาอธิปติ ได้แก่
เพราะกระทำเหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น เหตุธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
๘. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาอธิปติ ได้แก่
เพราะกระทำเหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
๙. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาอธิปติ ได้แก่
เพราะกระทำเหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 23
๔. อนันตรปัจจัย
[๒๐] ๑. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย
คือ เหตุธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๒. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของอนันตรปัจจัย
คือ เหตุธรรมทั้งหลายเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น นเหตุธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๓. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๔. นเหตุธรรม เป็นแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ เนวสัญญาณาสัญญายตนะ เป็น ปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๕. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 24
๖. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย
นเหตุมูลกนัย เป็นอย่างเดียวกันทั้ง ๓ วาระ.
๗. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย
คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลายที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๘. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเหตุธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตร ปัจจัย.
๙. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย
คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เป็นหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย
[๒๑] ๑. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ สมนันตรปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 25
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ทั้ง ๒ ปัจจัยนี้ เหมือนปัจจยวาระ.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย เหมือนกับนิสสยปัจจัย ในปัจจัยวาระ.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๒๒] ๑. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.
๒. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 26
๓. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตต ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๔. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๕. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูนิสสยะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 27
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลาย สงฆ์.
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
๖. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ เหมือนกับอุปนิสสยปัจจัย ตอนที่ ๒.
๗. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๘. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 28
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๙. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๒๓] ๑. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 29
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัยฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนเหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.
๒. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยงฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาต ปัจจัย.
๓. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 30
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยงฯลฯ โทมนัส ฯลฯ ทิพยจักษุ ฯลฯ
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๒๔] ๑. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย.
คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๒. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของปัจฉาชาตปัจจัย.
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย นี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๓. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุ- ธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดภายหลัง และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 31
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๒๕] ๑. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อาเสวนปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๒๖] ๑. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของกัมมปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๒. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ กัมมปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตเหตุทั้งหลาย ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 32
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากเหตุทั้งหลาย ด้วยอำนาจ ของกัมมปัจจัย.
๓. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุ- ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, เหตุ- ธรรมทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็น เหตุธรรมทั้งหลาย แก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๑๔. วิปากปัจจัย
[๒๗] ๑. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ วิปากปัจจัย.
คือ อโลภะ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่อโทสะ, แก่อโมหะ ด้วย อำนาจของวิปากปัจจัย.
พึงกระทำเป็น ๙ วาระ ในการจำแนกวิปากปัจจัย เหมือนในปฏิจจ- วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 33
๑๕. อาหารปัจจัย
[๒๘] ๑. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของอาหารปัจจัย.
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของ อาหารปัจจัย.
๒. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของอาหารปัจจัย.
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตเหตุ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๓. นเหตุธรรมเป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย แก่เหตุธรรมทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 34
๑๖. อินทริยปัจจัย
[๒๙] ๑. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย.
ในเหตุมูลกนัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓)
๒. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของอินทริยปัจจัย.
คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย.
อินทริยปัจจัย พึงให้พิสดารอย่างนี้ และมี ๙ วาระ.
๑๗. ฌานปัจจัย
[๓๐] นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจของ ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.
๑๘. มัคคปัจจัย
[๓๑] เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ มัคคปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 35
๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.
ใน ๒ ปัจจัยนี้ มี ๙ วาระ.
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
[๓๒] ๑. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจของ วิปปยุตตปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย, เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของ วิปปยุตตปัจจัย.
๒. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย.
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 36
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ, หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๓. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 37
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตต ปัจจัย.
๔. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุ- ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๕. เหตุธรรมและนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตต สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 38
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เกิดภายหลัง เป็น ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๓๓] ๑. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย.
คือ อโลภะ เป็นปัจจัยแก่อโทสะ, แก่อโมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย. พึงผูกจักรนัย.
โลภะ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย. พึงผูกจักรนัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 39
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๓. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุ- ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ อโลภะ เป็นปัจจัยแก่อโทสะ แก่อโมหะ แก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พึงผูกจักรนัย
โลภะ เป็นปัจจัยแก่โมหะ แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พึงผูกจักรนัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๔. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 40
พึงผูกจักรนัย.
ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย. มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
อสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ ฯลฯ.
รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิ- ปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 41
๕. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตเหตุทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยงฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ หทยวัตถุเป็น ปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๖. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมและนเหตุ- ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓, แก่เหตุธรรมทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 42
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยงฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้ง หลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๗. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
อโลภะและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัย แก่อโทสะ แก่อโมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พึงผูกจักรนัย.
โลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่โมหะ ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย.
พึงผูกจักรนัย.
ในปฏิสนธิขณะ อโลภะ และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อโทสะ อโมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พึงผูกจักรนัย.
๘. เหตุธรรมและนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุ ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 43
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่ เป็นนเหตุธรรม และเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุธรรมและหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
เหตุธรรมทั้งหลาย และมหาภูตรูปทั้งหลายที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัย แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลายที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กาย นี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลายที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๙. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ- ธรรมและนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม และอโลภะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓, แก่ อโทสะ, แก่อโมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 44
พึงผูกจักรนัย.
ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม และโลภะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓, แก่โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พึงผูกจักรนัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม และอโลภะ ฯลฯ
พึงผูกจักรนัย.
ในปฏิสนธิขณะ อโลภะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อโทสะ, แก่ อโมหะและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
โลภะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่โมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๓๔] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 45
มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ผู้มีปัญญาพึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย
จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๓๕] ๑. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๒. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 46
๓. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๔. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๕. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๖. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุ- ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจขงปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๗. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 47
๘. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุ- ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๙. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๓๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระฯลฯ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย
จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๓๗] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ใน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 48
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย
จบ
ปัจจนียานุโลม
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๓๘] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ใน กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย
จบ
เหตุทุกะ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 49
อรรถกถาทุกปัฏฐาน
เหตุทุกะ เป็นต้น
แม้ในทุกปัฏฐาน ผู้ศึกษา พึงทราบปัญหาวิสัชนาและการนับในทุกะ ทั้งหมด ตามนัยที่กล่าวมาแล้วในบาลีนั่นเอง. อีกอย่างหนึ่ง ในทุกปัฏฐานนี้ การวิสัชนา สเหตุกทุกะ และเหตุสัมปยุตตทุกะ เหมือนกับการวิสัชนา เหตุทุกะ. เหตุและสเหตุกเหตุ แห่งเหตุสัมปยุตตทุกะ และสัปปัจจยทุกะ สังขตทุกะ ก็เหมือนกันฯ คำนี้ว่า อิมํ ทุกํ ยถา สปฺปจฺจยทุกํ เอวํ กาตพฺพํ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ เพราะแม้สังขตธรรมย่อมประกอบร่วมกับอสังขตธรรม ไม่ได้. เหมือนสัปปจจยธรรมประกอบกับอัปปัจจยธรรมไม่ได้ฉะนั้น สารัมมณทุกะ จิตตสัมปยุตตทุกะ และสังสัฏฐทุกะ มีวิสัชนาเหมือนกับ อาสวโคจฉกะ โอฆโคจฉกะ และโยคโคจฉกะ ซึ่งเหมือนกัน เพราะว่าธรรม ๓ เหล่านี้ มีวิสัชนาเหมือนกัน.
อรรถกถาเหตุทุกะเป็นต้น จบ