ประวัติพระปิณโฑลภารทวาชะ
โดย chatchai.k  15 มิ.ย. 2564
หัวข้อหมายเลข 34423

พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 322

เอตทัคคบาลี

อรรถกถาสูตรที่ ๘

ประวัติพระปณโฑลภารทวาชะ



ความคิดเห็น 1    โดย chatchai.k  วันที่ 15 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 322

พึงทราบวินิจฉัยในสูตรที่๘ ดังตอไปนี้.

บทวา สีหนาทิกาน ความวา ผูบันลือสีหนาท คือพระบิณโฑลภารทวาชะเปนยอด ไดยินมาวา ในวันบรรลุพระอรหัต ทานถือเอาผารองนั่งออกจากวิหารนี้ไปวิหารโนน ออกจากบริเวณ นี้ไปบริเวณโนน เที่ยวบันลือสีหนาทวา ทานผูใด มีความสงสัย ในมรรคหรือผล ทานผูนั้นจงถามเราดังนี้ ทานยืนตอพระพักตร พระพุทธทั้งหลายบันลือสีหนาทวา ขาแตพระองคผูเจริญ กิจที่ ควรกระทําในศาสนานี้ถึงที่สุดแลว ฉะนั้น ชื่อวาผูยอดของเหลา ภิกษุผูบันลือสีหนาท ก็ในปญหากรรมของทานมีเรื่องที่จะกลาว ตามลําดับตอไปนี้

ไดยินวา ครั้งพระพุทธเจาพระนามวา ปทุมุตตระ พระปณโฑลภารทวาชะนี้ บังเกิดในกําเนิดสีหะ ณ เชิงบรรพต พระศาสดาทรงตรวจดูโลก ทรงเห็นเหตุสมบัติของทาน (ความถึงพรอม แหงเหตุ) จึงเสร็จทรงบาตรในกรุงสาวัตถี ภายหลังเสวยภัตตาหาร แลว ในเวลาใกลรุง เมื่อสีหะออกไปหาเหยื่อ จึงทรงเขาไปยังถ้ํา ที่อยูของสีหะนั้น ประทับนั่งขัดสมาธิในอากาศเขานิโรธสมาบัติ พระยาสีหะไดเหยื่อแลว กลับมาหยุดอยูที่ประตูถ้ํา เห็นพระทศพล ประทับนั่งภายในถ้ํา ดําริวาไมมีสัตวอื่นที่ชื่อวาสามารถจะมา


ความคิดเห็น 2    โดย chatchai.k  วันที่ 15 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 323

นั่งยังที่อยูของเรา บุรุษนี้ใหญแทหนอ มานั่งขัดสมาธิภายในถ้ํา ได แมรัศมีสรีระของทานก็แผไปโดยรอบ เราไมเคยเห็นสิ่งที่นา อัศจรรยถึงเพียงนี้ บุรุษนี้ จักเปนยอดของปูชนียบุคคลในโลกนี้ แมเราควรกระทําสักการะตามสติกําลังถวายพระองค จึงไปนํา ดอกไมตางๆ ทั้งที่เกิดในปา ทั้งที่เกิดบนบกลาดเปนอาสนะดอกไม ตั้งแตพื้นจนถึงที่นั่งขัดสมาธิ ยืนนมัสการพระตถาคตในที่ตรง พระพักตรตลอดคืนยังรุง รุงขึ้นวันใหมก็นําดอกไมเกาออก เอา ดอกไมใหมลาดอาสนะโดยทํานองนี้ เที่ยวตกแตงปุบผาสนะถึง ๗ วัน บังเกิดปติโสมนัสอยางแรง ยืนเฝาอยูที่ประตูถ้ํา ในวันที่๗ พระศาสดาออกจากนิโรธ ประทับยืนที่ประตูถ้ํา พระยาสีหะราชา แหงมฤคกระทําประทักษิณพระตถาคต ๓ ครั้ง ไหวในที่ทั้ง ๔ แลวถอดออกไปยืนอยู พระศาสดาทรงดําริวา เทานี้จักพอเปน อุปนิสัยแกเธอ เหาะกลับไปพระวิหารตามเดิม ฝายพระยาสีหะนั้น เปนทุกขเพราะพลัดพรากพระพุทธองคกระทํากาละแลวถือปฏิสนธิ ในตระกูลมหาศาลในกรุงหงสวดี เจริญวัยแลว วันหนึ่งไปพระวิหาร กับชาวกรุง ฟงพระธรรมเทศนา บําเพ็ญมหาทาน ๗ วัน โดยนัย ที่กลาวแลวแตหลัง กระทํากาละในภพนั้น เวียนวายอยูในเทวดา และมนุษยทั้งหลาย มาบังเกิดในตระกูลพราหมณมหาศาลใน กรุงราชคฤห ในพุทธุปบาทกาลนี้ โดยชื่อมีชื่อวา ภารทวาชะ ทานเจริญวัยแลว ศึกษาไตรเพทเที่ยวสอนมนตแกมาณพ ๕๐๐ คน ทานรับภิกษาของมาณพทุกคนดวยตนเองเที่ยวในที่ที่เขาเชื้อเชิญ เพราะตนเปนหัวหนา เขาวาทานภารทวาชะนี้เปนคนมักโลเล อยูนิดหนอย คือเที่ยวแสวงหาขาวตมขาวสวยและของเคี้ยวไมวา


ความคิดเห็น 3    โดย chatchai.k  วันที่ 15 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 324

ในที่ไหนๆ กับมาณพเหลานั้น ในที่ที่ทานไปแลวไปอีกก็ตอนรับ เพียงขาวถวยเดียวเทานั้น ดังนั้น จึงปรากฏชื่อวา ปณโฑลภาระทวาชะ วันหนึ่งเมื่อพระศาสดาเสด็จถึงกรุงราชคฤห ทานไดฟง ธรรมกถา ไดศรัทธาแลว บวชบําเพ็ญวิปสสนา ไดบรรลุพระอรหัตแลว ในเวลาที่ทานบรรลุพระอรหัตนั่นเอง ทานถือเอาผา ปูนั่งออกจากวิหารนี้ไปวิหารโนน ออกจากบริเวณนี้ไปบริเวณโนน เที่ยวบันลือสีหนาทวา ทานผูใดมีความสงสัยในมรรคหรือผล ขอทาน ผูนั้นจงถามเราเถิด

วันหนึ่ง เศรษฐีในกรุงราชคฤหเอาไมไผตอๆ กันขึ้นไป แขวนบาตรไมแกนจันทน มีสีดังดอกชัยพฤกษไวในอากาศ ทาน เหาะไปถือเอาดวยฤทธิ์ เปนผูที่มหาชนใหสาธุการแวดลอมไป พระวิหาร วางไวในพระหัตถของพระตถาคตแลว พระศาสดา ทรงทราบอยูสอบถามวา ภารทวาชะ เธอไดบาตรนี้มาแตไหน ทานจึงเลาเหตุการณที่ไดมาถวาย พระศาสดาตรัสวา เธอแสดง อุตตริมนุสสธรรมเห็นปานนี้แกมหาชน เธอกระทํากรรมสิ่งที่ไมควร ทําแลว ทรงตําหนิโดยปริยายเปนอันมากแลวทรงบัญญัติสิกขาบทวา "ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไมควรแสดงอุตตริมนุสสธรรมอันเปน อิทธิปาฏิหาริยแกพวกคฤหัสถทั้งหลาย ผูใดขืนแสดงตองอาบัติ ทุกกฎ" ดังนี้ ทีนั้นเกิดพูดกันในทามกลางภิกษุสงฆวา พระเถระ ที่บันลือสีหนาทในวันที่ตนบรรลุพระอรหัต บอกในทามกลางภิกษุ- สงฆวา ผูใดมีความสงสัยในมรรคหรือผล ผูนั้นจงถามเรา ดังนี้ ในที่ตอพระพักตรพระพุทธเจา ก็ทูลถึงการบรรลุพระอรหัตของตน


ความคิดเห็น 4    โดย chatchai.k  วันที่ 15 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 325

พระสาวกเหลาอื่นก็นิ่ง โดยความที่ตนชอบบันลือสีหนาทนั่นเอง แมจะทํามหาชนใหเกิดความเลื่อมใสเหาะไปรับบาตรไมแกนจันทน ภิกษุเหลานั้นกระทําคุณทั้ง ๓ เหลานี้เปนอันเดียวกัน กราบทูล แกพระศาสดาแลว ก็ธรรมดาวา พระพุทธเจาทั้งหลาย ยอมทรง ติเตียนผูที่ควรติเตียน ยอมทรงสรรเสริญ ผูที่ควรสรรเสริญ ใน ฐานะนี้ พระศาสดาทรงถือวา ความเปนยอดของพระเถระที่สมควร สรรเสริญนั้นแหละ แลวสรรเสริญพระเถระวา กอนภิกษุทั้งหลาย เพราะอินทรีย ๓ นั่นแล เธอเจริญแลว ทําใหมากแลว ภารทวาชภิกษุไดพยากรณพระอรหัตแลวา ชาติสิ้นแลว พรหมจรรยเราอยู จบแลว กิจที่ควรทํา เราทําเสร็จแลว ไมมีกิจอื่นเพื่อความเปน อยางนี้ อินทรีย๓ เปนไฉน คือ สตินทรีย สมาธินทรีย ปญญินทรีย ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เพราะอินทรีย๓ เหลานี้แล เธอเจริญแลว กระทําใหมากแลว ภารทวาชภิกษุ พยากรณแลวซึ่งพระอรหัตตผล ยอมรูชัดวา ชาติสิ้นแลว พรหมจรรยเราอยูจบแลว กิจที่ควรทํา ทําเสร็จแลว ไมมีกิจอื่นเพื่อความเปนอยางนี้ ดังนี้ จึงทรงสถาปนา ไวในตําแหนงเปนยอดของเหลาภิกษุบันลือสีหนาทแล

จบ อรรถกถาสูตรที่ ๘


ความคิดเห็น 5    โดย chatchai.k  วันที่ 15 มิ.ย. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น