[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕
พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๕
อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)
๘๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกทุกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย 969
๑. เหตุปัจจัย 635/696
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย 697
๑. เหตุปัจจัย 636/697
๒. อารัมมณปัจจัย 637/697
๓. อธิปติปัจจัย 638/699
๔. อนันตรปัจจัย 639/702
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 702
๙. อุปนิสสยปัจจัย 640/702
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 641/705
อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 696
๘๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกทุกะ
ปฏิจจวาระ
๑. เหตุปัจจัย
[๖๓๕] ๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.
โดยนัยนี้ ปฏิจจวาระก็ดี สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกทุกะ.
โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ พึงตั้งไว้ในฐานะแห่งโมหะ ที่สหรคต ด้วยวิจิกิจฉา.
ฯลฯ
ปฏิจจวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 697
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๖๓๖] ๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
มี ๖ วาระ เหมือนกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกทุกะ.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๖๓๗] ๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
มี ๓ วาระ เพราะปรารภ เหมือนกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกทุกะ.
๔. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม แล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรม นั้น ราคะที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พิจารณากุศลกรรมที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 698
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผล แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุฯฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่ใช่ ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ แก่โมหะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๕. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ ฌาน ฯลฯ
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อม เพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อม เกิดขึ้น อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
๖. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 699
คือ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
อารัมมณปัจจัย ที่เป็นปัจจัยสงเคราะห์ พึงกระทำทั้ง ๓ นัย.
๓. อธิปติปัจจัย
[๖๓๘] ๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำธรรม นั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๒. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 700
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำธรรมนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๓. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๔. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ อธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม แล้วกระทำ กุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา เพราะกระทํา
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 701
กุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ จาก ฌาน ฯลฯ
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจ ของอธิปติปัจจัย.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๕. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
ให้ทาน ฯลฯ พิจารณาฌาน ฯลฯ
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทําจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็น ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 702
๔. อนันตรปัจจัย
[๖๓๙] ในอนันตรปัจจัย เพราะเหตุแห่งธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ไม่พึงกระทำ โมหะที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ พึงกระทำ.
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๖๔๐] ๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒).
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 703
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.
ฉันทราคะ ในภัณฑะของตน เป็นปัจจัยแก่ฉันทราคะ ในภัณฑะ ของผู้อื่น ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ฉันทราคะ ในของหวงแหนของตน เป็นปัจจัยแก่ฉันทราคะในของ หวงแหนของผู้อื่น ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓).
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๔. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ.
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ถือ ทิฏฐิ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 704
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ราคะที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ ราคะที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่ทิฏฐิ แก่ ความปรารถนา แก่สุขทางกาย ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๕. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ ฯลฯ
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่มานะ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย.
๖. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 705
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
แม้อุปนิสสยปัจจัย ที่เป็นปัจจัยสงเคราะห์ ก็พึงกระทำทั้ง ๓ นัย.
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย
[๖๔๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในเหตุที่จำแนกธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมได้นานาขณิกะ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย.
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกทุกะ ฉันใด แม้เพราะภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเป็นปัจจัยก็ดี ปัจจนียะก็ดี การจำแนกก็ดี การนับก็ดี ก็ฉันนั้นไม่มี แตกต่างกัน.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 706
ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ พึงกระทำแม้ฉันทราคะ ในภัณฑะ ของตน โดยส่วนสุดเบื้องปลาย.
ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ แม้ฉันทราคะ ในภัณฑะของตน ก็พึงกระทำโดย ส่วนสุดเบื้องปลาย.
ภาวนายปหาตัพพเหตุกทุกะ จบ