๙๒. อุเบกขาสหคตทุกะ
โดย บ้านธัมมะ  28 ก.พ. 2565
หัวข้อหมายเลข 42336

[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๕

อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)

๙๒. อุเบกขาสหคตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 794

๑. เหตุปัจจัย 703/794

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 704/795

ปัจจนียนัย 795

๑. นเหตุปัจจัย 705/795

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 706/800

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 801

๑. เหตุปัจจัย 707/801

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 708/801

ปัจจนียนัย 801

๑. นเหตุปัจจัย 709/801

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 710/802

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 803

๑. เหตุปัจจัย 711/803

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 712/803

ปัจจนียนัย 803

๑. นเหตุปัจจัย 713/803

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 714/804

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 805

๑. เหตุปัจจัย 715/805

๒. อารัมมณปัจจัย ๓. อธิปติปัจจัย 716/805

๔. อนันตรปัจจัย 717/805

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 810

๙. อุปนิสสยปัจจัย 718/810

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 719/812

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 720/812

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 721/813


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]



ความคิดเห็น 1    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 794

๙๒. อุเบกขาสหคตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๐๓] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อุเบกขา และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ๓. อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อุเบกขา และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น อุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยธรรมที่ ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 2    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 795

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอุเบกขา.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ อุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยอุเบกขา.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

หทยวัตถุ อาศัยอุเบกขา, อุเบกขา อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑

เหมือนกับสัปปีติกทุกะ ในอนุโลม มี ๙ วาระ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๐๔] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๗๐๕] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 3    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 796

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ อุเบกขา และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒, อุเบกขา และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น อุเบกขาสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยธรรมที่ ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอุเบกขา ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกะปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทยวัตถุ อาศัยอุเบกขา, อุเบกขา อาศัยหทยวัตถุ.


ความคิดเห็น 4    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 797

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๕. อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยอุเบกขา ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยอุเบกขา.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยอุเบกขา ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๖. อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอุเบกขา ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยอุเบกขาซึ่งเป็นอเหตุกะ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูป อาศัย อุเบกขา.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยอุเบกขา, กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.


ความคิดเห็น 5    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 798

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม อาศัย หทยวัตถุ กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ อุเบกขา และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.

๗. อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ และอุเบกขา ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม และอุเบกขา ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และอุเบกขา.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และอุเบกขา.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่ง เป็นอเหตุกะ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.


ความคิดเห็น 6    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 799

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ อุเบกขา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรมและหทยวัตถุ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขา ซึ่งเป็นอเหตุกะ และอุเบกขา ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และอุเบกขา ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่ง เป็นอเหตุกะ, อุเบกขาและมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น อุเบกขาสหคตธรรม และอุเบกขา ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม และอุเบกขา.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่ง เป็นอเหตุกะ, อุเบกขา และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม และอุเบกขา ฯลฯ ขันธ์ ๒.


ความคิดเห็น 7    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 800

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม และอุเบกขา ฯลฯ ขันธ์ ๒.

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม, อุเบกขา และมหาภูตรูป.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ขันธ์ ๒ และอุเบกขา อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม, อุเบกขา และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ

[๗๐๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองวาระนอกนี้ก็ดี สหชาตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.


ความคิดเห็น 8    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 801

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๐๗] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒,

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

เหมือนกับสวิตักกทุกะในปัจจยวาระ ต่างกันที่คำว่า อุเบกขา.

พึงกระทำ ๙ วาระทั้งปวง ทั้งปฏิสนธิ, ปวัตติ และหทยวัตถุ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๐๘] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัย ทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๗๐๙] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย


ความคิดเห็น 9    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 802

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

พึงกระทำทั้ง ๙ วาระ โดยนัยดังกล่าวมานี้, ปวัตติ และปฏิสนธิ พึงกระทำเหมือนสวิตักกทุกะ โมหะ มี ๓ นัยเหมือนกัน แม้หทยวัตถุ ก็พึง กระทำในปวัตติ.

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ

[๗๑๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.


ความคิดเห็น 10    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 803

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๑๑] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม เจือกับอุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำเหมือนกับ สวิตักกทุกะ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๑๒] ในเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ใน ปัจจัยทั้งปวง มี ๖ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๗๑๓] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม เจือกับอุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.


ความคิดเห็น 11    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 804

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

พึงกระทำ ๕ วาระอย่างนี้ พึงกระทำให้เหมือนในสวิตักกทุกะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๗๑๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย ๖ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ ใน นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.


ความคิดเห็น 12    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 805

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๑๕] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอํานาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำ ๔ วาระ อย่างนี้เหมือนกับสวิตักกทุกะ.

๒. อารัมมณปัจจัย ๓. อธิปติปัจจัย

[๗๐๖] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

อารัมมณปัจจัยก็ดี อธิปติปัจจัยก็ดี พึงให้พิสดารเหมือนกับสัปปีติกทุกะ ต่างกันแต่คำว่า อุเบกขา.

๔. อนันตรปัจจัย

[๗๑๗] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย


ความคิดเห็น 13    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 806

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

๒. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่อุเบกขาที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

จุติจิต ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่ใช่ อุเบกขาสหคตธรรม.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม.

วิบากมโนธาตุ เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนวิญญาณธาตุ ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม.

ภวังค์ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม.

กุศลและอกุศล ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม.

กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.

ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.

เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ ผลสมาบัติ ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.


ความคิดเห็น 14    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 807

๓. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคต ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ และอุเบกขา ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ อุเบกขาที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาที่เกิดหลังๆ ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

จุติจิต ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่ใช่ อุเบกขาสหคตธรรม.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๕)

อุเบกขาที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.


ความคิดเห็น 15    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 808

จุติจิต ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็น อุเบกขาสหคตธรรม.

ภวังค์ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ.

กายวิญญาณธาตุ เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนธาตุ.

วิบากมโนวิญญาณธาตุ ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ กิริยามโนวิญญาณธาตุ.

ภวังค์ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.

กุศลและอกุศล ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.

กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.

ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ อุเบกขาที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ และอุเบกขา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๗. อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย


ความคิดเห็น 16    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 809

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ และ อุเบกขา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ และอุเบกขา เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

จุติจิต ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม และอุเบกขา เป็นปัจจัยแก่ อุปปัตติจิตที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม.

อาวัชชนะ และอุเบกขา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม.

วิบากมโนธาตุและอุเบกขา เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนวิญญาณธาตุ.

ภวังค์ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม และอุเบกขา เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม.

กุศลและอกุศล ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม และอุเบกขา เป็นปัจจัย แก่วุฏฐานะที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม.

กิริยาและอุเบกขา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.

ผลและอุเบกขา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.

เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธและอุเบกขา เป็น ปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ และอุเบกขา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ และ อุเบกขา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.


ความคิดเห็น 17    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 810

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๗๑๘] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสยยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม แล้วให้ทาน ด้วยจิตที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม.

สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ยังฌานที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย


ความคิดเห็น 18    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 811

อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนาะ อุเบกขา แล้วให้ทานด้วยจิตที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธาที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ และอุเบกขา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ และแก่อุเบกขา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

เป็นอุปนิสสยปัจจัยแม้ทั้งสาม คือ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่ไม่ใช่ อุเบกขาสหคตธรรม แล้วให้ทาน ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ยัง สมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ อุเบกขา แล้วให้ทานด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้ เกิดขึ้น ถือเอาของที่เขามิได้ให้ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ มุสาวาท ฯลฯ ปิสุณาวาท ฯลฯ ผรุสวาจา ฯลฯ สัมผัปปลาปวาท ตัดช่องย่อง เบา ฯลฯ ลอบขึ้นไปลักทรัพย์ ฯลฯ ปล้นบ้านหลังหนึ่ง ฯลฯ ดักปล้นตาม ทาง ฯลฯ ผิดในภริยาผู้อื่น ฯลฯ ฆ่าคนในหมู่บ้าน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ฯลฯ

ศรัทธาที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ และอุเบกขา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ฯลฯ แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.


ความคิดเห็น 19    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 812

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

เป็นอุปนิสสยปัจจัย ทั้ง ๓ นัย มีคำอธิบายเหมือนบาลีตอนที่สอง.

๗. อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๗๑๙] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๓ วาระ เหมือนกับสัปปีติกทุกะ

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

[๗๒๐] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย มี ๖ วาระ.

พึงกระทำสหชาตะ และ นานาขณิกะ ๔ วาระ, และเป็นนานาขณิกะ ๒ วาระ.


ความคิดเห็น 20    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 813

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอํานาจของวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย

พึงจำแนกปัจจัยเหล่านี้ โดยกระทำอย่างสัปปีติกทุกะ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๒๑] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ


ความคิดเห็น 21    โดย บ้านธัมมะ  วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 814

ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ. ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียวิภังค์ก็ดี การนับสามนัยนอกนี้ก็ดี พึงกระทำเหมือนกับ สัปปีติกทุกะ โดยนัยดังกล่าวมาแล้ว.

อุเบกขาสหคตทุกะ จบ