โยนิโสมนสิการ [อโยนิโสมนสิการสูตร]
คำว่าการกระทำไว้ในใจโดยแยบคาย มาจากคำว่าโยนิโสมนสิการ โปรดอ่านข้อความโดยตรงจากอรรถกถา
เล่มที่ 17 พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่ม ๑ ภาค ๑ หน้าที่ 157
ที่ชื่อว่า โยนิโสมนสิการ ได้แก่การทำไว้ในใจโดยถูกอุบาย =การทำไว้ในใจโดยถูกทาง =การนึก=การน้อมนึก=การผูกใจ=การใฝ่ใจ =การทำไว้ในใจ ซึ่งจิตในอนิจจลักษณะเป็นต้น โดยนัยเป็นต้นว่า ไม่เที่ยง หรือโดยสัจจานุโลมิกญาณ นี้เรียกว่า โยนิโสมนสิการ
เล่มที่ 25 พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เล่ม ๑ ภาค ๒
อโยนิโสมนสิการสูตร อกุศลวิตกเกิดเพราะไม่มนสิการโดยแยบคาย ข้อ 789 หน้า 376
เล่มที่ 30 พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค เล่ม ๕ ภาค ๑
ปฐมโยนิโสมนสิการสัมปทาสูตร โยนิโสมนสิการเป็นนิมิต ฯ ข้อ 136 หน้า 77 ทุติยโยนิโสมนสิการสัมปทาสูตร โยนิโสมนสิการเป็นนิมิต ฯ ข้อ 145 หน้า 81 ปฐมโยนิโสมนสิการสัมปทาสูตร โยนิโสมนสิการ ฯ ข้อ 154 หน้า 85 ทุติยโยนิโสมนสิการสัมปทาสูตร โยนิโสมนสิการ ฯ ข้อ 163 หน้า 89 ปฐมโยนิโสมนสิการสัมปทาสูตร โยนิโสมนสิการเป็นเหตุ ฯ ข้อ 172 หน้า 93 ทุติยโยนิโสมนสิการสัมปทาสูตร โยนิโสมนสิการเป็นเหตุ ฯ ข้อ 181 หน้า 97 ทุติยสุริยูปมสูตร โยนิโสมนสิการเป็นเบื้องต้น ฯ ข้อ 413 หน้า 221 ทุติยกุสลสูตร ธรรมที่เป็นกุศลมีโยนิโสมนสิการ ฯ ข้อ 465 หน้า 247 ปฐมอังคสูตร โยนิโสมนสิการเป็นปัจจัยแห่งโพชฌงค์ ข้อ 518 หน้า 271
เล่มที่ 45 พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อิติวุตตก เล่ม ๑ ภาค ๔
ปฐมเสขสูตร ว่าด้วยโยนิโสมนสิการได้บรรลุผลสูงสุด ข้อ194 หน้า115