อรรถกถาจีวรสูตรที่ ๑๑

 
chatchai.k
วันที่  11 ก.ย. 2563
หมายเลข  32980
อ่าน  784

[เล่มที่ 26] พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค เล่ม ๒ หน้าที่ 597 - 628

อรรถกถาจีวรสูตรที่ ๑๑

พึงทราบวินิจฉัยในจีวรสูตรที่ ๑๑ ดังตอไปนี้.

บทวา ทกฺขิณาคิริสฺมึ ความวา ชนบทภาคทักษิณของภูเขาเปนเทือกลอมกรุงราชคฤหชื่อวา ทักขิณาคิริ. อธิบายวา เที่ยวจาริกไปในทักขิณาคิรีชนบทนั้น. ชื่อวาจาริกมี ๒ อยางคือ รีบไป ๑ ไมรีบไป ๑.

ในบทเหลานั้น ภิกษุบางรูปนุงผากาสายะผืนหนึ่ง หมผื่นหนึ่งตลอดเวลา คลองบาตรและจีวรที่บา ถือรม วันหนึ่งเดินไปได ๗-๘ โยชน มีเหงื่อไหลทวมตัว. ก็หรือวาพระพุทธเจาทรงเห็นสัตว พึงตรัสรูไรๆ ขณะเดียวเสด็จไปไดรอยโยชนบาง พันโยชนบาง. นี้ชื่อวา รีบไป. ก็ทุกวันที่พระพุทธเจารับนิมนตเพื่อฉันในวันนี้. เสด็จไปทําการสงเคราะหชนมีประมาณเทานี้วา คาวุตหนึ่ง กึ่งโยชน สามคาวุต หนึ่งโยชน. นี้ชื่อวา ไมรีบไป ในที่นี้ประสงคจาริกนี้. พระเถระไดอยูเบื้องพระปฤษฎางคพระทศพลตลอด ๒๕ ป ดุจเงา มิใชหรือ.

ทานไมใหโอกาสแกพระดํารัสเพื่อตรัสถามวาอานนท ไปไหน. ทานไดโอกาสเที่ยวจาริกไปกับภิกษุสงฆ ในกาลหนึ่ง. ในปพระศาสดาปรินิพพาน. ไดยินวา เมื่อพระศาสดาปรินิพพานแลว พระมหากัสสปเถระนั่งในทามกลางภิกษุสงฆ ผูประชุมพรอมกันในการปรินิพพานของพระศาสดา เลือกภิกษุ ๕๐๐ รูปเพื่อทําสังคายนาพระธรรมวินัย กลาววา ก็ทานผูมีอายุทั้งหลาย เราทั้งหลายจักอยูจําพรรษาในกรุงราชคฤห สังคายนาพระธรรมวินัย ทานทั้งหลายกอนเขาพรรษา จงตัดปลิโพธสวนตัวเสีย แลวประชุมพรอมกันในกรุงราชคฤหเถิด ก็ไปยังกรุงราชคฤหดวยตนเอง. พระอานนทเถระถือบาตรและจีวรของพระผูมีพระภาคเจา ปลอบมหาชน ไปยังกรุงสาวัตถี ออกจากกรุงสาวัตถีนั้น ไปยังกรุงราชคฤห เที่ยวจาริกไปในทักขิณาคิรีชนบท. นี้ทานกลาวหมายถึงขอนั้น.

บทวา เยภุยฺเยน กุมารภูตา ความวา ภิกษุเหลานั้นใด ชื่อวา เวียนมาเพื่อความเปนหีนเพศ. ภิกษุเหลานั้นโดยมากเปนเด็กหนุมยังออน คือ เปนภิกษุพรรษาเดียว ๒ พรรษา และเปนสามเณร. ถามวา ก็เพราะเหตุอะไร เด็กเหลานั้นจึงบวช. เพราะเหตุอะไร จึงเวียนมาเพื่อความเปนหีนเพศ ดังนี้. ตอบวา ไดยินวา มาดาบิดาของเด็กนั้นคิดวา พระอานนทเถระเปนผูคุนเคยกับพระศาสดา ทูลขอพร ๘ อยางแลวจึงอุปฏฐาก ทั้งสามารถเพื่อจะพาเอาพระศาสดาไปยังสถานที่ที่ตนปรารถนาและตนปรารถนาได. เราทั้งหลายจึงใหพวกเด็กของพวกเราบวชในสํานักของพระอานนทนั้น. พระอานนทก็จักพาพระศาสดามา. เมื่อพระศาสดามาแลว เราทั้งหลายจักไดทําสักการะเปนอันมากดังนี้.

พวกญาติของเด็กเหลานั้น จึงใหเด็กเหลานั้นบวชดวยเหตุนี้กอน. แตเมื่อพระศาสดาปรินิพพาน ความปรารถนาของคนเหลานั้นก็หมดไป. เมื่อเปนเชนนั้น จึงใหเด็กเหลานั้นสึก แลวโดยวันเดียวเทานั้น .

บทวา ยถาภิรนฺต ไดแก ตามชอบใจคือตามอัธยาศัย. บทนี้วา ติกโภชน ปฺตฺต ทานกลาวถึงบทนี้วา เปนปาจิตตียให เพราะคณโภชน เวนไวแตสมัยดังนี้. ก็ภิกษุ๓ รูปพอใจแมรับนิมนตเปนอกัปปยะรวมกัน เปนอนาบัติในเพราะคณโภชนนั้น. เพราะฉะนั้น
ทานจึงกลาววา ติกโภชน ดังนี้.

บทวา ทุมฺมงฺกูน ปุคฺคลาน นิคฺคหาย ไดแก เพื่อขมคนทุศีล.

บทวา เปสลาน ภิกฺขูน ผาสุวิหาราย ความวา อุโบสถและปวารณา ยอมเปนไปเพื่อภิกษุผูมีศีลเปนที่รัก ดวยการขมคนหนาดานนั้นเอง. การ
อยูพรอมเพรียงกันยอมมี. นี้เปนผาสุวิหารของเปสลภิกษุเหลานั้น เพื่อประโยชนแกการอยูเปนสุขนี้.

บทวา มา ปาปจฺฉา ปกฺข นิสฺสาย สงฺฆ ภินฺเทยฺยุ ความวา เทวทัตออกปากขอในตระกูลดวยตนเอง บริโภคอยู อาศัยภิกษุปรารถนาลามก ทําลายสงฆ ฉันใด ผูปรารถนาลามกเหลาอื่น ออกปากขอในตระกูล โดยเปนคณบริโภคอยู ใหคณะเจริญแลว อาศัยพรรคพวกนั้น พึงทําลายสงฆได ฉันนั้น ดังนี้ จึงทรงบัญญัติไวดวยเหตุนี้แล.


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 11 ก.ย. 2563

บทวา กุลานุทยตาย จ ความวา เมื่อภิกษุสงฆทําอุโบสถและ ปวารณาอยูพรอมเพรียงกัน พวกมนุษยถวายสลากภัตเปนตน ยอมเปนผู มีสวรรคเปนเบื้องหนา. อธิบายวา และทรงบัญญัติไวเพื่ออนุเคราะห ตระกูลนี้ ดวยประการฉะนี้.

บทวา สสฺสฆาต มฺเ จรสิ ไดแก เธอเที่ยวไปเหมือน เหยียบย่ําขาวกลา

บทวา กุลปฺปฆาต มฺเ จรสิ ไดแก เธอเที่ยว ไปเหมือนทําลายเบียดเบียนตระกูล

บทวา โอลุชฺชติ ไดแก หลุดหาย คือ กระจายไป.

บทวา ปลุชฺชนฺติ โข เต อาวุโส นวปฺปายา ความวา ทานผูมีอายุ ภิกษุเหลานั้น โดยมาก คือสวนมากของทานเปน ผูใหม เปนหนุมมีพรรษาเดียว หรือ ๒ พรรษา และเปนสามเณร หลุดหาย คือกระจายไป.

บทวา น วาย กุมารโก มตฺตมฺาสิ พระเถระ เมื่อกลาวขูพระเถระวา เด็กนี้ไมรูจักประมาณตน.

บทวา กุมารกวาทา น มุจฺจาม ความวา พวกเรายังไมพนวาทะเปนเด็ก. ตถา หิ ปน ตฺว นี้ ทานกลาวเพื่อแสดงเหตุ เพราะพระอานนทนี้พึงถูกพระเถระกลาว อยางนี้. ในขอนี้ มีความประสงคดังนี้วา เพราะทานเที่ยวไปกับพวก ภิกษุใหมเหลานี้ ไมสํารวมอินทรีย. ฉะนั้น ทานเที่ยวไปกับพวกเด็กจึง ควรถูกเขากลาววาเปนเด็ก

บทวา อฺติตฺถิยปุพฺโพ สมาโน นี้ เพราะ อาจารย อุปชฌายของพระเถระไมปรากฏในศาสนานี้เลย. ตนถือเอาผา กาสายะแลว ออกบวช. ฉะนั้น ภิกษุณีถุลลนันทา กลาวบอกถึงพระ มหากัสสปเคยเปนอัญญเดียรถีย เพราะความไมพอใจ ในบทวา สหสา นี้ แมผูประพฤติดวยราคะและโมหะคือไมทันตรึก. แตบทนี้ ทานกลาว ดวยอํานาจความประพฤติดวยโทสะ.

บทวา อปฺปฏิสงฺขา คือยังไมทัน พิจารณา. บัดนี้ พระมหากัสสปเถระ เมื่อยังบรรพชาของตนใหบริสุทธิ์ จึง กลาวคําเปนตนวา ยโตห อาวุโส ดังนี้. ในบทเหลานั้น บทวา อฺ สตฺถาร อุทฺทิสิตุ ความวา เราไมนึก เพื่ออุทิศอยางนี้วา เวน พระผูมีพระภาคเจา คนอื่นเปนครูของเรา. ในบทเปนตนวา สมฺพาโธ ฆราวาส ความวา แมหากวาผัวและเมียทั้งสอง ยอมอยูในเรือน กวาง ๖๐ ศอก หรือแมภายในระหวางรอยโยชน การอยูครองเรือนผัวเมียเหลานั้น ชื่อวาคับแคบอยูนั่นเอง เพราะอรรถวา มีกิเลสเครื่องกังวล คือหวงใย

บทวา รชาปโถ ทานกลาวในมหาอรรถกถาวา เปนสถานที่เกิดแหงธุลี มีราคะเปนตน. จะกลาววา เปนทางแหงการมาดังนี้ก็ได. ชื่อวาอัพโภกาส เพราะอรรถวา ไมของ เหมือนปลอดโปรง เพราะบรรพชิตอยูในที่ ปกปด ในที่มีกูฏาคารรัตนปราสาทและเทพวิมานเปนตน ซึ่งมีประตูและ หนาตางปดแลว ยอมไมขัด ไมของ ไมติด. เพราะเหตุนั้น ทานจึง กลาววา บรรพชาเปนชองวาง. อนึ่ง ฆราวาส ชื่อวาคันแคบ เพราะ ไมเปนโอกาสแหงกุศลกิริยา ชื่อวาเปนทางหาแหงธุลี เพราะเปน ที่ประชุมแหงกิเลสเพียงดังธุลี เหมือนกองหยากเยื่ออันเขาไมปดไว. บรรพชา ชื่อวาเปนชองวาง เพราะเปนโอกาสแหงกุศลกิริยาความสบาย. ในบทวา นยิท สุกร ฯ เป ฯ ปพฺพเชยฺย นี้ มีสังเขปกถาดังนี้ คน พึงกระทําสิกขา ๓ ประพฤติพรหมจรรยไมใหขาดแมวันเดียว แลว ชื่อวาประพฤติใหสมบูรณโดยสวนเดียว เพราะเหตุใหบรรลุจริมกจิต. กระทําไมใหมีมลทิน ดวยมลทินคือกิเลส แมวันเดียว ชื่อวาบริสุทธิ์ โดยสวนเดียว เพราะเหตุใหบรรลุจริมกจิต

บทวา สงฺขลิขิต ไดแก เชนสังขขัด คือพึงประพฤติมีสวนเปรียบดวยสังขที่ชําระแลว

บทวา อิท น สุกร อคาร อชฺฌาวสตา ความวา ผูอยูในทามกลางเรือน ประพฤติ ฯลฯ ใหบริบูรณโดยสวนเดียว. ไฉนหนอ เราปลงผมและ หนวด นุงหมผากาสายะ เพราะซึมซาบดวยรสที่ยอมดวยน้ําฝาด คือผาที่ สมควรแกผูประพฤติพรหมจรรยออกจากเรือนพึงบวชไมมีเรือน. เพราะ ในขอนี้ กรรมมีกสิกรรมและพาณิชยกรรมเปนตน อันเกื้อกูลเรือน เรียกวาการมีเรือน. เรือนนั้นไมมีในบรรพชา. ฉะนั้น บรรพชาพึงรูวา การไมมีเรือน. ซึ่งอนาคาริยะการไมมีเรือนนั้น

บทวา ปพฺพเชยฺย คือพึง ปฏิบัติ

บทวา ปฏปโลติกาน คือผาเกา. ผาใหมแม๑๓ ศอก ทานเรียกวา ผาเกา จําเดิมแตเวลาตัดชาย. ทานหมายถึงสังฆาฏิที่ทานตัดผาที่มีราคา มาก กลาววา สังฆาฏิแหงผาเกา ดังนี้.

บทวา อทฺธานมคฺค ปฏิปนฺโน ไดแก ก็ทางตั้งแตกึ่งโยชน เรียกวา ไกล. อธิบายวา เดินทางไกลนั้น. บัดนี้ พึงกลาวอนุปุพพีกถาจําเดิมแตอภินิหาร เพื่อความแจมแจง แหงเนื้อความนี้ เหมือนบรรพชิตนั้น และผูเดินทางไกล ดังตอไปนี้. มีเรื่องเลาวา ในอดีตกาลในที่สุดแสนกัป พระศาสดาพระนามวา พระปทุมุตตระไดอุบัติขึ้น. เมื่อพระปทุมุตตระเสด็จเขาไปอาศัยหังสวดีนคร ประทับอยู ณ เขมมฤคทายวัน กุฏมพีชื่อวา เวเทหะ มีทรัพย สมบัติ ๘๐ โกฏิ บริโภคอาหารอยางดี แตเชาตรู อธิษฐานองคอุโบสถ ถือของหอมและดอกไมเปนตน ไปยังพระวิหาร บูชาพระศาสดา ถวาย นมัสการแลว นั่งอยูณ ที่สมควรสวนขางหนึ่ง.

ขณะนั้น พระศาสดาทรงตั้งพระสาวกรูปที่ ๓ ชื่อ มหานิสภัตเถระ ไวในฐานะเปนเอตทัคคะวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บรรดาภิกษุผูเปน สาวกของเรา เปนผูกลาวสอนธุดงค นิสภะเปนผูเลิศกวาภิกษุเหลานั้น. อุบาสกไดฟงดังนั้นเลื่อมใส ในที่สุดธรรมกถา เมื่อมหาชนลุกขึ้นกลับไป จึงถวายนมัสการพระศาสดากราบทูลวา วันพรุงนี้ ขอพระองคทรง รับภิกษาของขาพระองคเถิด. พระศาสดาตรัสวา อุบาสก ภิกษุสงฆมี จํานวนมากนะ. อุบาสกทูลถามวา ขาแตพระผูมีพระภาคเจา ภิกษุสงฆ มีประมาณเทาไร พระเจาขา. พระศาสดาตรัสวา มี ๖ ลาน ๘ แสนรูป. อุบาสกทูลวา ขาแตพระองคผูเจริญ ขอพระองคทรงใหภิกษุไมใหเหลือ ไวในวิหารแมสามเณรองคเดียว รับนิมนตเถิดพระเจาขา. พระศาสดา ทรงรับนิมนตแลว.

อุบาสกทราบวา พระศาสดารับนิมนตแลว จึงไปเรือนเตรียม มหาทาน วันรุงขึ้นใหคนไปกราบทูลถึงเวลาแดพระศาสดา. พระศาสดา ทรงถือบาตรและจีวร แวดลอมดวยหมูภิกษุสงฆ เสด็จไปเรือนของ อุบาสก ประทับนั่งบนอาสนะที่เขาปูไวเสร็จแลว ในที่สุดแหงทักษิโณทก ทรงรับขาวยาคูเปนตน ทรงแจกจายภัต. แมอุบาสกก็นั่งใกลพระศาสดา. ในลําดับนั้น ทานมหานิสภัตเถระเที่ยวไปบิณฑบาตถึงถนนนั้น

อุบาสกครั้นเห็นแลว จึงลุกขึ้นไปไหวพระเถระแลว กลาววา ขอพระ คุณเจาจงใหบาตรเถิด. พระเถระไดใหบาตรแลว. อุบาสกกลาววา นิมนตพระคุณเจาเขาไปในเรือนนี้เถิด. แมพระศาสดาก็ประทับนั่งใน เรือน. พระเถระกลาววา ไมสมควรดอกอุบาสก. อุบาสกรับบาตรของ พระเถระแลวใสบิณฑบาตจนเต็มนําไปถวาย. จากนั้นอุบาสกไปสงพระ เถระแลว กลับไปนั่งไปสํานักของพระศาสดา กราบทูลอยางนี้วา ขาแต พระองคผูเจริญ ทานมหานิสภัตเถระแมขาพระองคกลาววา พระศาสดา ประทับนั่งในเรือน ก็ไมปรารถนาจะเขาไป. พระศาสดาตรัสวา มหานิสภัตเถระนั้น มีคุณยิ่งกวาคุณของพวกทาน. ก็ความตระหนี่ คําสรรเสริญ ยอมไมมีแกพระสัมพุทธเจาทั้งหลาย. ครั้นแลวพระศาสดาจึงตรัสอยางนี้วา อุบาสก เรานั่งรอภิกษาในเรือน. ภิกษุนั้นนั่งอยางนี้ไมแลดูซึ่งภิกษา. เราอยูในเสนาสนะทายบาน. ภิกษุนั้นอยูในปา. เราอยูในที่มุงบัง. ภิกษุนั้นอยูในที่แจง. พระศาสดาตรัสดุจยังมหาสมุทรใหเต็มวา นี้แหละ นี้แหละ คุณของภิกษุนั้น ดวยประการฉะนี้

อุบาสกเลื่อมใสยิ่งขึ้น เหมือนประทีปอันสวางอยูแมตามปกติราด น้ํามันเขาไปฉะนั้น คิดวา ประโยชนอะไรดวยสมบัติอื่นแกเรา. เราจัก กระทําความปรารถนาเพื่อความเปนผูเลิศกวาภิกษุผูกลาวสอนธุดงคใน สํานักของพระพุทธเจาพระองคหนึ่งในอนาคต. เขานิมนตพระศาสดาอีก ครั้ง ถวายทานตลอด ๗ วัน โดยทํานองนี้ ในวันที่๗ ถวายไตรจีวร แกภิกษุ ๖ ลาน ๘ แสนรูป แลวหมอบลงแทบบาทมูลของพระศาสดา กราบทูลอยางนี้วา ขาแตพระองคผูเจริญ ทานที่ขาพระองคถวายตลอด ๗ วัน เปนทานที่ประกอบดวยเมตตากายกรรม เมตตาวจีกรรม เมตตามโนกรรม ขาพระองคมิไดปรารถนาเทพสมบัติ หรือสักกสมบัติ มารสมบัติ และพรหมสมบัติอยางอื่น ดวยทานนี้. แตกรรมของขาพระองคนี้ ขอจงเปนสัมฤทธิผลทุกประการแหงความเปนผูเลิศกวาภิกษุผูทรง ธุดงค ๑๓ เพื่อถึงฐานันดรที่ทานมหานิสภัตเถระถึงแลว ในสํานักของ พระพุทธเจาพระองคหนึ่งในอนาคตเถิด.

พระศาสดาทรงตรวจดูวา ฐานะอันใหญที่อุบาสกนี้ปรารถนาจัก สําเร็จหรือไมหนอ ทรงเห็นความสําเร็จแลว จึงตรัสวา ฐานะที่ทาน ปรารถนาสมใจแลว. ในที่สุดแสนกัปในอนาคต พระพุทธเจาพระนามวา โคตมะจักอุบัติขึ้น. ทานจักเปนสาวกรูปที่ ๓ ของพระโคดมพระองคนั้น จักชื่อวา มหากัสสปเถระ.

อุบาสกไดฟงนั้น ดําริวา ชื่อวาพระพุทธเจาทั้งหลาย ยอม ไมมีพระดํารัสเปนสอง ไดสําคัญสมบัตินั้นเหมือนถึงในวันรุงขึ้น. เขา รักษาศีลตลอดอายุ ครั้นทํากาลกิริยา ณ ที่นั้น แลวไดบังเกิดบนสวรรค. จําเดิมแตนั้น เขาเสวยสมบัติในเทวโลกและมนุสสโลก เมื่อพระวิปสสีสัมมาสัมพุทธเจาอาศัยเมืองพันธุมดีประทับอยู ณ เขมมฤคทายวัน ในกัป ที่ ๙๑ จากกัปนี้ (เขา) จุติจากเทวโลก บังเกิดในตระกูลพราหมณ แกตระกูลหนึ่ง. ก็ในกาลนั้น พระผูมีพระภาคเจาพระนามวา วิปสสี ทรงแสดงธรรมทุกๆ ๗ ป. ปรากฏความตื่นเตนกันยกใหญ ทวยเทพ ในสกลชมพูทวีปตางบอกขาวกันตอๆ ไปวา พระศาสดาจักทรงแสดง ธรรม. พราหมณไดสดับขาวนั้นแลว. แตเขามีผาสาฎกสําหรับนุงอยูผืน เดียว. ของพราหมณีก็เหมือนกัน. ทั้งสองคนมีผาหมผืนเดียวเทานั้น. ปรากฏไปทั่วเมืองวา พราหมณเอกสาฎก. เมื่อมีการประชุมกันดวยกิจ อยางใดอยางหนึ่งของพวกพราหมณ เขาไปดวยตนเอง ใหนางพราหมณี อยูที่เรือน. เมื่อมีการประชุมนางพราหมณีเขาอยูเรืองเอง. นางพราหมณี หมผาผืนนั้นไป. ก็ในวันนั้นพราหมณกลาวกะนางพราหมณีวา แมมหาจําเริญ แมจักฟงธรรมกลางคืนหรือกลางวัน.

นางพราหมณีพูดวา ฉัน เปนมาตุคาม ไมอาจจะฟงธรรมในเวลากลางคืนได. ฉันจักฟงธรรมใน เวลากลางวัน จึงใหพราหมณอยูที่เรือน หมผาผืนนั้นไปกับพวกอุบาสิกา ในเวลากลางวัน ถวายบังคมพระศาสดานั่งฟงธรรมอยู ณ ที่ควรสวนขาง หนึ่ง แลวกลับไปกับพวกอุบาสิกา. ครั้งนั้นพราหมณใหนางพราหมณี อยูเรือน หอผานั้นไปวิหาร.

ก็สมัยนั้น พระศาสดาประทับนั่ง ณ ธรรมาสนที่ตกแตงแลว ใน ทามกลางบริษัท ทรงจับพัดวีชนีอันวิจิตรตรัสธรรมกถา ดุจยังผูวิเศษ ใหหยั่งลงสูอากาศคงคา ดุจทํายอดภูเขาสิเนรุใหถลมลงสูสาคร. เมื่อ พราหมณนั่งอยูสุดแถว ฟงธรรมอยูในยามตนนั้นเอง ปติมีวรรณะ ๕ เกิดซานไปทั่วตัว. เขาพับผาหม คิดวา เราจักถวายแดพระทศพล. ลําดับนั้น เขาเกิดจิตตระหนี่ ชี้ถึงโทษพันดวง. ผาของนางพราหมณี และของทานมีผืนเดียวเทานั้น. ไมมีผาหมไรๆ อื่นอีก. ครั้นไมหมแลว ก็จะไมอาจออกไปขางนอกได เพราะฉะนั้น จึงไมประสงคจะถวายแม ดวยประการทั้งปวง. ครั้นปฐมยามลวงไป แมในมัชฌิมยาม เขาก็เกิด ปติอยางนั้นอีก. ก็ครั้นคิดเหมือนอยางนั้นแลว ก็ไมประสงคจะถวาย เหมือนอยางนั้นอีก. เมื่อมัชฌิมยามลวงไป แมในปจฉิมยาม เขาก็เกิด ปติอยางนั้นอีก. เขาคิดวา ตายหรือไมตายก็ชางเถิด. เราจักรูในภายหลัง จึงพับผาหมวางไว ณ บาทมูลของพระศาสดา แตนั้น เขาคูมือซาย ปรบ ดวยมือขวา เปลงเสียงวา เราชนะแลว เราชนะแลวถึง ๓ ครั้ง. สมัยนั้น พระเจาพันธุมหาราช ประทับนั่งทรงสดับธรรมอยูภายใน มานหลังธรรมาสน. ก็ธรรมดาพระราชายอมไมพอพระทัยเสียงวา เรา ชนะแลว เราชนะแลว ดังนี้.

พระองคทรงสงบุรุษไป มีพระดํารัสวา เจาจงไปถามพราหมณผูนั้นวา ทานพูดอะไร. บุรุษนั้นไปถามวา ทาน พูดอะไร. ครั้นบุรุษนั้นไปถามแลว พราหมณพูดวา พวกชนที่เหลือขึ้น ยานชางเปนตน แลวชนะขาศึก ขอนั้นไมอัศจรรยเลย. ก็เราสละจิต ตระหนี่ไดถวายผาหมแดพระทศพล ดุจเอาสากทุบหัวโคโกง ซึ่งเดินมา ขางหลัง แลวใหมันหนีไปฉะนั้น. พราหมณกลาววา เราชนะความ ตระหนี่นั้น.

ราชบุรุษกลับมากราบทูลเรื่องนั้นแดพระราชา ตรัสวา พนาย เราไมรูสิ่งสมควรของพระทศพล พราหมณเปนผูรู จึงทรงสงผา ไปคูหนึ่ง. พราหมณเห็นผาคูนั้นจึงคิดวา พระราชาพระองคนี้ไมพระราชทานอะไรๆ แกเราผูนั่งนิ่งกอน เมื่อเรากลาวถึงคุณของพระศาสดา แลว จึงพระราชทาน. ประโยชนอะไรของเราดวยผาที่เกิดขึ้น เพราะ อาศัยคุณของพระศาสดา จึงไดถวายผาคูนั้น แดพระทศพลอีก. พระราชาตรัสถามวา พราหมณทําอะไร สดับวา พราหมณถวายผาคูนั้น แดพระตถาคตเชนเคย จึงทรงสงผา ๒ คูอื่นไปให. พราหมณก็ไดถวาย ผา ๒ คูนั้นอีก. พระราชาทรงสงผาไปอีก ๔ คู จนถึง ๓๒ คู.

ครั้งนั้น พราหมณคิดวา คูผานี้ดูเหมือนจะเพิ่มจํานวนมากขึ้น จึงถือเอาเพียง ๒ คู คือเพื่อตนคูหนึ่ง เพื่อนางพราหมณคูหนึ่ง ไดถวาย แดพระตถาคต ๓๐ คู ตั้งแตนั้นมา พราหมณนั้นไดคุนเคยกับพระศาสดา. วันหนึ่งในฤดูหนาว พระราชาทรงเห็นพราหมณนั้นฟงธรรมในสํานัก ของพระศาสดาจึงพระราชทานผารัตตกัมพลที่คลุมพระองคมีคาแสนหนึ่ง แลวตรัสวา ตั้งแตนี้ไป ทานจงหมผาผืนนี้ ฟงธรรม. เขาคิดวา ประโยชนอะไรของเราดวยผากัมพลผืนนี้ที่จะนําเขาไปในกายอันเปอยเนานี้ จึงกระทําใหเปนเพดานเบื้องบนเตียงของพระตถาคตภายในพระคันธกุฎี แลวจึงไป.

วันหนึ่ง พระราชาเสด็จไปวิหารแตเชาตรู ประทับนั่งในสํานัก ของพระศาสดา ภายในพระคันธกุฎี. สมัยนั้น พระพุทธรัศมี มีสี ๖ ประการ กระทบผากัมพล. ผากัมพลรุงเรืองยิ่งนัก. พระราชาทรงมองไป เบื้องบนทรงจําได จึงกราบทูลวา ขาแตพระองคผูเจริญ ผากัมพลผืนนี้ ของขาพระองค ขาพระองคไดใหแกพราหมณเอกสาฎก. พระศาสดา ตรัสวา มหาบพิตร พระองคบูชาพราหมณแลว พราหมณบูชาอาตมา แลว.

พระราชาดําริวา พราหมณไดรูสิ่งที่ควรเราไมรู. ทรงเลื่อมใสแลว ทรงกระทําสิ่งที่เกื้อกูลมนุษยทั้งหมด ใหเปนอยางละ ๘ๆ พระราชทาน อยางละ ๘ ทั้งหมด แลวทรงแตงตั้งพราหมณในตําแหนงปุโรหิต. ชื่อวา ทานอยางละ ๘ๆ รวมเปน ๖๔. เขานอมนําสลากภัตร ๖๔ รักษาศีล จุติจากนั้นไปบังเกิดบนสวรรค. ครั้นจุติจากนั้นอีก ไดบังเกิดในเรือน กุฏมพี ในกรุงพาราณสี ในระหวางพระพุทธเจา ๒ พระองค คือ พระผูมีพระภาคเจาพระนามวา โกนาคมนะ และพระทศพลพระนามวา กัสสปะ ในกัปนี้. เขาอาศัยความเจริญอยูครองเรือน วันหนึ่งเที่ยวไป ยังชังฆติกวิหาร ในปา.

ก็สมัยนั้น พระปจเจกพุทธเจา กระทําจีวรกรรมอยู ณ ฝงแมน้ํา เมื่ออนุวาต (ขอบจีวร) ไมพอ จึงปรารภเพื่อจะพับเก็บ. เขาเห็น จึงถามวา เพราะเหตุไรพระคุณเจาพับเก็บเจาขา. พระปจเจกพุทธเจา ตอบวา อนุวาต ไมพอ. เขากลาววา ขอพระคุณเจาจงทําดวยผาผืนนี้ เถิด. แลวถวายผาสาฎกตั้งความปรารถนาวา ขอเราจงอยามีความเสื่อม ไรๆ ในที่ที่เราไปเกิดเถิด. แมที่เรือนเมื่อนองสาวของเขาทะเลาะกันอยูกับ ภรรยา พระปจเจกพุทธเจาเขาไปบิณฑบาต. ลําดับนั้น นองสาวของเขา ถวายบิณฑบาตแดพระปจเจกพุทธเจาแลวตั้งความปรารถนาวา เราพึงเวน คนพาลเห็นปานนี้ไป ๑๐๐ โยชน นางกลาวอยางนี้ หมายถึงภรรยาของ พราหมณนั้น. ภรรยายืนอยูที่ประตูเรือน ครั้นไดยินจึงคิดวา พระปจเจกพุทธเจาอยาฉันภัตรที่หญิงนี้ถวายเลย จึงรับบาตรมาแลวทิ้งบิณฑบาตเสีย เอาเปอกตมใสจนเต็มถวาย. นองสาวเห็นจึงพูดวา หญิงพาล เจาจงดา หรือทุบตีเราก็พอ แตเจาไมควรทิ้งภัตรจากบาตรของทานผูบําเพ็ญบารมี มาตลอด ๒ อสงไขย แลวถวายเปอกตม.

ทีนั้น ภรรยาของเขาจึงไดเกิดความคิด. นางกลาววา หยุดเถิด เจาขา แลวทิ้งเปอกตม ลางบาตร ขัดดวยผงหอม แลวใสอาหารมีรส อรอย ๔ ชนิดจนเต็มบาตร วางบาตรซึ่งแพรวพราวดวยสัปปมีสีดุจกลีบบัว ที่โปรยไวเบื้องบน บนมือของพระปจเจกพุทธเจา แลวตั้งความปรารถนา วา ขอรางกายของเราจงมีแสงเหมือนบิณฑบาตนี้อันมีแสงเถิด. พระปจเจกพุทธเจาอนุโมทนาแลวเหาะไปสูอากาศ. ภรรยาสามีบําเพ็ญกุศล ตราบสิ้นอายุ ไดบังเกิดบนสวรรค

ครั้นจุติจากสวรรค อุบาสกไดบังเกิด เปนบุตรของเศรษฐีมีสมบัติ ๘๐ โกฏิ ในกรุงพาราณสี. สวนภรรยาได บังเกิดเปนธิดาของเศรษฐีเชนเดียวกัน. มารดาบิดาไดนําธิดาเศรษฐีนั้น แล มาใหแกบุตรเศรษฐีผูเจริญวัย. เพียงเมื่อเศรษฐีธิดาเขาไปสูตระกูล สามีดวยอานุภาพแหงกรรมอันเปนผลที่นางไมถวายทานมากอน สกลกาย ก็เกิดกลิ่นเหม็นดุจสวมที่เขาเปดไวภายในธรณีประตู. เศรษฐีกุมารถามวา นี้กลิ่นของใคร ครั้นไดฟงแลว เปนกลิ่นของเศรษฐีธิดา จึงตะโกน ขึ้นวา จงนําออกไป จงนําออกไป แลวสงกลับไปยังเรือนตระกูล โดยทํานองเดียวกับที่นํามา. เศรษฐีธิดาถูกสงกลับไปในฐานะ ๗ โดย ทํานองนี้แล คิดวาเรากลับไปถึง ๗ ครั้งแลว เราจะอยูไปทําไม จึง ยุบเครื่องอาภรณของตนใหทําอิฐทองคํา ยาว ๑ ศอก กวาง ๑ คืบ สูง ๔ นิ้ว. จากนั้น นางถือกอนหรดาลและมโนศิลาแลว ถือดอกบัว ๘ กํา ไปสูที่สรางเจดียของพระกัสสปทศพล.

ก็ในขณะนั้น เมื่อนางมาถึง กอนอิฐไดตกลงมา. เศรษฐีธิดาจึง บอกกะชางวา ทานจงวางอิฐกอนนี้ไวตรงนี้. ชางกลาววา แมมหาจําเริญ แมมาในเวลา แมวางเองเถิด. นางขึ้นไปเอาน้ํามันผสมหรดาลและมโนศิลา กออิฐใหแนนดวยหรดาลและมโนศิลาที่ผสมน้ํามันนั้น ทําการบูชาดวย ดอกบัว ๘ กําเบื้องบน แลวไหวทําความปรารถนาวา ขอกลิ่นจันทนจง ฟุงออกจากปากในที่เกิดเถิด แลวไหวพระเจดีย กระทําประทักษิณกลับ ไป.

ในขณะนั้น เศรษฐีบุตรระลึกถึงเศรษฐีธิดาที่นําไปสูเรือนครั้งแรก. แมในเมืองก็มีการปาวรองเลนนักษัตร. เศรษฐีถามคนรับใชวา เศรษฐี ธิดาที่นําไปคราวนั้น นางอยูที่ไหน. คนรับใชตอบวา อยูที่เรือนตระกูล จะนาย. เศรษฐีบุตรกลาววา พวกเจาจงนํามา เราจักเลนนักษัตรนั้น. พวกรับใชพากันไปยืนไหวเศรษฐีธิดา ครั้นเศรษฐีธิดาถามวา พวกทาน มาทําไม จึงบอกเรื่องราวใหนางฟง. เศรษฐีธิดากลาววา พอคุณเราเอา เครื่องอาภรณบูชาเจดียหมดแลว เราไมมีอาภรณ. คนรับใชพากันไป บอกแกเศรษฐีบุตร เศรษฐีบุตรกลาววา พวกทานจงนํานางมาเถิด. เราจักใหเครื่องประดับ. คนรับใชนํานางมาแลว. พรอมกับที่นางเขาไป สูเรือน กลิ่นจันทนและกลิ่นดอกบัวขาบฟุงไปตลอดเรือน. เศรษฐีบุตร ถามเศรษฐีธิดาวา ครั้งแรกกลิ่นเหม็นฟุงออกจากรางกายของเจา. แต เดี๋ยวนี้กลิ่นจันทนฟุงออกจากรางกาย กลิ่นดอกบัวฟุงออกจากปากของ เจา. มันเรื่องอะไรกัน.

นางไดบอกกรรมที่นางทําตั้งแตตน. เศรษฐีบุตรเลื่อมใสวา คําสอนของพระพุทธเจาทั้งหลาย เปนคําสอนที่นําออก จากทุกขหนอ จึงเอาเสื้อกัมพลคลุมเจดียทอง ประกอบดวยดอกประทุม ทอง ประมาณเทาลอรถ ณ ที่นั้น หอยยอยลงมาประมาณ ๑๒-๑๓ ศอก. เศรษฐีบุตรนั้น ดํารงอยู ณ ที่นั้นตราบเทาอายุแลว ไปบังเกิดบน สวรรค จุติจากนั้นไปบังเกิดในตระกูลอํามาตยตระกูลหนึ่ง ในที่ประมาณ ๑๐๐ โยชน จากกรุงพาราณสี. เศรษฐีธิดาจุติจากเทวโลกไปบังเกิดเปน ราชธิดาในราชตระกูล. เมื่อทั้งสองเจริญวัย ใกลบานที่กุมารอยูไดมีการ ปาวรองเลนนักษัตร. กุมารพูดกะมารดาวา แมจา แมใหผาสาฎกแกฉัน เถิด. ฉันจักเลนนักษัตร. มารดานําผาที่ซักแลวมาให. กุมารไดปฏิเสธ ผาผืนนั้น. มารดานําผาผืนอื่นมาใหอีก. กุมารปฏิเสธผาผืนนั้นอีก.

ลําดับนั้น มารดาพูดกะกุมารนั้นวา ลูกเอย เราเกิดในเรือนเชนใด เราไมมีบุญเพื่อจะไดผาเนื้อละเอียดกวานั้น. กุมารกลาววา แมจา ลูกจะ ไปที่ที่หาได. มารดากลาววา ลูกเอย แมปรารถนาจะใหลูกไดราชสมบัติ ในกรุงพาราณสีในวันนี้ทีเดียว. กุมารนั้นไหวมารดาแลวกลาววา แมจํา ลูกจะไปละ. มารดากลาววา ไปเถิดลูก. นัยวา มารดาไดมีความคิด อยางนี้วา กุมารจักไป ที่ไหน จักนอนในที่นี้หรือในเรือนนี้. ก็กุมาร นั้นออกไปโดยกําหนดของบุญไปถึงกรุงพาราณสี นอนคลุมศีรษะบนแผน มงคลศิลา ณ พระอุทยาน.

อนึ่ง เมื่อพระเจากรุงพาราณสีสวรรคต วันนั้น เปนวันที่ ๗. พวกอํามาตย ครั้นถวายพระเพลิงพระศพของพระราชาแลว จึงนั่งปรึกษากัน ณ พระลานหลวงวา พระราชามีพระธิดาองคเดียวเทานั้น ไมมีพระโอรส ราชสมบัติที่ไมมีพระราชาจะดํารงอยูไมได ใครจะเปน พระราชา เพราะฉะนั้น ขอทานจงปรึกษากันดูเถิด. ปุโรหิตกลาววา ไมควรดูใหมากไป. เราจะปลอยบุษยราชรถ. พวกอํามาตยเทียมมา สินธพ ๔ ตัวมีสีขาว ตั้งเครื่องราชกกุธภัณฑ ๕ อยาง และเศวตฉัตรไว บนรถ แลวปลอยรถไปใหประโคมดนตรีตามไปขางหลัง.

ราชรถออก ทางประตูดานปราจีนบายหนาไปพระราชอุทยาน. ราชรถบายหนาไปพระ ราชอุทยานดวยบุญบารมี. พวกอํามาตยบางคนบอกวา พวกเรากลับเถิด. ปุโรหิตบอกวา พวกทานอยากลับ. ราชรถกระทําประทักษิณกุมารแลว ก็หยุด เปนการเตรียมใหกุมารขึ้น. ปุโรหิตดึงชายผาหมออก มองดูฝาเทา กลาววา ทวีปนี้ยกไวกอน กุมารนี้ควรครองราชสมบัติในทวีปทั้ง ๔ มีทวีป ๒,๐๐๐ เปนบริวารแลวใหประโคมดนตรี ๓ ครั้งวา พวกทาน จงประโคมอีก พวกทานจงประโคมอีก

ลําดับนั้น กุมารเปดหนามองดู แลวถามวา พอเจาพระคุณทั้งหลาย พวกทานมาทําอะไรกัน. ตอบวา ทานผูประเสริฐ ราชสมบัติจะถึงแก ทาน. ถามวา พระราชาไปไหนเสียเลา. ตอบวา สวรรคตเสียแลวนาย. ถามวา กี่วันแลว. ตอบวา ๗ วันเขาวันนี้. ถามวา พระโอรสหรือพระธิดา ไมมีหรือ. ตอบวา มีแตพระธิดา ทานผูประเสริฐ ไมมีพระโอรส. รับวา เราจักครองราชสมบัติ.

พวกอํามาตยสรางมณฑปสําหรับอภิเษกกอน ประดับพระราชธิดา ดวยเครื่องประดับทุกชนิด แลวนํามายังพระราชอุทยาน ไดกระทําอภิเษก พระกุมาร. ลําดับนั้น พวกอํามาตยไดนําผาราคาแสนหนึ่งนอมถวายแด พระกุมารผูไดทําอภิเษกแลว. พระกุมารตรัสถามวา นี่อะไรพอคุณ. ทูลวา ผานุง พระเจาขา. ตรัสถามวา เปนผาเนื้อหยาบมิใชหรือ. ทูลวา บรรดาผาที่พวกมนุษยใชสอยกันอยู ไมมีผาที่มีเนื้อละเอียดกวานี้ พระเจาขา. ตรัสถามวา พระราชาของพวกทานนุงผาอยางนี้หรือ. ทูลวา ใชแลว พระเจาขา. ตรัสวา พระราชาของทานคงจะไมมีบุญ. พวกอํามาตยนําพระเตาทองมาถวาย. พระกุมารเสด็จลุกขึ้นชําระพระหัตถ ทั้งสอง ทรงบวนพระโอษฐแลว ทรงอมน้ําพนไปทางทิศตะวันออก. ตนกัลปพฤกษ ๘ ตน ทําลายแผนดินอันหนาผุดขึ้น. พระกุมารทรง อมน้ําพนไปทางทิศใต ทิศตะวันตก ทิศเหนืออีก เพราะเหตุนั้น ตน กัลปพฤกษผุดขึ้นแลวทั้ง ๔ ทิศอยางนี้. ในทุกทิศตนกัลปพฤกษผุดขึ้น ทิศละ ๘ ตน จึงรวมเปน ๓๒ ตน.

พระกุมารทรงนุงผาทิพยผืนหนึ่ง ทรงหมผืนหนึ่ง ตรัสวา พวก ทานจงเที่ยวตีกลองประกาศในแควนของพระเจานันทะวา พวกหญิง ปนดาย อยาปนดาย แลวใหยกฉัตร ทรงชางตัวประเสริฐ ที่ประดับ ตกแตงแลว เสด็จเขาสูพระนคร ทรงขึ้นสูปราสาทเสวยมหาสมบัติ. เมื่อกาลผานไปดวยประการฉะนี้ วันหนึ่ง พระเทวีทรงเห็นสมบัติ ของพระราชา ทรงแสดงอาการของความเปนผูกรุณาวา โอ ผูมีตปะ. ตรัสถามวา อะไร พระเทวี. ทูลวา สมบัติใหญยิ่งนักเพคะ ในอดีต พระองคเชื่อพระพุทธเจา ไปกระทําความดี บัดนี้ พระองคไมกระทํา กุศลอันเปนปจจัยแหงอนาคต. ตรัสถามวา เราจักใหแกใคร. ผูมีศีลก็ไมมี. ทูลวา พระองค ชมพูทวีปไมวางเปลาจากพระอรหันต. ขอพระองคจง ทรงเตรียมทานไว หมอมฉันจักได (นิมนต) พระอรหันตมา. ใน วันรุงขึ้น พระราชารับสั่งใหเตรียมทานทางทวารดานปราจีน. พระเทวีทรงอธิษฐานองคอุโบสถแตเชาตรู บายหนาไปทางทิศตะวันออก

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
chatchai.k
วันที่ 11 ก.ย. 2563

ณ เบื้องบนปราสาท หมอบลงกลาววา หากพระอรหันตมีอยูในทิศนี้. ขอพระอรหันตทั้งหลายจงมารับภิกษาของพวกขาพเจาในวันพรุงนี้เถิด. ในทิศนั้นไมมีพระอรหันต ไดใหสักการะนั้นแกคนกําพราและยาจก. ใน วันรุงขึ้น พระเทวีไดเตรียมทาน ณ ประตูดานทักษิณ แลวกระทําเหมือน อยางนั้น. ในวันรุงขึ้นไดเตรียมทานดานประตูทิศปจฉิม แลวกระทํา เหมือนอยางนั้น. ก็ในวันที่พระนางเตรียมทาน ณ ประตูดานทิศอุดร พระปจเจกพุทธเจาชื่อมหาปทุม ผูเปนใหญกวาพระปจเจกพุทธเจา ๕๐๐ บุตรของ นางปทุมวดี ซึ่งอยูในหิมวันต อันพระเทวีนิมนตแลวเหมือนอยางนั้น ไดเรียกพระปจเจกพุทธเจาผูเปนนองมากลาววา ทานผูนิรทุกขทั้งหลาย พระราชานันทะทรงนิมนตพวกทาน ขอพวกทานจงรับนิมนตพระองค เถิด. พระปจเจกพุทธเจาเหลานั้นรับนิมนตแลว วันรุงขึ้นลางหนาที่สระ อโนดาต เหาะมาลง ณ ประตูดานทิศอุดร. พวกมนุษยพากันไปกราบ ทูลพระราชาวา ขาแตพระองคผูประเสริฐ พระปจเจกพุทธเจา ๕๐๐ มาแลว พระเจาขา. พระราชาพรอมกับพระเทวีเสด็จไปทรงไหวแลวรับ บาตรนิมนตพระปจเจกพุทธเจาใหขึ้นบนปราสาท แลวทรงถวายทานแก พระปจเจกพุทธเจาทั้งหลายบนปราสาทนั้น

ครั้นเสร็จภัตกิจแลว พระราชาทรงหมอบ ณ บาทมูลของพระสังฆเถระ พระเทวีทรงหมอบ ณ บาทมูลของพระสังฆนวกะ ทรงใหทําปฏิญญาวา พระคุณเจาทั้งหลาย จักไมลําบากดวยปจจัย ขาพเจาทั้งหลายจักไมเสื่อมจากบุญ ขอพระคุณเจา ทั้งหลายจงใหปฏิญญาเพื่ออยู ณ ที่นี้ตลอดชีวิตของพวกขาพเจาทั้งหลาย เถิด แลวทรงสรางที่อยู โดยอาการทั้งปวง คือ บรรณศาลา ๕๐๐ ที่จงกรม ๕๐๐ ที่ ในพระอุทยาน. แลวอาราธนาใหพระปจเจกพุทธเจาอยู ณ ที่นั้น. เมื่อกาลผานไปอยางนี้ชายแดนของพระราชากําเริบ. พระราชา รับสั่งกะพระเทวีวา ฉันจะไปทําชายแดนใหสงบ เธออยาประมาทใน พระปจเจกพุทธเจาทั้งหลาย แลวเสด็จไป. เมื่อพระราชายังไมเสด็จมา อายุสังขารของพระปจเจกพุทธเจาทั้งหลายสิ้นแลว.

พระปจเจกพุทธเจาชื่อมหาปทุม เขาฌานตลอด ๓ ยามในราตรี เมื่อ อรุณขึ้น ยืนพิงกระดานปรินิพพานดวยปรินิพพานธาตุ อันเปนอนุปาทิเสส. แมที่เหลือทั้งหมดก็ปรินิพพานดวยอุบายนี้. ในวันรุงขึ้น พระเทวีรับสั่ง ใหทําที่นั่งของพระปจเจกพุทธเจาทั้งหลาย ฉาบดวยของเขียว เกลี่ยดอกไม ทําการบูชา นั่งแลดูพระปจเจกพุทธเจาทั้งหลายมา เมื่อไมเห็นมา จึง ทรงสงราชบุรุษไปวา เธอจงไป จงทราบวา พระผูเปนเจาทั้งหลาย ไมสบายหรืออยางไร. ราชบุรุษไปเปดประตูบรรณศาลาของพระปจเจกพุทธเจามหาปทุม เมื่อไมเห็น ณ ที่นั้น จึงไปยังที่จงกรม เห็นทานยืน พิงกระดาน ไหวแลวกลาววา ถึงเวลาแลวพระคุณเจา. รางกายดับแลว จักพูดไดอยางไร. ราชบุรุษคิดวา เห็นจะหลับ จึงไปลูกคลําที่หลังเทา รูวาทานปรินิพพานเสียแลว เพราะเทาเย็นและกระดาง จึงไปหาทานที่๒ ทานที่๓ ก็อยางนั้น รูวาทานทั้งหมดปรินิพพานแลว จึงไป ราชตระกูล เมื่อรับสั่งถามวา พระปจเจกพุทธเจาทั้งหลายไปไหน กราบ ทูลวา ขาแตพระเทวี พระปจเจกพุทธเจาทั้งหลายปรินิพพานเสียแลว. พระเทวีทรงคร่ําครวญกันแสง เสด็จออกพรอมกับชาวเมือง ไปถึงที่ นั้นใหเลนสาธุกีฬา กระทําฌาปนกิจพระปจเจกพุทธเจาทั้งหลาย แลวถือ เอาธาตุกอเจดียบรรจุ.


พระราชาครั้นทําใหชายแดนสงบ เสด็จกลับ ตรัสถามพระเทวี ซึ่งเสด็จมาตอนรับวา นองหญิง เธอไมประมาทในพระปจเจกพุทธเจา ทั้งหลายหรือ. พระผูเปนเจาทั้งหลายสบายดีหรือ. ทูลวา พระปจเจกพุทธเจาทั้งหลายปรินิพพานเสียแลวเพคะ. พระราชาทรงดําริวา ความตาย ยังเกิดแกบัณฑิตเห็นปานนี้ได พวกเราจะพนความตายไดแตไหน. พระราชาไมเสด็จกลับพระนคร เสด็จเขาไปยังพระอุทยานนั้นแล รับสั่งให เรียกเชษฐโอรสมา ทรงมอบราชสมบัติแกโอรสนั้น พระองคเองเสด็จ ผนวชเปนสมณเพศ. แมพระเทวีเมื่อพระสวามีผนวชทรงดําริวา เราจัก ทําอะไรได จึงทรงผนวชในพระอุทยานนั้นเอง. แมทั้งสองพระองค ยังฌานใหเกิด จุติจากที่นั้น แลวก็บังเกิดใน พรหมโลก. เมื่อทั้งสองอยูในพรหมโลกนั้นเอง พระศาสดาของเรา ทั้งหลายทรงอุบัติขึ้นในโลก ทรงธรรมจักรอันบวรใหเปนไปแลว เสด็จ ถึงกรุงราชคฤหโดยลําดับ.

ปปผลิมาณพนี้เกิดในทองของอัครมเหสีของกบิลพราหมณในบาน พราหมณมหาดิตถ แควนมคธ. นางภัททกาปลานีเกิดในทองของอัครมเหสีของพราหมณโกสิยโคตร ในสาคลนคร แควนมคธ. เมื่อเขาเจริญวัย โดยลําดับ ปปผลิมามาณพอายุ ๒๐ นางภัททาอายุ ๑๖ มารดาบิดา แลดูบุตร คาดคั้นเหลือเกินวา ลูกเอย ลูกเติบโตแลว ควรดํารงวงศ ตระกูล. มาณพกลาววา คุณพอ คุณแม อยาพูดถอยคําเชนนี้ใหเขาหู ลูกเลย. ลูกจะปรนนิบัติตราบเทาที่คุณพอคุณแมดํารงอยู. ลูกจักออกบวช ภายหลังคุณพอคุณแม. ลวงไปอีกเล็กนอย มารดาบิดาก็พูดอีก. แม มาณพก็ปฏิเสธเหมือนอยางเดิม. ตั้งแตนั้นมามารดาก็ยังอยูไมขาดเลย.

มาณพคิดวา เราจักใหมารดายินยอมเรา. จึงใหทองสีแดงพันลิ่ม ใหชาง ทองหลอรูปหญิงคนหนึ่ง เมื่อเสร็จทําการขัดสีรูปหญิงนั้น จึงใหนุงผา แดง ใหประดับดวยดอกไม สมบูรณดวยสีและดวยเครื่องประดับตางๆ แลวเรียกมารดามาบอกวา แมจา ลูกเมื่อไดอารมณเห็นปานนี้ จักดํารง อยูในเรือน เมื่อไมไดจักไมดํารงอยู. พราหมณีเปนหญิงฉลาด คิดวา บุตรของเรามีบุญ ใหทาน สรางสมความดี เมื่อทําบุญมิไดทําเพียงผูเดียว เทานั้น. จักมีหญิงที่ทําบุญไวมาก มีรูปเปรียบรูปทองเชนรูปหญิงนี้ แนนอน. จึงเรียกพราหมณ ๘ คนมาสั่งวา พวกทานจงใหอิ่มหนําสําราญ ดวยความใครทุกชนิดยกรูปทองขึ้นสูรถไปเถิด. พวกทานจงคนหาทาริกา เห็นปานนี้ ในตระกูลที่เสมอดวยชาติ โคตร และโภคะของเรา. พวก ทานจงประทับตราไว แลวใหรูปทองนี้. พราหมณเหลานั้นออกไปดวย คิดวา นี้เปนกรรมของพวกเรา แลวคิดตอไปวา เราจักไปที่ไหน รูวา แหลงของหญิง มีอยูในมัททรัฐ เราจักไปมัททรัฐ จึงพากันไปสาคลนคร ในมัททรัฐ. พวกพราหมณตั้งรูปทองนั้นไวที่ทาน้ํา แลวพากันไปนั่ง ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง.

ครั้งนั้น พี่เลี้ยงของนางภัททา ใหนางภัททาอาบน้ําแตงตัวแลว ใหนั่งในหองอันเปนสิริแลวมาอาบน้ํา ครั้นเห็นรูปนั้น จึงคุกคามดวย สําคัญวา ลูกสาวนายเรามาอยูในที่นี้ กลาววา คนหัวดื้อ เจามาที่นี้ทําไม เงื้อหอกคือฝามือตกนางภัททาที่สีขาง กลาววา จงรีบไปเสียว. มือสั่น เหมือนกระทบที่หิน. พี่เลี้ยงหลีกไป เกิดความรูสึกวา ลูกสาวนายของ เราแตงตัว กระดางถึงอยางนี้. พี่เลี้ยงกลาววา จริงอยู แมผูถือเอาผานุงนี้ ไมสมควรแกลูกสาวนายของเรา.

 
  ความคิดเห็นที่ 3  
 
chatchai.k
วันที่ 11 ก.ย. 2563

ลําดับนั้น พวกคนแวดลอมพี่เลี้ยงนั้น พากันถามวา ลูกสาวนาย ของทานมีรูปอยางนี้หรือ. นางกลาววาอะไรกัน นายของเรามีรูปงามกวา หญิงนี้ตั้งรอยเทาพันเทา. เมื่อนางนั่งอยูในหองประมาณ ๑๒ ศอก ไม ตองตามประทีป. เพราะแสงสวางของรางกายเทานั้นกําจัดความมืดได. พวกมนุษยกลาววา ถาเชนนั้น ทานจงมา พาหญิงคอมนั้นไป ใหยก รูปทองไวในรถ ตั้งไวที่ประตูเรือนของพราหมณโกสิยโคตร ประกาศใหรู วามา. พราหมณทําปฏิสันถารแลวถามวา พวกทานมาแตไหน. พวกมนุษย กลาววา พวกเรามาแตเรือนของกบิลพราหมณ ณ บานมหาดิตถ ใน แควนมคธ ดวยเหตุชื่อนี้. พราหมณกลาววา ดีแลว พอคุณ. พราหมณ ของพวกเรา มีชาติโคตรและสมบัติเสมอกัน เราจักใหนางทาริกา. แลว รับบรรณาการไว. พราหมณเหลานั้น สงขาวใหกบิลพราหมณทราบวา ไดนางทาริกแลว โปรดทําสิ่งที่ควรทําเถิด.

มารดาบิดาฟงขาวนั้นแลว จึงบอกแกปปผลิมาณพวา ขาววา ไดนางทาริกาแลว. มาณพคิดวา เราคิดวา เราจักไมได ก็มารดาบิดากลาววา ไดแลว เราไมตองการ จักสงหนังสือไป จึงไปในที่ลับ เขียนหนังสือวา แมภัททา จงครอง เรือนตามสมควรแกชาติ โคตร และโภคะของตนเถิด เราจักออกบวช. ทานอยาไดมีความเรารอนใจในภายหลังเลย. แมนางภัททาก็สดับวา นัยวา มารดาบิดาประสงคจะยกเราใหแกผูโนน จึงไปในที่ลับ เขียนหนังสือวา บุตรผูเจริญ จงครองเรือนตามสมควรแกชาติ โคตร และโภคะของตนเถิด เราจักบวช ทานอยาไดเดือดรอนในภายหลังเลย. หนังสือแมทั้งสอง ได มาถึงพรอมกันในระหวางทาง. ถามวา นี้หนังสือของใคร. ตอบวา ปปผลิมาณพสงใหนางภัททา. ถามวา นี้ของใคร. ตอบวา นางภัททาสงให ปปผลิมาณพ. คนทั้งสองก็ไดพูดขึ้นวา พวกทานจงดูการกระทําของพวก ทารกเถิดจึงฉีกทิ้งในปา เขียนหนังสือมีความเหมือนกันสงไปทั้งขางนี้และ ขางโนน เมื่อคนทั้งสองไมปรารถนาเหมือนกันนั่นแหละ ก็ไดมีการอยู รวมกัน.

ก็ในวันนั้นเองมาณพก็ใหรอยพวงดอกไมพวกหนึ่ง. แมนางภัททา ก็ใหรอยพวงหนึ่ง. แมคนทั้งสองบริโภคอาหารในเวลาเย็นแลวจึงวางพวง ดอกไมเหลานั้นไวกลางที่นอน คิดวาเราทั้งสองจักเขานอน มาณพนอน ขางขวา นางภัททานอนขางซาย. คนทั้งสองนั้น เพราะกลัวการถูกตอง รางกายกันและกัน จึงนอนไมหลับจนลวงไปตลอด ๓ ยาม. ก็เพียงหัวเราะ กันในเวลากลางวันก็ไมมี. คนทั้งสองมิไดรวมกันดวยโลกามิส. เขาทั้งสอง มิไดสนใจสมบัติตลอดเวลาที่มารดาบิดายังมีชีวิตอยู เมื่อมารดาบิดาถึงแก กรรมแลวจึงสนใจ. มาณพมีสมบัติมาก. ในวันหนึ่ง ควรไดผงทองคํา ที่ขัดสีรางกายแลวทิ้งไวประมาณ ๑๒ ทะนาน โดยทะนานของชาวมคธ. มีสระใหญ ๖๐ แหงติดเครื่องยนต. มีพื้นที่ทําการงาน ๑๒ โยชน. มีบาน ทาส ๑๔ แหงเทาอนุราธบุรี. มีชางศึก ๑๔ เชือกรถ ๑๔ คัน. วันหนึ่ง มาณพขี่มาตกแตงแลว มีมหาชนแวดลอมไปยังพื้นที่การงาน ยืนในที่ สุดเขต เห็นนกมีกาเปนตน จิกสัตวมีไสเดือนเปนตนกิน จากที่ถูกไถ ทําลาย จึงถามวา นกเหลานี้กินอะไร. ตอบวา กินไสเดือนจะนาย. ถามวา บาปที่นกเหลานี้ทําจะมีแกใคร. ตอบวา แกพวกทานจะนาย.

มาณพคิดวา บาปที่นกเหลานี้ทําจะมีแกเรา. ทรัพย๘๖ โกฏิจักทําอะไร เราได. พื้นที่การงานประมาณ ๑๒ โยชน จักทําอะไรได. สระ ๖๐ สระติดเครื่องยนต หมูบาน ๑๔ หมู จักทําอะไรได เราจักมอบสมบัติทั้งหมดนั้นแกนางภัททา ออกบวช. ในขณะนั้น แมนางภัททกาปลานี ก็ใหเทหมองา ๓ หมอลงในระหวางพื้นที่ พวกพี่เลี้ยงนั่งลอม. เห็นกากิน สัตวที่กินงา จึงถามวา กาเหลานี้กินอะไรแม. ตอบวา กินสัตวจะ แมนาย. ถามวา อกุศลจะมีแกใคร. ตอบวา จะมีแกทานจะแมนาย. นางคิดวา เราควรไดผาประมาณ ๔ ศอก และขาวสุกประมาณทะนาน หนึ่ง. ก็ผิวาอกุศลที่ชนประมาณเทานี้ทําจะมีแกเรา ดวยวา เราไมสามารถ จะยกศีรษะขึ้นไดจากวัฏฏะตั้งพันภพ. พอเมื่ออัยยบุตร (มาณพ) มาถึง เราจักมอบสมบัติทั้งหมดแกเขาแลวออกบวช.

มาณพมาอาบน้ําแลว ขึ้นสูปราสาทหนึ่ง ณ บัลลังกมีคามาก. สําดับ นั้น ชนทั้งหลายจัดโภชนะอันสมควรแกจักรพรรดิใหแกเขา. ทั้งสอง บริโภคแลว เมื่อบริวารชนออกไปแลว จึงพูดกันในที่ลับ นั่งในที่สบาย. แตนั้นมาณพกลาวกะนางภัททาวา ดูกอนแมภัททา ทานมาสูเรือนนี้นํา ทรัพยมาเทาไร. นางตอบวา ๕๕,๐๐๐ เกวียนจะนาย. มาณพกลาววา ทรัพย๘๗ โกฏิ และสมบัติมีสระ ๖๐ ติดเครื่องยนต มีอยูในเรือนนี้ ทั้งหมดนั้นเรามอบใหแกทานผูเดียว. นางถามวา ก็ทานเลานาย. ตอบวา เราจักบวช. นางกลาววา แมฉันนั่งมองดูการมาของทาน. ฉันก็จักบวช จะนาย.

ทั้งสองคนกลาววา ภพทั้งสามเหมือนบรรณกุฎีที่ถูกไฟไหม. เรา จักบวชละ จึงใหนําผาเหลืองยอมดวยน้ําฝาด และบาตรดินเหนียวมาจาก ภายในตลาด ยังกันและกันใหปลงผม บวชดวยตั้งใจวา บรรพชาของ พวกเราอุทิศพระอรหันตในโลก เอาบาตรใสถลกคลองบา ลงจาก ปราสาท. บรรดาทาสและกรรมกรในเรือนไมมีใครรูเลย. ครั้งนั้นชาว บานทาสจําเขาซึ่งออกบานพราหมณไปทางประตูบานทาสได ดวยสามารถ อากัปกิริยา. ชาวบานทาสตางรองไห หมอบลงแทบเทากลาววา นายจํา นายจะทําใหพวกขาพเจาไรที่พึ่งหรือ. ทั้งสองกลาววา เราทั้งสองบวช ดวยคิดวา ภพทั้งสามเปนเหมือนบรรณศาลาที่ถูกไฟไหมเผาผลาญ. หาก เราทั้งสองจะทําในพวกทานคนหนึ่งๆ ใหเปนไท. แมรอยปก็ยังไมหมด. พวกทานจงชําระศีรษะของพวกทานแลวจงเปนไทเถิด. เมื่อชนเหลานั้น รองไห เขาพากันหลีกไป.

พระเถระเดินไปขางหนาเหลียวมองดูคิดวา หญิงผูมีคาในสกลชมพู- ทวีปชื่อ ภัททกาปลานีนี้. เดินมาขางหลังเรา. ขอที่ใครๆ พึงคิดอยาง นี้วา ทานทั้งสองนี้แมบวชแลวก็ไมอาจจะพรากจากกันได ชื่อวากระทํา กรรมอันไมสมควร นี้ไมเปนฐานะที่จะมีได. อีกอยางหนึ่งใครๆ พึงมี ใจประทุษรายแลวจะไปตกคลักในอบาย. พระเถระจึงเกิดคิดขึ้นวา เรา ควรละหญิงนี้ไป.

พระเถระไปขางหนาเห็นทางสองแพรงจึงไดยืนในที่สุด ทางสองแพรงนั้น. แมนางภัททาก็ไดมายืนไหว. พระเถระกลาวกะนางวา แมมหาจําเริญ มหาชนเห็นหญิงเชนทานเดินมาขางหลังเรา แลวคิดวา ทานทั้งสองนี้ แมบวชแลวก็ไมอาจจะพรากจากกันได จะพึงมีจิตรายใน เรา จะไปตกคลักอยูในอบาย. เธอจงถือเอาทางหนึ่งในทางสองแพรงนี้. ฉันจักไปผูเดียว. นางภัททากกลาววา ถูกแลวจะ พระผูเปนเจา ชื่อวา มาตุคามเปนมลทินของพวกบรรพชิต. ชนทั้งหลายจะชี้โทษของเราวา ทานทั้งสองแมบวชแลว ก็ยังไมพรากกัน. ขอเชิญทานถือเอาทางหนึ่ง. เราทั้งสองจักแยกกัน .

นางกระทําประทักษิ ๓ ครั้ง ไหวดวยเบญจางคประดิษฐในฐานะ ๔ ประคองอัญชลีรุงเรืองดวยทสนขสโมธาน มิตรสันถวะที่ทํามานานประมาณแสนกัป ทําลายลงในวันนี้. พระผูเปนเจา ชื่อวาเปนทักษิณา ทางเบื้องขวายอมควรแกพระผูเปนเจา. ดิฉันชื่อวา เปนมาตุคามเปนฝายซาย ทางเบื้องซายยอมควรแกดิฉัน ดังนี้ ไหวแลว เดินไปสูทาง. ในเวลาที่คนทั้งสองแยกจากกัน มหาปฐพีนี้ครืนครั่นสั่น สะเทือนดุจกลาววา เราแมสามารถจะทรงเขาในจักรวาลและเขาสิเนรุไวได ก็ไมสามารถจะทรงคุณของทานทั้งสองไวได. ยอมเปนไปดุจเสียงสายฟา บนอากาศ. ภูเขาจักรวาลบันลือสั่น.

พระสัมมาสัมพุทธเจาประทับนั่ง ณ พระคันธกุฎีใกลมหาวิหาร เวฬุวัน ทรงสดับเสียงแผนดินไหว ทรงพระรําพึงวา แผนดินไหวเพื่อ ใครหนอ ทรงทราบวา ปปผลิมาณพและนางภัททกาปลานี สละสมบัติ มากมายอุทิศเรา. การไหวของเผนดินนี้ เกิดดวยกําลังคุณของคนทั้งสอง ในที่ที่เขาจากกัน แมเราก็ควรทําการสงเคราะหแกเขาทั้งสอง จึงเสด็จ ออกจากพระคันธกุฎี ทรงถือบาตรและจีวรดวยพระองคเอง ไมทรง ปรึกษาใครๆ ในบรรดามหาเถระ ๘๐ ทรงกระทําการตอนรับประมาณ ๓ คาวุต

ประทับนั่งขัดสมาธิ ณ โคนตนพหุปุตตกนิโครธ ในระหวาง กรุงราชคฤหและกรุงนาลันทา. ก็เมื่อประทับนั่ง มิไดประทับนั่งเหมือน ภิกษุผูถือผาบังสุกุลเปนวัตรรูปใดรูปหนึ่ง ทรงถือเพศแหงพระพุทธเจา ประทับนั่งเปลงพระพุทธรัศมีเปนลําสูที่ประมาณ ๘๐ ศอก. . ในขณะนั้น พระพุทธรัศมีประมาณเทาใบไม รม ลอเกวียน และเรือนยอดเปนตน แผซานสายไปขางโนนขางนี้ ปรากฏการณดุจเวลาพระจันทรและพระอาทิตยขึ้นพันดวง ไดกระทําบริเวณปาใหญใหแสงสวางเปนอันเดียวกัน ดวยประการฉะนี้.

 
  ความคิดเห็นที่ 4  
 
chatchai.k
วันที่ 11 ก.ย. 2563

บริเวณปารุงเรืองดวยสิริแหงมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ดุจทองฟา รุงโรจนดวยหมูดาว ดุจน้ํามีกลุมดอกบัวบานสะพรั่ง. ลําตนนิโครธมี สีขาว. ใบสีเขียว ใบแกสีแดง. แตในวันนั้นตนนิโครธพรอมลําตนและกิ่ง มีสีเหมือนทอง. พึงทราบอนุปุพพิกถาที่ทานกลาวความแหงบทวา อทฺธานมคฺค ปฏิปนฺโน แลวกลาววา บัดนี้ ผูนี้บวชแลวดวยประการใด และเดินทางไกลดวยประการใด เพื่อใหเนื้อความนี้แจมแจงพึงกลาว อนุปุพพิกถานี้ตั้งแตอภินิหารอยางนี้.

บทวา อนฺตรา จ ราชคห อนฺตรา จ นาฬนฺท ความวา ใน ระหวางกรุงราชคฤหและกรุงนาลันทา.

บทวา สตฺถารฺจ วตาห ปสฺเสยฺย ภควนฺตเมว ปสฺเสยย ความวา หากวา เราพึงเห็นพระศาสดาไซร. เราพึงเห็นพระผูมีพระภาคเจาผูเปนพุทธะนี้แล. เพราะ ศาสดาอื่นจากนี้ไมสามารถจะเปนของเราไดเลย.

บทวา สุคตฺจ วตาห ปสฺเสยฺย ภควนฺตเมว ปสฺเสยฺย ความวา หากเราพึงเห็นทานผูชื่อวา สุคต เพราะความที่แหงสัมมาปฏิบัติอันทานถึงแลวดวยดีไซร เราพึงเห็น พระผูมีพระภาคเจาผูเปนพุทธะนี้แล. เพราะพระสุคตอื่นจากนี้ไมสามารถ จะเปนของเราได.

บทวา สมฺมาสมฺพุทฺธฺจ วตาห ปสฺเสยฺย ภควนฺตเมว ปสฺเสยฺย ความวา หากเราพึงเห็นทานผูชื่อวาสัมมาสัมพุทธะ เพราะเปนผูตรัสรูเอง โดยชอบไซร. เราพึงเห็นพระผูมีพระภาคเจาองคนี้แล. เพราะพระสัมมาสัมพุทธะอื่นจากนี้ไมสามารถจะมีแกเราได นี้เปนความประสงคในขอนี้ ดวยประการฉะนี้. เกจิอาจารยแสดงวา ดูกอนผูมีอายุ เรามิไดมีความ สงสัยในพระผูมีภาคพระเจาวา นี้พระศาสดา นี้พระสุคต นี้พระสัมมาสัมพุทธเจา ดวยการเห็นเทานั้น ดวยประการฉะนี้.

บทวา สตฺถา เม ภนฺเต นี้ มาแลว ๒ ครั้งก็จริง แตพึง ทราบวา ทานกลาวแลว ๓ ครั้ง. เกจิอาจารยแสดงวาดวยบทนี้ ดูกอน ผูมีอายุ เราประกาศความเปนสาวก ๓ ครั้งอยางนี้.

บทวา อชานฺเว แปลวา ไมรูอยู. แมในบทที่ ๒ ก็มีนัยนี้เหมือนกัน.

บทวา มุทฺธาป ตสฺส วิปเตยฺย ความวา สาวกผูมีจิตเสื่อมใสทุมเทจิตใจทั้งหมดอยางนี้ พึงทําความเคารพอยางยิ่งเห็นปานนี้ ตอศาสดาภายนอกอื่นผูไมรูปฏิญญาวา เรารู ศีรษะของศาสดานั้นพึงหลุดจากคอ ดุจตาลสุกหลนฉะนั้น. อธิบายวา ก็ศีรษะพึงแยกออก ๗ เสี่ยง. หรือดวยเรื่องมีเปรียบเทียบไวอยางไร. หากพระมหากัสสปเถระพึงทําความเคารพอยางยิ่งนี้ ดวยจิตเลื่อมใส ตอมหาสมุทร. มหาสมุทรจะตองถึงความเหือดแหง ดุจหยาดน้ําที่ใสใน กระเบื้องรอน. หากพึงทําความเคารพตอจักรวาล. จักรวาลตองกระจัด กระจายดุจกําแกลบ. หากพึงทําความเคารพตอเขาสิเนรุ. เขาสิเนรุตอง ยอยยับดุจกอนแปงที่ถูกกาจิก หากพึงทําความเคารพตอแผนดิน. แผนดิน ตองกระจัดกระจายดุจผุยผงที่ถูกลมหอบมา. ก็การทําความเคารพของพระเถระเห็นปานนี้ ไมสามารถแมเพียงทําขุมขน ณ เบื้องหลังพระบาทสีดุจ ทองของพระศาสดาใหกําเริบได

อนึ่ง พระมหากสัสปยกไวเถิด ภิกษุเชน พระมหากัสสปตั้งพันตั้งแสน ก็ไมสามารถแมเพียงทําขุมขนเบื้องหลังพระบาทของพระทศพลใหกําเริบได หรือแมเพียงผาบังสุกุลจีวรใหไหวได. ดวยการแสดงความเคารพ จริงอยู พระศาสดามีอานุภาพมากดวยประการฉะนี้. ตสฺมาติห เต กสฺสป ความวา เพราะเราเมื่อรู เราก็กลาววา เรารูและเมื่อเห็น เราก็กลาววา เราเห็น ฉะนั้น ดูกอนกัสสป เธอพึงศึกษา อยางนี้.

บทวา ติพฺพ แปลวา หนา คือใหญ.

บทวา หิโรตฺตปฺป ไดแกหิริและโอตตัปปะ.

บทวา ปจฺจุปฏิต ภวิสฺสติ ไดแก จักเขา ไปตั้งไวกอน. อธิบายวา จริงอยู ผูใดยังหิริและโอตตัปปะใหเขาไปตั้ง ไวในพระเถระเปนตนแลวเขาไปหา. แมพระเถระเปนตนก็เปนผูมีหิริและ โอตตัปปะเขาไปหาผูนั้น นี้เปนอานิสงสในขอนี้ ดวยประการฉะนี้.

บทวา กุสลูปสฺหิต คืออาศัยธรรมเปนกุศล.

บทวา อฏิกตฺวา ความวา ทําตนใหเปนประโยชนดวยธรรมนั้น หรือทําธรรมนั้นใหเปนประโยชน วา นี้ประโยชนของเรา ดังนี้.

บทวา มนสิกตฺวา คือตั้งไวในใจ.

บทวา สพฺพเจตโส สมนฺนาหริตฺวา ความวา ไมใหจิตไปภายนอกไดแมแตนอย รวบรวมไวดวยประมวลมาทั้งหมด.

บทวา โอหิตโสโต แปลวา เงี่ยหู. อธิบายวา เธอพึงศึกษาอยางนี้วา เราจักตั้งญาณโสตและปสาทโสตแลว ฟงธรรมที่เราแสดงแลวโดยเคารพ.

บทวา สาตสหคตา จ เม กายคตาสติ ความวา กายคตสติสัมปยุตดวยสุข ดวยสามารถปฐมฌาน ในอสุภกรรมฐานและในอานาปานกรรมฐาน.
ก็โอวาทนี้มี ๓ อยาง. บรรพชาและอุปสมบทนี้แลไดมีแกพระเถระ.

บทวา สาโณ ไดแก เปนผูมีกิเลสคือเปนหนี้.

บทวา รฏปณฺฑ ภุฺชึ ไดแก บริโภคอาหารที่เขาใหดวยศรัทธา. จริงอยู การบริโภคมี ๔ อยาง คือ ไถยบริโภค ๑ อิณบริโภค ๑ ทายัชชบริโภค ๑ สามิบริโภค ๑. ในบริโภคเหลานั้น ภิกษุเปนผูทุศีล แมนั่งบริโภคในทามกลางสงฆ ก็ชื่อวา ไถยบริโภค. เพราะเหตุไร เพราะไมเปนอิสระในปจจัย ๔. ผูมีศีล ไมพิจารณาบริโภค ชื่อวา ของ ไมเปนหนี้บริโภค ดวยประการฉะนี้ เพราะเหตุนั้น พระเถระเมื่อ ทําการบริโภคซึ่งตนเปนปุถุชนบริโภค ใหเปนอิณบริโภค จึงกลาว อยางนี้.

บทวา อฏมิยา อา อุทปาทิ ไดแก พระอรหัตตผลเกิด ขึ้นแลวในวันที่ ๘.

บทวา อถโข ภควา มคฺคา โอกฺกมฺม ความวา การหลีกจากหนทางไปกอน ไดมีแลวในวันนั้น ภายหลังจึงไดบรรลุ พระอรหัต. ก็ทานแสดงการบรรลุพระอรหัตกอน เพราะเทศนาวาระมา แลวอยางนี้. ถามวา ก็เพราะเหตุไร พระผูมีพระภาคเจาจึงทรงหลีก จากหนทาง. ตอบวา ไดยินวา พระองคไดทรงดําริอยางนี้วา เราจัก ทําภิกษุนี้ใหเปนผูอยูปาเปนวัตร ทรงผาบังสุกุลเปนวัตร มีอาสวะเดียว เปนวัตร เพราะฉะนั้นพระองคจึงหลีกไป.

บทวา มุทุกา โข ตยาย ไดแก ผาสังฆาฏินี้แล ของทาน ออนนุม. ก็แล พระผูมีพระภาคเจา เมื่อลูบคลําจีวรนั้นดวยปลาย พระหัตถ มีสีดังดอกปทุม จึงตรัสพระวาจานี้. ถามวา พระองคตรัส อยางนี้ เพราะเหตุไร. ตอบวา เพราะทรงประสงคจะเปลี่ยนจีวรกับ พระเถระ. ถามวา พระองคทรงประสงคจะเปลี่ยนเพราะเหตุไร. ตอบวา เพราะทรงประสงคจะตั้งพระเถระไวในตําแหนงของพระองค. ก็เพราะเมื่อ ทานกลาวคุณของจีวรหรือบาตร พระเถระจึงกราบทูลวา ขอพระองคจง ทรงรับจีวรนี้เพื่อพระองคเถิด นี้เปนจารีต ฉะนั้น จึงกราบทูลวา ขา แตพระองคผูเจริญ ขอพระผูมีพระภาคเจา จงทรงรับของขาพระองคเถิด. พระองคจึงตรัสวา ก็กัสสป เธอจักครอบผาบังสุกุลทําดวยผาปานของเรา ไดไหม เธอจักอาจเพื่อหมไดไหม ดังนี้. ก็แล พระองคทรงหมายถึง กําลังกาย จึงตรัสแลวอยางนี้ ก็หามิได แตทรงหมายถึงการปฏิบัติให บริบูรณ จึงตรัสอยางนี้.

ในขอนี้มีอธิบายดังนี้ :- จีวรนี้ที่เขาหม ทาสีชื่อ ปุณณะ ทิ้งไวใน ปาชาผีดิบ เราเขาไปสูปาชานั้นอันมีตัวสัตวกระจายอยู ประมาณทะนาน หนึ่ง กําจัดตัวสัตวเหลานั้นแลว ตั้งอยูในมหาอริยวงศ ถือเอา. ในวันที่ เราถือเอาจีวรนี้ มหาปฐพีในหมื่นจักรวาลสงเสียงสั่นสะเทือน อากาศนั้น สงเสียง ตฏะ ตฏะ เทวดาในจักรวาลไดใหสาธุการวา ภิกษุผูถือเอา จีวรนี้ ควรเปนผูทรงผาบังสุกุลเปนวัตรตามธรรมชาติ นั่งอาสนะเดียวเปน วัตรตามธรรมชาติ เที่ยวไปตามลําดับตรอกเปนวัตรตามธรรมชาติ ทาน จักอาจทําใหควรแกจีวรนี้ได ดังนี้. แมพระเถระตนเองทรงไวซึ่งกําลัง ชาง ๕ เชือก. ทานจึงไมตรึกถึงขอนั้น ใครจะทําใหสมควรแกสุคตจีวร ดวยความอุตสาหะวา เราจักยังการปฏิบัตินั้นใหบริบูรณ ดังนี้ จึงกราบทูลวา ขาแตพระองคผูเจริญ ขาพระองคจักครอง ดังนี้.

บทวา ปฏิปชฺชึ ไดแก เราไดปฏิบัติแลว ก็พระผูมีพระภาคเจาทรงทําการเปลี่ยนจีวรกัน อยางนี้แลว ทรงครองจีวรที่พระเถระครอง พระเถระครองจีวรของ พระศาสดา. สมัยนั้น มหาปฐพีสั่นสะเทือนจนถึงน้ํารองแผนดิน. ในบทวา ภควโต ปุตฺโต เปนตน ความวา พระเถระอาศัย พระผูมีพระภาคเจาเกิดแลวโดยอริยชาติ ดังนั้นบุตรของพระผูมีพระภาคเจา ชื่อวาผูเกิดแตอก เกิดแตพระโอษฐ เพราะอยูในอก ตั้งอยู ในบรรพชาและอุปสมบทดวยอํานาจพระโอวาทออกจากพระโอษฐ ชื่อวา ผูเกิดแตพระธรรมอันธรรมนิรมิตแลว เพราะเกิดแตพระโอวาทธรรม และเพราะทรงนิมิตดวยพระโอวาทธรรม ชื่อวาธรรมทายาท เพราะ ควรซึ่งทายาทคือพระธรรมโอวาท หรือทายาทคือโลกุตรธรรม ๙.

บทวา ปฏิคฺคหิตานิ สาณานิ ป สุกูลานิ ความวา รับผาบังสุกุลจีวร อันพระศาสดาทรงครองแลว เพื่อประโยชนแกการครอง.

บทวา สมฺมา วทมาโน วเทยฺย ความวา เมื่อบุคคลจะพูดใหถูก พึงพูดถึงบุคคลใดดวยคุณเปนตนวา บุตรของพระผูมีพระภาคเจา เมื่อ พูดถึงบุคคลนั้นใหถูกพึงพูดถึงเราวา เรามีรูปเห็นปานนี้ ดังนี้. บรรพชา อันพระเถระใหบริสุทธิ์แลวดวยคํามีประมาณเทานี้. ในขอนี้มีอธิบายวาทาน ผูมีอายุ อุปชฌายอาจารยของผูใดไมปรากฏ ผูนั้นอุปชฌายไม อาจารย ไมมี โกนหัวโลนถือเอาผากาสายะเอง ถึงการนับวาเขารีตเดียรถียหรือ ได การตอนรับตลอดหนทาง ๓ คาวุตอยางนี้ ไดบรรพชาหรืออุปสมบทดวย โอวาท ๓ ไดเปลี่ยนจีวรดวยกาย ทานเห็นคําแมทุพภาษิตเพียงไรของ ถุลลนันทาภิกษุณีไหม. พระเถระใหบรรพชาบริสุทธิ์อยางนี้แลว บัดนี้ เพื่อบันลือสีหนาทดวยอภิญญา ๖ จึงกลาวคําเปนตนวา อห โข อาวุโส. คําที่เหลือพึงทราบโดยนัยกอนนั่นแล.

จบ อรรถกถาจีวรสูตรที่ ๑๑

 
  ความคิดเห็นที่ 5  
 
chatchai.k
วันที่ 14 ม.ค. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ