อรรถกถา สานุวาสีเถรเปตวัตถุที่ ๒

 
chatchai.k
วันที่  15 พ.ย. 2563
หมายเลข  33304
อ่าน  668

[เล่มที่ 49] พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เปตวัตถุ เล่ม ๒ ภาค ๒ - หนาที่ 370 - 383

อรรถกถา

สานุวาสีเถรเปตวัตถุที่ ๒

เมื่อพระคาสดาประทับอยู ในพระเวฬุวันมหาวิหาร ทรง พระปรารภเปรตผูเปนญาติ ของทานพระสานุวาสีเถระ จึงตรัส พระธรรมเทศนานี้มีคําเริ่มตนวากุณฺฑินาคริโย เถโร ดังนี้. ไดยินวา ในอดีตกาล ในกรุงพาราณสี พระราชโอรส ของพระราชาทรงพระนามกิตวะ ทรงกรีฑาในพระราชอุทยาน เมื่อเสด็จกลับทรงทอดพระเนตรเห็นพระปจเจกพุทธเจา พระองค หนึ่งนามวา สุเนตต กําลังเที่ยวบิณฑบาต ออกจากพระนคร เปน ผูเมาดวยความเมา เพราะความเปนใหญ มีจิตคิดประทุษรายวา สมณะโลนนี้ ไมกระทําอัญชลีอะไรๆ แกเรา เดินไป เสด็จลงจาก คอชางแลว ถามวา ทานไดบิณฑบาตบางไหม จึงรับบาตรจากมือ แลว ทุมลงที่พื้นดินใหตกไป.

ลําดับนั้น พระราชโอรสนั้นมีความ อาฆาตในฐานะอันไมสมควร มีจิตคิดประทุษราย พระปจเจกพุทธเจานั้น ผูไมแสดงความวิการ เพราะทานถึงความคงที่ ผู มีจิตผองใส อันตกแตง (ประกอบ) ดวยโสมนัสเวทนา แผไปดวย อํานาจกรุณา ตรวจดูอยูในที่ทุกสถาน จึงตรัสวา ทานไมรูจักเรา ผูเปนพระราชโอรสของพระเจากิตวะดอกหรือ ทานมองดูอยู จะทําอะไรเราได เมื่อไมอาจจึงหลีกไป. ก็พอพระราชโอรสหลีกไปเทานั้น ก็เกิดความเรารอนในรางกายเปนกําลัง เปรียบเหมือน ความเรารอนแหงไฟในนรก. เพราะวิบากกรรมนั้น พระราชโอรส นั้น จึงมีกายถูกความเรารอนเปนอันมากครองงํา ถูกทุกขเวทนา อยางแรงกลาเสียดแทง ทํากาละแลว บังเกิดในอเวจีมหานรก.

พระราชโอรสนั้น นอนหงาย นอนคว่ํา กลิ้งเกลือก พลิกขวา พลิกซาย โดยประการเปนอันมากในที่นั้น ไหมอยู ๘๔,๐๐๐ ป จุติจาก อัตตภาพนั้นแลว เสวยทุกขอันเกิดแตความหิวกระหาย ในหมูเปรต ตลอดกาลนับประมาณมิได จุติจากอัตตภาพนั้นแลว ในพุทธุปบาท กาลนี้ บังเกิดในเกวัฏฏคาม ใกลกุณฑินคร เขาเกิดญาณอันระลึก ชาติได เพราะเหตุนั้น เขาเมื่ออนุสรณถึงทุกขที่ตนเคยเสวยใน กาลกอน แมเจริญวัยแลว ก็ไมยอมไปจับปลากับพวกหมูญาติ เพราะกลัวบาป. เมื่อพวกญาติเหลานั้นพากันไป เขาก็แอบเสีย ไมปรารถนาจะฆาปลา เละเขาก็ไปทําลายขาย หรือจับปลาเปนๆ มาปลอยในน้ําเสีย พวกญาติ เมื่อไมชอบใจการกระทําเชนนั้นของ เขา จึงไลเขาออกจากบาน. แตเธอมีพี่ชายอยูคนหนึ่ง ซึ่งมีความ รักเขามาก.

สมัยนั้น ทานพระอานนท อาศัยกุณฑินคร อยูในสานุบรรพต. ลําดับนั้น บุตรชาวประมงนั้น ถูกพวกญาติทอดทิ้ง เที่ยวเรรอน ไปทุกแหงที่ถึงสถานที่แหงนั้นแลว เขาไปหาพระเถระในเวลาฉัน ภัตตาหาร พระเถระถามเธอแลว รูวาเธอตองการอาหาร จึงให ภัตตาหารแกเธอ เธอบริโภคภัตตาหารเสร็จแลว รูเรื่องนั้นแลว รูถึงความเลื่อมใสในธรรมกถา จึงกลาววา จักบวชไหมคุณ เธอเรียนถวายวา จักบวช ขอรับ. พระเถระ ครั้นใหเธอบรรพชา แลว พรอมกับเธอ ไดไปเฝาพระผูมีพระภาคเจา.

ลําดับนั้น พระศาสดา ตรัสกะพระเถระนั้นวา อานนท เธอ พึงชวยอนุเคราะห สามเณรนี้เถิด. แตเพราะสามเณรไมเคยกระทํากุศลไว เธอจึง มีลาภนอย. ลําดับนั้น พระศาสดาเมื่อจะทรงอนุเคราะหเธอ จึง แนะใหเธอตักน้ําดื่มใหเต็มหมอ เพื่อใหภิกษุบริโภค. อุบาสกและ อุบาสิกาทั้งหลายเห็นดังนั้น จึงเริ่มตั้งนิตยภัตเปนอันมากแกเธอ. สมัยตอมา เธอไดอุปสมบทแลว บรรลุพระอรหัต เปนพระเถระ พรอมกับภิกษุ ๑๒ รูป ไดอยูที่สานุบรรพต. ฝายพวกญาติของ เธอ ประมาณ ๕๐๐ คน มิไดกอสรางกุศลกรรมไว สรางแตบาป ธรรมมีมัจฉริยะเปนตน ทํากาละแลว บังเกิดในหมูเปรต.

ฝาย มารดาบิดาของเขา ระลึกอยูวา ในกาลกอนผูนี้ ถูกพวกเราขับไล ออกจากเรือน จึงไมเขาไปหาเธอ สงพี่ชายที่รักใครชอบใจในเธอ ไป. ในเวลาที่พระเถระเขาไปบิณฑบาตยังบาน เธอยันเขาขวา ลงที่พื้นดิน กระทําอัญชลี แสดงตน ไดกลาวคาถามีอาทิวา มาตา ปตา จ เต ภนฺเต มารดา บิดา ของทานขอรับ. เพื่อจะแสดงความ เกี่ยวพันกันแหงคาถา ๕ คาถาเบื้องตน มีอาทิวา กุณฺฑินาคริโย เถโร ดังนี้ พระธรรมสังคาหกาจารย จึงยกขึ้นตั้งไววา :-

พระเถระชาวกุณฑินคร รูปหนึ่ง อยูที่ ขาสานุวาสี มีนามวา โปฏฐปาทะ เปนสมณะ ผูมีอินทรีย อันอบรมดีแลว มารดาบิดาและพี่ชาย ของทานเกิดในยมโลก เสวยทุกขเวทนา ทํา กรรมอันลามก จึงจากโลกนี้ไปสูเปตโลก เปรต เหลานั้นถึงทุคคติ มีชองปากเทารูเข็ม ลําบาก ยิ่งนัก เปลือยกาย ซูบผอม มีความเกรงกลัวสดุง หวาดเสียวมาก มีการงานทารุณ ไมอาจแสดงตน แกพระเถระได เปรตผูเปนพี่ชายของทานตน เดียว เปลือยกายรีบไปนั่งคุกเขา ประนมมือ แสดงตนแกพระเถระ พระเถระไมใสใจถึง เปน ผูนิ่งเดินเลยไป เปรตนั้น จึงบอกใหพระเถระ วา ขาพเจาเปนพี่ชายของทาน ไปสูเปตโลก ขาแตทานผูเจริญ มารดาบิดาของทานเกิดใน ยมโลก เสวยทุกขเวทนา เพราะทําบาปกรรมไว จึงจากโลกนี้ ไปสูเปตโลก เปรตผูเปนมารดา บิดา ของทานทั้ง ๒ นั้น มีชองปากเทารูเข็ม ลําบากมาก เปลือยกาย ซูบผอม มีความเกรงกลัว สะดุงหวาดเสียวมาก มีการงานทารุณ. ไมอาจ แสดงตนแกทานได ขอทานจงเปนผูมีความกรุณา อนุเคราะหแกมารดาบิดาเถิด จงใหทาน แลวอุทิศ สวนกุศลไปใหพวกเรา พวกเราผูมีการงานอัน ทารุณ จักยังอัตตภาพใหเปนไปได เพราะทาน อันทานใหแลว.

บรรดาบทเหลานั้น บทวา กุณฺฑินาคริโย เถโร ไดแกพระเถระผูเกิดเติบโตในนครมีชื่ออยางนี้ บาลีวา กุณฺฑิกนคโร เถโร ดังนี้ก็มี บาลีนั้น ความก็อยางนี้. บทวา สานุวาสินิวาสิโก ไดแก ผูมีปกติอยูที่สานุบรรพต. บทวา โปฏปาโทติ นาเมน ไดแก เขามี ชื่อวา โปฏฐปาทะ.

บทวา สมโณ แปลวา เปนผูสงบบาป. บทวา ภาวิตินฺทฺริโย ความวา ผูอบรมสัทธินทรียเปนตนแลว ดวยอริยมรรค ภาวนาคือเปนพระอรหันต. บทวา ตสฺส ไดแก พระสานุวาสีเถระ นั้น. บทวา ทุคฺคตา ไดแก ผูไปสูทุกคติ.

บทวา สูจิกฏฏา ไดแก ผูมีชองปากเทารูเข็ม เพราะเปนเศราหมองดวยของเนาเปอย คือ อึดอัดอยู ไดแก ถูกความหิวกระหายอันไดนามวา สูจิกา บีบคั้นแลว อาจารยบางพวกกลาววา สูจิกณฺา ดังนี้ก็มี อธิบายวา บีบชองปาก, เหมือนกับรูเข็ม. บทวา กิสนฺตา ไดแก ผูมีกายและจิตลําบาก. บทวา นคฺคิโน ไดแก เปนผูมีรูปรางเปลือย คือไมมีทอนผา. บทวา กิสา ไดแก ผูมีรางกายซูบผอม เพราะมีรางกายเหลือแตเพียง หนังหุมกระดูก.

บทวา อุตฺตสนฺตา ไดแก ถึงความหวาดเสียว เพราะความเกรงกลัววา สมณะนี้เปนบุตรของเรา. บทวา มหตฺตาสา ไดแก เกิดมหาภัยขึ้น เพราะอาศัยกรรมที่ตนไดทําไวในปางกอน บทวา น ทสฺเสนฺติ ความวา ไมแสดงตน คือ ไมยอมเผชิญหนากัน. บทวา กุรูริโน แปลวาผูมีการงานทารุณ.

บทวา ตสฺส ภาตา ไดแก เปรตผูเปนพี่ชายของสานุวาสีเถระ. บทวา วิตริตฺวา แปลวา เปนผูรีบขามไปแลว, อธิบายวา มีภัย เกิดแตความสะดุง เพราะเกรงกลัว. อีกอยางหนึ่งบาลีวา วิตุริตฺวา ดังนี้ก็มี อธิบายวาเปนผูรีบดวน คือ รีบไป. บทวา เอกปเถ คือ ในหนทางสําหรับเดินไดคนเดียว. บทวา เอกโก คือไปคนเดียว ไมมี เพื่อน.

บทวา จตุกุณฺฑิโก ภวิตฺวาน ความวา ชื่อวา จฑุกุณฺฑิโก เพราะเสวยทุกขเวทนา คือ ยังอัตภาพใหเปนไปดวยองค ๔ อธิบาย วา ใชเขาทั้ง ๒ มือทั้ง ๒ เปนและยืน (คลานไป) อธิบายวา เปน อยางนั้น. จริงอยู เปรตนั้น ไดกระทําอยางนั้นวา การปกปดอวัยวะ อันยังหิริใหกําเริบ ยอมมีแตนี้.

บทวา เถรสฺส ทสฺสยีตุม ความวา อางคือ แสดงตนแกพระเถระ.

บทวา อมนฺสิกตฺวา ไดแก ไมทําไวในใจ คือ ไมนึกถึง อยางนี้วา ผูนี้ ชื่ออยางนี้.

บทวา โส จ ไดแก เปรตนั้น. บทวา ภาตา เปตคโต อห มีวาจาประกอบความวา เปรตนั้น กลาวอยางนี้ วา เราเปนพี่ชายในอัตภาพที่เปนอดีต, บัดนี้ เราเปนเปรตมา ในที่นี้ ดังนี้แลวจึงใหพระเถระรับรู. ก็เพื่อจะแสดงประการที่จะใหพระเถระรับรูได จึงไดกลาว คาถา ๓ คาถา โดยนัยมีอาทิวา มาตา ปตา จ ดังนี้. บรรดาบท เหลานั้น บทวา มาตา ปตา จ เต แปลวา มารดาและบิดาของทาน.

บทวา อนุกมฺปสฺสุ ความวา จงอนุเคราะห คือจงทําความเอ็นดู.

บทวา อนฺวาทิสาทิ แปลวา เจาะจง. บทวา โน ไดแก พวกเรา.

บทวา ตว ทินฺเนน ไดแก ดวยทานที่ทานใหแลว.


พระเถระ ครั้นไดฟงดังนั้นแลว เพื่อจะแสดงขอที่เปรตนั้น ปฏิบัติ จงกลาวคาถาทั้งหลายวา :- พระเถระกับภิกษุอื่นอีก ๑๒ รูป เที่ยวไป บิณฑบาตแลว กลับมาประชุมกันในที่เดียวกัน เพราะเหตุแหงภัตกิจ, พระเถระจึงกลาวกะภิกษุ ทั้งหมดนั้นวา ขอทานทั้งหลายจงใหภัตตาหาร ที่ทานไดแลวแกกระผมเถิด กระผมจักทําสังฆทาน เพื่ออนุเคราะหหมูญาติ ภิกษุเหลานั้น จึง มอบถวายพระเถระ พระเถระจึงนิมนตสงฆ ถวายสังฆทานแลว อุทิศสวนกุศลไปใหมารดา บิดาและพี่ชาย ดวยอุทิศเจตนาวา ขอทานนี้ จง สําเร็จแกญาติทั้งหลายของเรา ขอญาติทั้งหลาย จงมีความสุขเถิด ในลําดับที่อุทิศใหนั่นเอง โภชนะอันประณีต สมบูรณ มีแกงและกับหลาย อยาง เกิดขึ้นแกเปรตเหลานั้น ภายหลังเปรตผู เปนพี่ชาย มีผิวพรรณดีมีกําลัง มีความสุข ไดไป แสดงตนแกพระเถระ แลวกลาววา ขาแตทาน ผูเจริญ โภชนะเปนอันมาก ที่พวกขาพเจาไดแลว แตขอทานจงดู ขาพเจาทั้งหลาย ยังเปนคนเปลือยกายอยู ขอทานจงพยายาม ใหขาพเจาทั้งหลาย ไดผานุงหมดวยเถิด พระเถระเลือกเก็บผาจาก กองหยากเหยื่อเอามาทําจีวรแลว ถวายสงฆอัน มาจากจาตุรทิศ ครั้นถวายแลว ไดอุทิศสวนกุศล ใหมารดาบิดาและพี่ชาย ดวยอุทิศเจตนาวา ขอ ทานนี้ จงสําเร็จแกญาติทั้งหลายเถิด ขอพวกญาติ ของเรา จงมีความสุขเถิด

ในลําดับแหงการอุทิศ นั้นเอง ผาทั้งหลายไดเกิดขึ้นแกเปรตเหลานั้น ภายหลังเปรตเหลานั้น นุงหมผาเรียบรอย แลว ไดมาแสดงตนแกพระเถระ กลาววา ขาแตทานผูเจริญ ขาพเจาทั้งหลาย มีผิวพรรณ ดี มีกําลัง มีความสุข มีผานุง ผาหม มากกวาผาที่มีในแควนของพระเจานันทราช ผา นุงผาหมทั้งหลาย ของพวกเราไพบูลยและมีคา มาก คือ ผาไหม ผาขนสัตว ผาเปอกไม ผาฝาย ฝาปาน ผาดายแกมไหม ผาเหลานั้น แขวนอยู ในอากาศ ขาพเจาทั้งหลายเลือกนุงหมแตผืนที่ พอใจ ขอทานจงพยายาม ใหพวกขาพเจาได บานเรือนเถิด พระเถระสรางกุฏี มุงดวยใบไม แลวไดถวายสงฆ ซึ่งมาแตจตุรทิศ ครั้นแลวได อุทิศสวนกุศล ใหมารดาบิดาและพี่ชาย ดวยอุทิศเจตนาวา ขอผลแตงการถวายกุฏีนี้ จงสําเร็จแก พวกญาติของเรา ขอพวกญาติของเรา จงมีความ สุขเถิด

ในลําดับแหงการอุทิศนั่นเอง เรือน ทั้งหลาย คือ ปราสาทและเรือนอยางอื่นๆ อัน บุญกรรมกําหนดแบงไวเปนสวนๆ เกิดขึ้นแลว แกเปรตเหลานั้น เรือนของพวกเราในเปตโลกนี้ ไมเหมือนกับเรือนในมนุษยโลก. เรือนของพวก เราในเปตโลกนี้ งามรุงเรืองสวางไสวไปทั่วทั้ง ๘ ทิศ เหมือนเรือนในเทวโลก แตพวกเรายังไม มีน้ําดื่ม ขาแตทานผูเจริญ ขอทานจงพยายาม ใหพวกขาพเจา ไดดื่มดวยเถิด พระเถระจึงตัก น้ําเต็มธรรมกรก แลวถวายสงฆ ซึ่งมาแตจตุรทิศ แลวไดอุทิศสวนกุศลใหแกมารดาบิดาและพี่ชาย ดวยอุทิศเจตนาวา ขอผลทานนี้ จงสําเร็จแกพวก ญาติของเรา ขอพวกญาติของเรา จงมีความสุข เถิด

ในลําดัดแหงการอุทิศนั่นเอง น้ําดื่ม คือ สระโบกขรณีกวาง ๔ เหลี่ยม ลึกมีน้ําเย็น มีทา ราบเรียบดี น้ําเย็นกลิ่นหอมหาที่เปรียบมิได ดารดาษดวยกอปทุมและอุบลเต็มดวยละออง เกสรบัว อันรวงหลนบนวารี ไดเกิดขึ้น เปรต เหลานั้น อาบและดื่มกินในสระนั้นแลวไปแสดงตนแกพระเถระแลวกลาววา ขาแตทานผูเจริญ น้ําดื่มของพวกขาพเจา มากเพียงพอแลว บาป ยอมเผล็ดผลเปนทุกขแกพวกขาพเจา พวกขาพเจาพากันเที่ยวไปลําบากในภูมิภาค อันมีกอน กรวดและหนอหญาคา ขอทานพยายาม ใหพวก ขาพเจา ไดยานอยางใดอยางหนึ่งเถิด พระเถระ ไดรองเทาแลว ถวายสงฆ ซึ่งมาแตจตุรทิศ ครั้น แลวอุทิศสวนกุศลใหมารดาบิดาและพี่ชาย ดวย ทิศเจตนาวา ขอผลทานนี้ จงสําเร็จแกพวกญาติ ของเรา ขอพวกญาติของเรา จงมีความสุขเถิด ในลําดับแหงการอุทิศนั่นเอง เปรตทั้งหลาย ได พากันมาแสดงตนใหปรากฏดวยรถแลวกลาววา ขาแตทานผูเจริญ พวกขาพเจา เปนผูอันทาน อนุเคราะหแลว ดวยการใหขาว ผานุง ผาหม เรือน น้ําดื่ม และ ยาน เพราะฉะนั้น ขาพเจา ทั้งหลาย จึงมาเพื่อจะไหวทานผูเปนมุนี มีความ กรุณาในโลก.

บรรดาบทเหลานั้น บทวา เถโร จริตฺวา ปณฺฑาย ความวา พระเถระเที่ยวจาริกไปบิณฑบาต. บทวา ภิกฺขู อฺเ จ ทฺวาทส ความวา ภิกษุอยูกับพระเถระและภิกษุอื่นอีก ๑๒ รูป ประชุม รวมในที่เดียวกัน. หากมีคําถามสอดเขามาวา เพราะเหตุไร

ตอบวา เพราะสวนพิเศษแหงภัตเปนเหตุ. อธิบายวา เพราะภัตกิจ เปนเหตุ คือ เพราะการฉันเปนเหตุ.

บทวา เต โดยภิกษุเหลานั้น. บทวา ยถา ลทฺธ แปลวา ตามที่ได. บทวา ททาถ แปลวาจงให. บทวา นิยฺยาทยึสุ แปลวา ไดใหแลว. บทวา สงฺฆ นิมนฺตยิ ความวา นิมนตภิกษุ ๑๒ รูปนั่นแหละ เพื่อฉันภัตตาหารนั้น โดย สังฆุทเทศ อุทิศสงฆ. บทวา อนฺวาทิสิ ไดแก อุทิศให. บรรดา ญาติเหลานั้น เพื่อจะแสดงญาติที่ตนเจาะจงเหลานั้น จึงกลาวคํา วา ขอผลทานนี้จงสําเร็จแกมารดา บิดา และพี่ชาย ขอผลทานนี้จง สําเร็จแกพวกญาติของเราขอพวกญาติจงมีความสุขเถิด. บทวา สมนนฺตรานุทิทิฏเ แปลวา พรอมกันการอุทิศ นั่นเอง.

บทวา โภชน อุปปชฺชถ ความวา โภชนะยอมเกิดแกเปรต เหลานั้น. เพื่อจะเลี่ยงคําถามวา โภชนะเชนไร จึงกลาววา โภชนะอันสะอาด. บรรดาบทเหลานั้น บทวา อเนกรสพฺยฺชน ไดแก ประกอบดวยกับขาวมีรสตางๆ หรือวา มีรสหลายอยาง และมีกับขาวหลายอยาง. บทวา ตโต ไดแก ภายหลังแตการไดโภชนะ.

บทวา อุทฺทสฺสยี ภาตา ความวา เปรตผูเปนพี่ชาย แสดง ตนแกพระเถระ. บทวา วณฺณวา พลวา สุขี ความวา เพราะการได โภชนะนั้น ทันใดนั้นเอง เปรตนั้นสมบูรณดวยรูป สมบูรณดวย กําลัง มีความสุขทีเดียว. บทวา ปหูต โภชน ภนฺเต ความวา ทานผูเจริญ โภชนะมากมาย คือมิใชนอย อันเราไดแลว เพราะ อานุภาพทานของทาน. บทวา ปสฺส นคฺคามฺหเส ความวา ทานจงดู แตพวกเราเปนคนเปลือยกาย เพราะฉะนั้น ขอทานจงบากบั่น กระทําความพยายามอยางนั้นเถิด ขอรับ.

บทวา ยถา วตฺถ ลภามเส ความวา ขอทานทั้งหลายจงพยายามโดยประการ คือโดยความ พยายามที่ขาพเจาทั้งหมดพึงไดผาเถิด. บทวา สงฺการกกูฏมฺหา ไดแก จากกองหยากเยื่อในที่นั้นๆ . บทวา อุจฺจินิตฺวาน ไดแก ถือเอาโดยการแสวงหา. บทวา นนฺตเก ไดแก ทอนผาที่เขาทิ้งมีชายขาด. ก็เพราะผาเหลานั้น ชื่อวา เปนผาทอนเกาขาดรุงริ่ง พระเถระเอาผาเหลานั้นทําเปนจีวรถวาย สงฆ เพราะฉะนั้น ทานจึงกลาววา ทําผาทอนเกาใหเปนผืนผา แลวอุทิศสงฆผูมาจากจตุรทิศ บรรดาบทเหลานั้น

บทวา สงฺเฆ จาตุทฺทิเส อท ความวา ไดถวายแกสงฆ ผูมาจากทิศทั้ง ๔. ก็บทวา สงฺเฆ จาตุทฺทิเส นี้ เปนสัตตมีวิภัติลงในอรรถแหง จตุตถีวิภัติ. บทวา สุวตฺถวสโน แปลวา เปนนุงหมผาดี. บทวา เถรสฺส ทสฺสยีตุม ความวา แสดงตน คืออางตน ไดแกปรากฏ ตนแกพระเถระ. ผาชื่อวาปฏิจฉทา เพราะเปนที่ปกปด บทวา กูฏาคารนิเวสนา ไดแก เรือนที่เปนปราสาท และ ที่อยูอาศัยอื่นจากปราสาทนั้น. จริงอยู บทวา กูฏาคารนิเวสนา นี้ ทานกลาวโดยเปนลิงควิปลาส.

บทวา วิภตฺตา ไดแก ที่เขาจัด แบงโดยสันฐาน ๔ เหลี่ยมเทากัน ยาว และกลม. บทวา ภาคโส มิตา แปลวา กําหนดเปนสวนๆ . บทวา โน ไดแก ขาพเจาทั้งหลาย บทวา อิธ ไดแก เปตโลกนี้. ศัพทวา อป ในบทวา อป ทิพฺเพสุ นี้ เปนเพียงนิบาต อธิบายวา ในเทวโลก. บทวา กรก ไดแก ธมกรก. บทวา ปูเรตฺวา แปลวา เต็ม ดวยน้ํา. บทวา วาริกิฺชกฺขปูริตา ไดแก เหมือน้ําในที่นั้นๆ ดารดาษเต็มดวยเกสรปทุมและอุบล เปนตน บทวา ผลนฺติ แปลวา ยอมบาน อธิบายวา แตกออกที่สนเทาและริมๆ เทาเปนตน. บทวา อาหิณฺฑมานา ไดแก เที่ยวไปอยู. บทวา ขฺชาม แปลวา เขยกไป. บทวา สกฺขเร กุสกณฺฏเก ไดแก ในภูมิภาค อันมีกอนกรวด และหนอหญาคา อธิบายวา เหยียบลงที่กอนกรวด และหนอหญาคา.

บทวา ยาน ไดแก ยานชนิดใดชนิดหนึ่ง มีรถ และลอเลือนเปนตน. บทวา สิปาฏิก ไดแก รองเทาชั้นเดียว. อักษรในบทวา รเถน มาคมุ นี้ ทําการเชื่อมบท คือ มาดวยรถ. บทวา อุภย แปลวา ดวยการใหทั้ง ๒ คือ ดวยการ ใหยาน และดวยการใหปจจัย ๔ มีภัตเปนตน จริงอยู ในการให ๒ อยางนั้น แมการใหเภสัช ทานก็สงเคราะหดวยการใหน้ําดื่ม คําที่เหลืองายทั้งนั้น เพราะมีนัยดังกลาวแลวในหนหลังนั่นแล พระเถระกราบทูลเรื่องนั้นแดพระผูมีพระภาคเจา

พระผูมีพระภาคเจาทรงทําเรื่องนั้นใหเปนอัตถุปปตติเหตุ จึงตรัสวา เปรตเหลานี้ ยอมเสวยทุกขอยางใหญในบัดนี้ ฉันใด แมทานก็ ฉันนั้น เปนเปรตในอัตตภาพอันเปนลําดับอันเปนอดีต แตอัตตภาพ นี้ยอมเสวยทุกขใหญ ดังนี้แลว อันพระเถระทูลอาราธนา จึงทรง แสดงเรื่องสุตตเปรตแลวทรงแสดงธรรมแกบริษัทผูถึงพรอมแลว มหาชนไดฟงเรื่องนั้นแลว เกิดความสลดใจ ไดเปนผูยินดีในบุญ กรรมมีทานและศีลเปนตนแล.

จบ อรรถกถาสานุวาสีเถรเปตวัตถุที่ ๒

ขอเชิญอ่านพระสูตร

สานุวาสีเถรเปตวัตถุ - พระเถระทําทานอุทิศถึงเปรต


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 15 พ.ย. 2563

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ