อรรถกถาชนสันธชาดก

 
chatchai.k
วันที่  5 ม.ค. 2564
หมายเลข  33544
อ่าน  784

[เล่มที่ 60] พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม ๓ ภาค ๖ - หนาที่ 161-167

อรรถกถาชนสันธชาดก

พระศาสดาเมื่อประทับอยู ณ พระเชตวันมหาวิหาร มีพระพุทธประสงคจะประทานโอวาทแกพระเจาโกศล ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคําเริ่มตนวา ทส ขลุมานิ านานิ ดังนี้.

ความพิสดารวา ในกาลครั้งหนึ่ง พระเจาโกศลทรงมัวเมาดวยอิสริยยศหมกมุนอยูในความสุขที่เกิดแตกิเลส ไมปรารถนาจะตัดสินคดี แมการบํารุงพระพุทธเจา ก็ทรงลืมเสีย วันหนึ่ง พระองคทรงระลึกถึงพระทศพล ทรงดําริวา จักถวายบังคมพระศาสดา พอเสวยกระยาหารเชาแลว เสด็จขึ้นพระราชยานไปพระวิหาร ถวายบังคมพระศาสดาแลวประทับนั่ง ลําดับนั้น พระศาสดาตรัสกะพระราชาวา มหาบพิตร นานมาแลว พระองคมิไดเสด็จมาเพราะเหตุไร

พระเจาโกศลทูลวาเพราะขาพระองคมีราชกิจมากพระเจาขา ไมมีโอกาสที่จะมาเฝาพระองค ตรัสวา มหาบพิตร เมื่อพระพุทธเจาผูสัพพัญู ผูใหโอวาทเชนเรา อยูในวิหารที่ใกล ไมควรที่พระองคจะประมาท วิสัยพระราชาตองไมประมาทในราชกิจทั้งหลาย ดํารงพระองคเสมอดวยมารดาบิดาของชาวแวนแควน ละอคติเสีย ครองราชสมบัติโดยทศพิธราชธรรมจึงจะควร เพราะเมื่อพระราชาประพฤติธรรม แมบริษัทของพระองคก็ประพฤติธรรม ขอที่เมื่อเราตถาคตสั่งสอนอยู พระองคครองราชสมบัติโดยธรรมนั้นไมนาอัศจรรย โบราณกบัณฑิตทั้งหลาย แมไมมีอาจารยสั่งสอนก็ยังตั้งอยูในสุจริตธรรมสามประการ แสดงธรรมแกมหาชนตามความรูของตน พาบริษัทไปสวรรคได พระเจาโกศลทูลอาราธนาใหตรัสเรื่องราว พระพุทธองคทรงนําอดีตนิทานมาตรัสเลา ดังตอไปนี้

ในอดีตกาล เมื่อพระเจาพรทมทัตเสวยราชสมบัติอยูในพระนครพาราณสี พระโพธิสัตวเกิดในพระครรภของพระอัครมเหสีพระเจาพรหมทัต พระญาติทั้งหลายไดถวายพระนามวา ชนสันธกุมาร เมื่อพระโพธิสัตวเจริญวัย เรียนศิลปวิทยาจากเนืองตักกศิลากลับมาแลว พระราชามีรับสั่งใหชําระเรือนจําทั้งหมดใหสะอาด แลวพระราชทานตําแหนงอุปราช.

ตอมาเมื่อพระราชบิดาสวรรคตแลว พระโพธิสัตวไดครองราชสมบัติ รับสั่งใหสรางโรงทานหกแหง คือที่ประตูพระนครทั้งสี่ดาน ที่กลางพระนคร และที่ประตูพระราชวัง บริจาคพระราชทรัพยวันละหกแสน ทรงบําเพ็ญมหาทานจนลือกระฉอนไปทั่วชมพูทวีป รับสั่งใหเปดเรือนจําไวเปนนิจ ใหเคาะระฆังปาวรองมาฟงธรรม ทรงสงเคราะหโลกดวยสังคหวัตถุสี่ รักษาศีลหา อยูจําอุโบสถ ครองราชสมบัติโดยธรรม บางครั้งบางคราวก็ใหชาวแวนแควนมาประชุมกัน แลวแสดงธรรมวา ทานทั้งหลายจงใหทาน จงสมาทานศีล จงประพฤติธรรม จงประกอบการงานและการคาขายโดยธรรม เมื่อเปนเด็กจงเรียนศิลปวิทยา จงแสวงหาทรัพย อยาคดโกงชาวบาน อยาทําความสอเสียด อยาเปนคนดุรายหยาบชา จงบํารุงมารดาบิดา มีความเคารพออนนอมตอผูใหญในตระกูล พระองคไดทํามหาชนใหตั้งอยูในสุจริตธรรม.

วันหนึ่งเปนวันปณรสีอุโบสถ พระโพธิสัตวทรงสมาทานอุโบสถศีลแลว ทรงดําริวา เราจักแสดงธรรมแกมหาชนเพื่อประโยชนสุขยิ่งๆ ขึ้น เพื่อใหมหาชนอยูดวยความไมประมาท รับสั่งใหตีกลองปาวรองทั่วพระนคร ใหชาวพระนครทั้งหมดตั้งตนแตพระสนมของพระองคมาประชุมกัน แลวประทับนั่งบนบัลลังกอันประเสริฐที่ตกแตงไวกลางรัตนมณฑปซึ่งประดับประดาแลวในพระลานหลวง ตรัสวา ชาวพระนครที่รักทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมที่รอนบาง ไมรอนบาง แกทานทั้งหลาย ขอทานทั้งหลายจงเปนผูไมประมาท เงี่ยโสตสดับโดยเคารพเถิด แลวทรงแสดงธรรม.

พระศาสดาทรงเผยพระโอฐแกวอันอบรมแลวดวยอริยสัจ เมื่อจะตรัสเทศนานั้นโดยแจมแจงแกพระเจาโกศลดวยพระสุรเสียงอันไพเราะ ไดตรัสพระคาถาเหลานี้วา พระเจาชนสันธะไดตรัสอยางนี้วา เหตุที่จะทําใหจิตเดือดรอนนั้นมีอยู ๑๐ ประการ บุคคลไมทําเสียในกาลกอนแลว ยอมเดือดรอนในภายหลัง. บุคคลเมื่อยังเปนหนุม ไมทําความพยายามยัง ทรัพยใหเกิดขึ้น ครั้นแกลงหาทรัพยไมได ยอมเดือดรอนภายหลังวา เมื่อกอนเราไมไดแสวงหาทรัพยไว. ศิลปะที่สมควรแกตน บุคคลใดไมไดศึกษาไวในกาลกอน บุคคลนั้นยอมเดือดรอนในภายหลังวา เราไมไดศึกษาศิลปะไวกอน ผูไมมีศิลปะยอมเลี้ยงชีพลําบาก. ผูใดเปนคนโกง ผูนั้นยอมเดือดรอนในภายหลัง วาเราเปนคนโกง สอเสียดกินสินบนดุราย หยาบคาย ในกาลกอน.

ผูใดเปนคนฆาสัตว ผูนั้นยอมเดือดรอนในภายหลังวา เราเปนคนฆาสัตว หยาบชาทุศีล ประพฤติต่ําชา ปราศจากขันติเมตตาและเอ็นดูสัตวในกาลกอน. ผูใดคบชูในภรรยาผูอื่น ยอมเดือดรอนในภายหลังวาหญิงที่ไมมีใครหวงแหนมีอยูเปนอันมาก ไมควรที่เราจะคบหาภรรยาผูอื่นเลย.

คนตระหนี่ ยอมเดือดรอนในภายหลังวาเมื่อกอน ขาวและน้ําของเรามีอยูมากมาย เราก็มิไดใหทานเลย. ผูไมเลี้ยงดูมารดาบิดา ยอมเดือดรอนในภายหลังวา เราสามารถพอที่จะเลี้ยงดูมารดาและบิดาผูแกเฒาชราได ก็ไมไดเลี้ยงดูทาน.

ผูไมทําตามโอวาทบิดา ยอมเดือดรอนในภายหลังวา เราไดดูหมิ่นบิดาผูเปนอาจารยสั่งสอน ผูนํารสที่ตองการทุกอยางมาเลี้ยงดู.

ผูไมเขาใกลสมณพราหมณ ยอมเดือดรอนในภายหลังวา เมื่อกอนเราไมไดไปมาหาสูสมณพราหมณทั้งหลายผูมีศีลเปนพหูสูตเลย.

ผูใดไมประพฤติสุจริตธรรม ไมเขาไปนั่งใกลสัตบุรุษ ยอมเดือดรอนภายหลังวา สุจริตธรรมที่ประพฤติแลว และสัตบุรุษอันเราไปมาหาสูแลว ยอมเปนความดี แตเมื่อกอนนี้เราไมไดประพฤติสุจริตธรรมไวเลย.

ผูใดยอมปฏิบัติเหตุเหลานี้โดยอุบายอันแยบคาย ผูนั้นเมื่อกระทํากิจที่บุรุษควรทํา ยอมไมเดือดรอนใจในภายหลังเลย.


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 5 ม.ค. 2564

บรรดาบทเหลานั้น บทวา านานิ ไดแก เหตุทั้งหลาย.

บทวา ปุพฺเพ ความวา ไมกระทําไวกอนเลย.

บทวา ส ปจฺฉา อนุตปฺปติ ความวา บุคคลผูไมกระทํากิจที่ควรทําไวกอน ยอมเดือดรอน ยอมลําบาก ทั้งในโลกนี้ทั้งในโลกหนา. อีกอยางหนึ่ง บาลีวา ปจฺฉา อนุตปฺปติ ยอมตาม เดือดรอนในภายหลังดังนี้ก็มี.

บทวา อิจฺจาหุ ความวา พระเจาชนสันธะ ไดตรัสอยางนั้น. บาลีวา อิจฺจาสุห ดังนี้ก็มี สุ อักษรในบทวา อิจฺจาสุห นั้นเปนเพียงนิบาต. ตัดบทเปน อิจฺจาสุ อาห เพื่อจะแสดงเหตุอันเปน ที่ตั้งแหงความเดือดรอน ๑๐ อยางนี้ พระโพธิสัตวจึงมีธรรมกถา.

บรรดาบทเหลานั้น บทวา ปุพฺเพ ความวา บุคคลเมื่อคราวเปนหนุมครั้งแรกทีเดียว ไมกระทําความบากบั่น ครั้นแกลงหาทรัพยไมได ตองเดือดรอนเศราโศก เห็นคนทั้งหลายมีความสุข ตนเองเปนอยูลําบาก ยอมเดือดรอนในภายหลังอยางนี้วา เมื่อกอนเราไมไดแสวงหาทรัพยเอาไว ครั้นแกลงยอมลําบากเพราะฉะนั้น เมื่อตองการจะมีความสุขในเวลาแก ตองทํางาน มีกสิกรรมเปนตน ที่ชอบธรรม แตเมื่อยังเปนหนุมทีเดียว.

บทวา ปุเร สนฺต ในกาลกอนคือในเวลาที่เรายังหนุมไมเขาไปหาอาจารยทั้งหลาย ไมศึกษาศิลปะอะไรๆ มีศิลปะในเพราะชางเปนตนอันสมควรที่ตนจะทํา.

บทวา กิจฺฉา ความวา ในเวลาแก ผูไมศึกษาศิลปะจึงไมสามารถเพื่อดํารงชีวิตใหพนจากทุกข ในกาลนั้นจึงควรศึกษาศิลปะ เพราะฉะนั้น ทานจึงแสดงวา ทานทั้งหลาย ผูปรารถนาจะดํารงชีวิตในเวลาแก จงศึกษาศิลปะในเวลาเปนหนุมทีเดียว.

บทวา กูฏเวที ความวา ผูใดกอความโกงใหเกิด โกงชาวบาน กอความ พินาศใหแกโลก โกงดวยสินบน.

บทวา อาสึ ความวา ในกาลกอนเราได เปนเชนนั้น.

บทวา ปสุโณ แปลวาโกงดวยถอยความยุยงสอเสียด.

บทวา ปฏม สิโก ความวา ถือสินบนทําผูมิใชเจาของใหเปนเจาของ ผูที่เปนเจาของงมิใหเปนเจาของ กินเนื้อสันหลังของชนเหลาอื่น.

บทวา อิติ ปจฺฉา ความวา นอนบนเตียงที่จะตายยอมเดือดรอนในภายหลังดวยประการฉะนี้ เพราะฉะนั้น ทานจึงโอวาทวา ถาทานไมอยากตกนรก ก็อยากระทําบาปกรรมเห็นปานนี้.

บทวา ลุทฺโธ ความวา ผูที่ฆาสัตวเปนทารุณสาหัส.

บทวา อนาริโย ความวา เปนผูไมใชพระอริยะ ไมสํารวมเปนคนทุศีล มีสมาจารต่ําชา.

บทวา นาวชานิสฺส ความวา ขาพเจามิใชเปนผูมีความประพฤติต่ํา ดวยอํานาจ ขันติ เมตตา และความเอ็นดู คําที่เหลือพึงทราบโดยนัยมีในกอนนั่นแล.

บทวา อนาปทาสุ ความวา การคบหากับหญิงที่ไมมีใครหวงแหน. ชื่อวา อนาปทา เพราะเปนหญิงไมมีใครหวงแหน. อธิบายวา ในหญิงที่คนเหลาอื่น ไมทําความหวงแหน.

บทวา อุฏิเต แปลวา ปรากฏ.

บทวา น ปุพฺเพ ความวา เมื่อกอนแตนี้เรามิไดใหทานเลย.

บทวา ปหุสนฺโต ความวา เปนผูอาจ คือสามารถเพื่อจะเลี้ยงดูทั้งดวยกําลังทรัพยทั้งดวยกําลังกาย.

บทวา อาจริย ความวา บิดาในที่นี้ทานประสงควาอาจารย เพราะให ศึกษามารยาท.

บทวา อนุสตฺถาร แปลวาผูพร่ําสอน.

บทวา สพฺพกามรสา หร ความวาผูนํารสที่ตองการทุกอยางมาเลี้ยงดู.

บทวา อติมฺิสฺส ความวา เมื่อไมถือเอาโอวาทของทาน ชื่อวาดูหมิ่นลวงเกินทาน.

บทวา น ปุพฺเพ ความวา เมื่อกอนแตนี้ ไมไดเขาไปหาสมณพราหมณผูทรงธรรมผูเปนไข ผูลําบาก ไมปรนนิบัติโดยถวายปจจัยมีจีวรเปนตน.

บทวา ตโป ไดแกผูมีความเพียร เครื่องเผากิเลสคือสุจริต.

บทวา สนฺโต ความวา เปนผูมีศีลเขาไปสงบ ดวยทวารมีกายทวารเปนตน. ทานกลาวอธิบายนี้ไววา ผูประพฤติตบะกลาวสุจริต ๓ และผูสงบเห็นปานนั้น ชื่อวาเขาไปนั่งใกล เปนการยังประโยชนให สําเร็จคือเปนความดี.

บทวา น ปุพฺเพ ความวา เมื่อคราวเราเปนหนุมเรา มิไดประพฤติพรหมจรรยเห็นปานนี้ ภายหลังคร่ําคราลงเพราะชรา ถูกมรณภัยคุกคาม จึงเดือดรอนเศราโศกในภายหลังดวยประการฉะนี้. ทานกลาววา ถาทานปรารถนาจะไมเศราโศกอยางนี้ จงกระทําตปกรรมเถิด.

บทวา โย จ เอตานิ านานิ ความวา ผูใดปฏิบัติเหตุ ๑๐ ประการเหลานี้ ดวยอุบายอันแยบคายกอนทีเดียว สมาทานประพฤติ กระทํากิจอันชอบธรรมที่บุรุษทั้งหลายควรกระทํา บุรุษผูอยูดวยความไมประมาทนั้น ยอมไมตามเดือดรอนในภายหลัง ยอมไดรับโสมนัสทีเดียวแล.

พระมหาสัตวแสดงธรรมแกมหาชนโดยทํานองนี้ ทุกๆ กึ่งเดือนแมมหาชนก็ตั้งอยูในโอวาทของพระองค บําเพ็ญฐานะสิบประการเหลานั้นบริบูรณ แลวไดไปสวรรค.

พระศาสดาครั้นทรงนําพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแลว ตรัสวา ดูกอนมหาบพิตร โบราณกบัณฑิต ไมมีอาจารยแสดงธรรมตามความรูของตน พามหาชนไปสวรรคไดอยางนี้ แลวทรงประชุมชาดกวา บริษัทในครั้งนั้น ไดมาเปนพุทธบริษัทในครั้งนี้ สวนพระเจาชนสันธราชไดมาเปนเราตถาคต แล.

จบอรรถกถาชนสันธชาดก

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
chatchai.k
วันที่ 5 ม.ค. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

 
  ความคิดเห็นที่ 3  
 
jirat wen
วันที่ 27 มิ.ย. 2565

ขอบพระคุณ และขออนุโมทนาครับ

 
  ความคิดเห็นที่ 4  
 
Sottipa
วันที่ 27 มิ.ย. 2565

อนุโมทนา

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ