โมคคัลลนสูตร

 
chatchai.k
วันที่  14 ม.ค. 2564
หมายเลข  33582
อ่าน  707

[เล่มที่ 37] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เล่ม ๔ - หนาที่ 183 - 186

๘. โมคคัลลนสูตร

[๕๘] สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคเจาประทับอยู ณ ปาเภสกลา มิคทายวัน ใกลสุงสุมารคีรนคร แควนภัคคะ ก็สมัยนั้นแล ทานมหาโมคคัลลานะนั่งโงกงวงอยู ณ บานกัลลวาลมุตตคาม แควนมคธ พระผูมีพระภาคเจาไดทอดพระเนตรเห็นทานพระมหาโมคคัลลานะนั่งโงกงวงอยู ณ บานกัลลวาลมุตตคาม แควนมคธ ดวยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ลวงจักษุมนุษย ครั้นแลวทรงหายจาก เภสกลามิคทายวัน ใกลสุงสุมารคีรนคร แควนภัคคะ เสด็จไป ปรากฏเฉพาะหนาทานพระมหาโมคคัลลานะ ณ บานกัลลวาลมุตตคาม แควนมคธ เปรียบเหมือนบุรุษมีกําลังเหยียดแขนที่คู หรือคูแขนที่เหยียด ฉะนั้น พระผูมีพระภาคเจาประทับนั่งบนอาสนะ ที่ปูลาดแลว ครั้นแลวไดตรัสถามทานพระมหาโมคคัลลานะวา

ดูกอนโมคคัลลานะ เธองวงหรือ กอนโมคคัลลานะ เธองวงหรือ ทานพระมหาโมคคัลลานะกราบทูลวา อยางนั้น พระเจาขา. ดูกอนโมคคัลลานะ เพราะเหตุนั้นแหละ เมื่อเธอมีสัญญา อยางไรอยู ความงวงนั้นยอมครอบงําได เธอพึงทําไวในใจซึ่ง สัญญานั้นใหมาก ขอนี้จะเปนเหตุใหเธอละความงวงนั้นได

ถาเธอยังละไมได แตนั้นเธอถึงตรึกตรองพิจารณาถึงธรรมตามที่ตน ไดสดับแลว ไดเรียนมาแลวดวยใจ ขอนี้จะเปนเหตุใหเธอละความ งวงนั้นได ถายังละไมได แตนั้นเธอพึงสาธยายธรรมตามที่ตนได สดับมาแลว ไดเรียนมาแลวโดยพิสดาร ขอนี้จะเปนเหตุใหเธอ ละความงวงนั้นได

ถายังละไมได แตนั้นเธอพึงยอนชองหูทั้งสองขาง เอามือลูบตัว ขอนี้จะเปนเหตุใหเธอละความงวงนั้นได ถายังละ ไมได แตนั้นเธอพึงลุกขึ้นยืน เอาน้ําลางตา เหลียวดูทิศทั้งหลาย แหงนดูดาวนักษัตรฤกษ ขอนี้จะเปนเหตุใหเธอละความงวงนั้นได

ถายังละไมได แตนั้นเธอพึงทําในใจถึงอาโลกสัญญา ตั้งความ สําคัญในกลางวันวา กลางวันอยางไร กลางคืนอยางนั้น กลางคืน อยางไร กลางวันอยางนั้น มีใจเปดเผยอยูฉะนี้ ไมมีอะไรหุมหอ ทําจิตอันมีแสงสวางใหเกิด ขอนี้จะเปนเหตุใหเธอละความงวง นั้นได ถายังละไมได แตนั้นเธอพึงอธิษฐานจงกรม กําหนดหมาย เดินกลับไปกลับมา สํารวมอินทรีย มีใจไมเปดไปใหภายนอก ขอนี้ จะเปนเหตุใหเธอละความงวงนั้นได

ถายังละไมได แตนั้นเธอพึง สําเร็จสีหไสยา คือนอนตะแคงเบื้องหนาขวา ซอนเทาเหลื่อมเทา มีสติ สัมปชัญญยะ ทําความหมายในการนอน ความสุขในการเอนขาง ความสุขในการเคลิ้มหลับ ดูกอนโมคคัลลานะ เธอพึงศึกษาอยางนี้แล.

ดูกอนโมคคัลลานะ เพราะเหตุนั้นแหละ เธอพึงศึกษา อยางนี้อีกวา เราจักไมชูงวง (ถือตัว) เขาไปสูตระกูล ดูกอน โมคคัลลานะ เธอพึงศึกษาอยางนี้แล ถาภิกษุชูงวงเขาไปสูตระกูล และในตระกูลมีกรณียกิจหลายอยาง ซึ่งจะเปนเหตุใหมนุษยไมใสใจ ถึงภิกษุผูมาแลว เพราะเหตุนั้น ภิกษุยอมมีความคิดอยางนี้วา เดี๋ยวนี้ใครหนอยุยงใหเราแตกในสกุลนี้ เดี๋ยวนี้ดูมนุษยพวกนี้ มีอาการอิดหนาระอาใจในเรา เพราะไมไดอะไรเธอจึงเปนผูเกอเขิน เมื่อเกอเขิน ยอมคิดฟุงซาน เมื่อคิดฟุงซาน ยอมไมสํารวม เมื่อ ไมสํารวมจิตยอมหางจากสมาธิ.

เพราะฉะนั้นแหละ โมคคัลลานะ เธอพึงศึกษาอยางนี้วา เราจักไมพูดถอยคําซึ่งจะเปนเหตุใหทุมเถียงกัน ดูกอนโมคคัลลานะ เธอพึงศึกษาอยางนี้แล เมื่อมีถอยคําซึ่งจะเปนเหตุใหทุมเถียงกัน ก็จําตองหวังการพูดมาก เมื่อมีการพูดมาก ยอมคิดฟุงซาน เมื่อ คิดฟุงซาน ยอมไมสํารวม เมื่อไมสํารวม จิตยอมหางจากสมาธิ. ดูกอนโมคคัลลานะ อนึ่ง เราสรรเสริญความคลุกคลี่ดวย ประการทั้งปวงไม แตมิใชวาจะไมสรรเสริญ ความคลุกคลีดวย ประการทั้งปวงก็หามิได คือ เราไมสรรเสริญความคลุกคลีดวย หมูชนทั้งคฤหัสถและบรรพชิต ก็แตวา เสนาสนะอันใดเงียบเสียง ไมอื้ออึ่ง ปราศจากการสัญจรของหมูชน ควรเปนที่ประกอบกิจ ของผูตองการความสงัด ควรเปนที่หลีกออกเรน เราสรรเสริญ ความคลุกคลีดวยเสนาสนะเห็นปานนั้น. เมื่อพระผูมีพระภาคเจาตรัสอยางนี้แลว ทานพระมหา โมคคัลลานะทูลถามพระผูมีพระภาคเจาวา ขาแตพระองคผูเจริญ โดยยอ ดวยขอปฏิบัติเพียงไรหนอ ภิกษุจึงเปนผูหลุดพนแลวเพราะ สิ้นตัณหา มีความสําเร็จลวงสวน มีที่สุดลวงสวน ประเสริฐกวา เทวดาและมนุษยทั้งหลาย.

พ. ดูกอนโมคคัลลานะ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไดสดับวา ธรรมทั้งปวงไมควรถือมั่น ครั้นไดสดับดังนั้นแลว เธอยอมรูชัด ธรรมทั้งปวงดวยปญญาอันยิ่ง ครั้นรูชัดธรรมทั้งปวงดวยปญญา อันยิ่งแลว ยอมกําหนดรูธรรมทั้งปวง ครั้นกําหนดรูธรรมทั้งปวง แลว ไดเสวยเวทนาอยางใดอยางหนึ่ง สุขก็ดี ทุกขก็ดี มิใชสุข มิใชทุกขก็ดี ยอมพิจารณาเห็น ความไมเที่ยงในเวทนาเหลานั้น พิจารณาเห็นความคลายกําหนัด พิจารณาเปนความดับ พิจารณา เห็นความสละคืน เมื่อเธอพิจารณาเห็นอยางนั้นๆ อยู ยอมไมยืดมั่น อะไรๆ ในโลก เมื่อไมยืดมั่น ยอมไมสะดุง เมื่อไมสะดุง ยอม ปรินิพพานเฉพาะตัวทีเดียว ยอมรูชัดวา ชาติสิ้นแลว พรหมจรรย อยูจบแลว กิจที่ควรทํา ทําเสร็จแลว กิจอื่นเพื่อความเปนอยางนี้ มิไดมี ดูกอนโมคคัลลานะ โดยยอดวยขอปฏิบัติเพียงเทานี้แล ภิกษุ จึงเปนผูหลุดพนแลวเพราะสิ้นตัณหา มีความสําเร็จลวงสวน เปนผู เกษมจากโยคะลวงสวน เปนพรหมจารีลวงสวน มีที่สุดลวงสวน ประเสริฐกวาเทวดาและมนุษยทั้งหลาย.

จบ โมคคัลลานสูตรที่ ๘


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 14 ม.ค. 2564

[เล่มที่ 37] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เล่ม ๔ - หนาที่ 186 - 191

อรรถกถาโมคคัลลานสูตรที่ ๘

โมคคัลลานสูตรที่ ๘ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้

บทวา จปลายมาโน ความวาพระมหาโมคคัลลนะ เขาไป อาศัยหมูบานนั้น กระทําสมณธรรมในไพรสณฑแหงหนึ่ง มีรางกาย ลําบากเพราะถูกความเพียรในการจงกรมตลอด ๗ วัน บีบคั้น จึงนั่ง โงกงวงอยูในทายที่จงกรม.

บทวา จปลายสิ โน แกเปน นิทฺทายสิ นุ แปลวา เธองวงหรือ

บทวา อนุมชฺชิตฺวา แปลวา ลูบคลําแลว.

บทวา อาโลกสฺ ไดแก ความสําคัญในความสวางเพื่อบรรเทา ความงวง.

บทวา ทิวาสฺ ไดแก ความสําคัญวาเปนกลางวัน

บทวา ยถา ทิวา ตถา รตฺตึ ความวา เธอตั้งความสําคัญวาสวาง ในกลางวันฉันใด เธอตั้งความสําคัญวาสวางนั้น แมในกลางคืน ก็ฉันนั้น. คําวา ยถา รตฺตึ ตถา ทิวา เธอตั้งความสําคัญวา สวาง ในกลางคืนฉันใด เธอตั้งความสําคัญวาสวางนั้นแมในกลางวันฉันนั้น.

บทวา สปฺปภาส เธอพึงใหจิตเปนไปพรอมกับแสงสวาง เพื่อประโยชน แกทิพยจักขุญาณ.

บทวา ปจฺฉาปุเรสฺี ความวา ผูมีสัญญา ดวยสัญญาอันนําไปทั้งขางหนาและขางหลัง.

บทวา อนฺโตคเตหิ อินฺทฺริเยหิ ไดแก ดวยอันทรีย ๕ อันไมฟุงซานไปในภายนอก อันเขามาตั้งอยูในภายในเทานั้น.

บทวา มิทฺธสุข ไดแก ความสุข อันเกิดแตความหลับ พระผูมีพระภาคเจา แสดงกรรมฐานเครื่อง บรรเทาความงวงแกพระเถระ ดวยฐานะมีประมาณเทานี้.

บทวา โสณฺฑ ไดแก งวงคือ มานะ. ในบทวา กิจฺจกรณียานิ นี้ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้ กรรมที่ตนจะพึงทําแนแท ชื่อวา กิจฺจานิ กิจกรรมที่เปนหนาที่ทั้งหลาย สวนกิจนอกนี้ ชื่อวา กรณียานิ กิจควรทําทั้งหลาย.

บทวา มงฺกุภาโว ไดแก ความเปนผูไรอํานาจ ความโทมนัส เสียใจ. พระศาสดาตรัสภิกขาจารวัตรแกพระเถระ ดวยฐานะมีประมาณเทานี้. บัดนี้ เพื่อจะทรงชักจูงกัน ใหสิ้นสุดลง พระองคจึงตรัสคําเปนตนวา ตสฺมาติห ดังนี้ บรรดาบทเหลานั้น บทวา วิคฺคาหิกกถ ความวา ถอยคําอันเปนเหตุใหถือเอาผิดเปนไป โดยนัย เปนตนวา ทานยอมไมรูธรรมและวินัยนี้ เพื่อจะเวน การคลุกคลีกับบาปมิตร พระศาสดาจึงตรัสคํามีอาทิวา นาห โมคฺคลฺลาน ดังนี้.

บทวา กิตฺตาวตา นุ โข ความวา ดวยขอปฏิบัติเพียงไรหนอ.

บทวา ตณฺหาสงฺขยวิมุตฺโต โหติ ความวา ภิกษุชื่อวาตัณหาสังขยวิมุตตะ เพราะเปนผูมีจิตนอมไปในพระนิพพานอันเปนที่ สิ้นตัณหา ทําพระนิพพานนั้นเปนอารมณ พระมหาโมคคัลลานะ ทูลถามวา โดยยอ ดวยขอปฏิบัติเทาไร ภิกษุยอมชื่อวาตัณหาสังขยวิมุตตะ ขอพระองคโปรดทรงแสดงขอปฏิบัตินั้นนั่นแล ที่เปน ปฏิปทาสวนเบื้องตนของภิกษุผูขีณาสพ โดยสังเขปเถิดพระเจาขา.

บทวา อจฺจนฺตนิฏโ ความวา ชื่อวา อจฺจนตา เพราะเปน ไปลวงสวน กลาวคือความสิ้นไปและความเสื่อมไป. ภิกษุชื่อวา อจฺจนฺตนิฏโ เพราะมีความสําเร็จลวงสวน อธิบายวา มีความ สําเร็จโดยสวนเดียว มีความสําเร็จติดตอกัน

บทวา อจฺจนฺตโยคฺคกฺเขมี ความวา ผูมีธรรมเปนแดนเกษมจากโยคะลวงสวนอธิบายวา มีธรรมเปนแดนเกษมจากโยคะเปนนิจ.

บทวา อจฺจนฺตพฺรหฺมจารี ความวา เปนพรหมจารีลวงสวน อธิบายวา เปนพรหมจารีเปนนิจ.

บทวา อจฺจนตปริโยสาโน ความวา มีที่สุดลวงสวนโดยนัยกอน นั่นแหละ.

บทวา เสฏโเทวมนุสฺสาน ความวา ประเสริฐสุดคือ สูงสุด กวาเทวดาและมนุษยทั้งหลาย. พระมหาโมคคัลลานะทูลขอวา ภิกษุชื่อวาเปนปานนี้ ดวยขอปฏิบัติเพียงไร ขอพระองคโปรด ทรงแสดงสําหรับภิกษุนั้นโดยยอเถิดพระเจาขา. ในคําวา สพฺเพ ธมฺมา นาล อภินิเวสาย นี้มีวินิจฉัยดังตอไปนี้ ชื่อวา ธรรมทั้งปวงคือ ขันธ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ ธรรมทั้งหมด นั้น ไมควรถือไมถูก ไมชอบ ไมเหมาะ ที่จะยึดมั่นดวยอํานาจ ตัณหาและทิฏฐิ. เพราะเหตุไร ธรรมจึงไมควรถือมั่น เพราะธรรม เหลานั้น ไมตั้งอยูโดยอาการที่จะยึดถือไว จริงอยูธรรมเหลานั้น แมตนจะยึดถือเอาวา สังขารทั้งหลายเปนของเที่ยง เปนสุข และ เปนอัตตา ก็ยอมสําเร็จผลวา เปนของไมเที่ยง เปนทุกข และเปน อนัตตาอยูนั่นเอง เพราะเหตุนั้น พระผูมีพระภาคเจาจึงตรัสวา ไมควรถือมั่นดังนี้.

บทวา อภิชานาติ ความวา ยอมรูยิ่ง คือรู ดวยญาตปริญญาวา สังขารทั้งหลาย ไมเที่ยง เปนทุกข ธรรม ทั้งปวงเปนอนัตตา.

บทวา ปริชานาติ ความวา ยอมกําหนดรู ดวยติรณปริญญา เหมือนอยางนั้นนั่นแหละ.

บทวา ยกิฺจิ เวทน ความวา ยอมเสวยเวทนาอยางใดอยางหนึ่ง แมมีประมาณนอย โดยที่สุดแมประกอบดวยปญจวิญญาณ. ดวยบทนี้พระผูมีพระภาคเจา ทรงยักเยื้องดวยอํานาจเวทนา จึงแสดงการกําหนดอรูปธรรม (นามธรรม) เปนอารมณแกพระเถระ

บทวา อนิจฺจานุปสฺสี ไดแกพิจารณาเห็นโดยความไมเที่ยง. วิราคะ ในบทวา วิราคานุปสฺสีนี้ มี ๒ คือขยวิราคะ ความคลายกําหนัด เพราะสิ้นไป ๑ อัจจันตวิราคะ ความคลายกําหนัดเพราะลวงสวน ๑ ในสองอยางนั้น วิปสสนาอันเห็นความสิ้นไปแหงสังขารทั้งหลาย โดยความสิ้นก็ดี มรรคญาณ คือการเห็นความคลายกําหนัดลวงสวน คือพระนิพพาน โดยความคลายกําหนัดก็ดี ชื่อวา วิราคานุปสสนา การพิจารณาเห็นโดยความคลายกําหนัด. บุคคลผูพรั่งพรอมดวย วิราคธรรมทั้ง ๒ นั้น ชื่อวา วิราคานุปสสี ผูตามเห็นความคลาย กําหนัด. พระผูมีพระภาคเจา ทรงหมายถึงวิราคะนั้น จึงตรัสวา วิราคานุปสฺสี อธิบายวา บุคคลผูพิจารณาเห็นความคลายกําหนัด. แมใน นิโรธานุปสสีบุคคล ก็นัยนี้เหมือนกัน. เพราะแม นิโรธ ความดับ ก็มี ๒ เหมือนกัน คือขยนิโรธ ความดับเพราะ สิ้นไป อัจจันตนิโรธ ความดับลวงสวน. ในบทวา ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสี นี้ โวสสัคคะ ความสละ ทานเรียกวา ปฏินิสสัคคะ ความสละคืน. ความสละนั้น ก็มี ๒ อยาง คือ ปริจจาคโวสสัคคะ ความสละดวย การบริจาค ปกขันทนโวสสัคคะ ความสละดวยการแลนไป. บรรดา ความสละทั้ง ๒ นั้น วิปสสนา ชื่อวา ปริจจาคโวสสัคคะ ความสละ ดวยการละ. จริงอยู วิปสสนานั้น ยอมละไดซึ่งกิเลสและขันธ

ดวยอํานาจ ตทังคปหาน. มรรค ชื่อวา ปกขันทนโวสสัคคะ ความ สละดวยการแลนไป ดวยวา มรรคนั้น ยอมแลนไปสูพระนิพพาน โดยเปนอารมณ. อีกอยางหนึ่งมรรคนั้น ชื่อวา โวสสัคคะ เพราะ เหตุแมทั้ง ๒ คือ เพราะขันธและกิเลส ดวยอํานาจสมุจเฉทปหาน และเพราะการแลนไปในพระนิพพาน เพราะเหตุนั้น วิปสสนา จึงชื่อวา ปริจจาคโวสสัคคะ สละดวยการปริจาค เพราะวิปสสนา ยอมละกิเลสและขันธ และมรรคที่ชื่อวา ปกขันทนโวสสัคคะ ความสละดวยการแลนไป เพราะจิตยอมแลนไปในความดับสนิท คือนิพพานธาตุ ก็เพราะเหตุนี้ คําทั้งสองนี้จึงจัดเขาไดในมรรค บุคคลผูพรั่งพรอมดวยวิปสสนาและมรรคทั้งสองนั้น ยอมเปนผู้ ชื่อวา ปฏินิสสัคคานุปสสี ผูตามเห็นความสละคืน เพราะประกอบ ดวยปฏินิสสัคคานุปสสนานี้. พระผูมีพระภาคเจาทรงหมายถึง บุคคลนั้น จึงตรัสอยางนี้.

คําวา น จ กิฺจิ โลเก อุปาทิยติ ความวา ภิกษุนั้น ยอม ไมยึด ไมถือเอา ไมจับตองธรรมชาติอะไร คือสังขารแมอยางหนึ่ง ดวยอํานาจตัณหา. คําวา อนุปาทิย น ปริตสฺสติ ความวา เมื่อไม ถือมั่น ยอมไมสะดุง เพราะความหวาดสะดุงดวยอํานาจตัณหา.

บทวา ปจฺจตฺต เยว ปรินิพฺพายติ ความวายอมปรินิพพานดวยกิเลสปรินิพพาน ดวยตนทีเดียว ก็ปจจเวกขณญาณของภิกษุนั้น พระผูมีพระภาคเจา ทรงแสดงโดยนัยเปนตนวา ขีณา ชาติ ชาติสิ้นแลว ดังนี้. ดังนั้น พระผูมีพระภาคเจา ถูกพระมหาโมคคัลลานะ ทูลถามถึงปฏิปทา อันเปนสวนเบื้องตน ของพระขีณาสพโดยยอแลว จึงตรัสโดยยอ เหมือนกัน. แตพระสูตรนี้ แหงพระโอวาท เปนทั้งวิปสสนา สําหรับพระเถระ พระเถรนั้น เจริญวิปสสนาในพระสูตรนี้ แลวบรรลุพระอรหันต ดังนี้แล.

จบ อรรถกถาโมคคัลลานะสูตรที่ ๘

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
chatchai.k
วันที่ 14 ม.ค. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ