กาฬุทายีเถรคาถา

 
chatchai.k
วันที่  25 พ.ค. 2564
หมายเลข  34282
อ่าน  545

[เล่มที่ 52] พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 320 - 321

เถรคาถา ทสกนิบาต

๑. กาฬุทายีเถรคาถา

วาดวยคาถาของพระกาฬุทายีเถระ

[๓๗๐] ขาแตพระองคผูเจริญบัดนี้ หมูไมทั้งหลาย มีดอก และใบ มีสีแดงดังถานเพลิง ผลิผลสลัดใบเการวงหลน ไป หมูไมเหลานั้นงามรุงเรืองดังเปลวเพลิง ขาแต พระองคผูมีความเพียรใหญ เวลานี้เปนเวลาสมควร อนุเคราะหหมูพระญาติ ขาแตพระองคผูแกลวกลา หมู ไมทั้งหลายมีดอกบานงามดี นารื่นรมยใจสงกลิ่นหอม ฟุงตลบไปทั่วทิศโดยรอบ ผลัดใบเกา ผลิดอกออกผล เวลานี้เปนเวลาสมควรจะหลีกออกไปจากที่นี้ ขอเชิญ พระพิชิตมารเสด็จไปสูกรุงกบิลพัสดุเถิด ขาแตพระองค ผูเจริญ ฤดูนี้เปนฤดูที่ไมหนาวนัก ไมรอนนัก เปนฤดู พอสบาย ทั้งมรรคาก็สะดวก ขอพวกศากยะและโกลิยะ ทั้งหลาย จงไดเขาเฝาพระองคที่แมน้ําโรหิณี อันมีปากน้ํา อยูทางทิศใต ชาวนาไถนาดวยความหวังผล หวานพืช ดวยความหวังผล พอคาผูเที่ยวหาทรัพย ยอมไปสูสมุทร ดวยความหวังทรัพย ขาพระองคอยูในที่นี้ ดวยความหวัง ผลอันใด ขอความหวังผลอันนั้นจงสําเร็จแกขาพระองค เถิด ชาวนาหวานพืชบอยๆ ฝนตกบอยๆ ชาวนาไถนา บอย ๆ แวนแควนสมบูรณดวยธัญญาหารบอยๆ พวกยาจกเที่ยวขอบอยๆ ผูเปนทานบดีใหบอยๆ ครั้นให บอยๆแลว ยอมถึงสวรรคบอยๆ. บุรุษผูมีความเพียร มีปญญากวางขวาง เกิดในสกุล ใด ยอมยังสกุลนั้นใหบริสุทธิ์สะอาดตลอด ๗ ชั่วคน

ขาพระองคยอมเขาใจวาพระองคเปนเทพเจาประเสริฐ กวาเทพเจาทั้งหลาย ยอมทรงสามารถทําใหสกุลบริสุทธิ์ เพราะพระองคเกิดแลวโดยอริยชาติ ไดสัจนามวา เปน นักปราชญ สมเด็จพระบิดาของพระองคทรงแสวงหาคุณ อันยิ่งใหญ ทรงพระนามวาสุทโธทนะ สมเด็จพระนางเจา มายาพระมเหสีของพระเจาสุทโธทนะ เปนพระพุทธมารดา ทรงบริหารพระองคผูเปนพระโพธิสัตวมาดวย พระครรภ เสด็จสวรรคตไปบันเทิงอยูในไตรทิพย สมเด็จ พระนางเจามายาเทวีนั้น ครั้นสวรรคตจุติจากโลกนี้แลว ทรงพรั่งพรอมดวยกามคุณอันเปนทิพย มีหมูนางฟาหอม ลอมบันเทิงอยูดวยเบญจกามคุณ อาตมภาพเปนบุตรของ พระพุทธเจาผูไมมีสิ่งใดจะย่ํายีได มีพระรัศมีแผซานจาก พระกาย ไมมีผูจะเปรียบปาน ผูคงที่ ดูกอนมหาบพิตร พระองคเปนพระบิดาของพระพุทธเจา ผูเปนพระบิดา แหงอาตมภาพ ดูกอนมหาบพิตร พระองคเปนพระอัยกา ของอาตมภาพโดยธรรม.

จบกาฬุทายีเถรคาถา


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 25 พ.ค. 2564

[เล่มที่ 52] พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓- หนาที่ 322 - 337

อรรถกถาทสกนิบาต

อรรถกถากาฬุทายีเถรคาถาที่ ๑

ในทสกนิบาต มีคาถาของทานพระกาฬุทายีเถระ วา องฺคาริโน ดังนี้เปนตน

เรื่องนั้นมีเหตุเกิดขึ้นเปนอยางไร

ในกาลแหงพระพุทธเจา ทรงพระนามวา ปทุมุตตระ ทานพระกาฬุทายีเถระแมนี้ เกิดในเรือนอันมีสกุล ในพระนครหังสวดี เมื่อฟง พระธรรมเทศนาของพระศาสดา เห็นพระศาสดาทรงตั้งภิกษุรูปหนึ่ง ไว ในตําแหนงแหงผูทําสกุลใหเลื่อมใส แลวทํากรรมตั้งความปรารถนาเพื่อ ตําแหนงนั้นแลว

เขาทํากุศลกรรมจนตลอดชีวิตแลว ทองเที่ยวไปในเทวโลกและ มนุษยโลก จึงถือปฏิสนธิในเรือนอํามาตย ในกรุงกบิลพัสดุนั้นแล ในวัน เดียวกันกับพระโพธิสัตวของพวกเราถือปฏิสนธิในพระครรภพระมารดา เกิดก็เกิดในวันเดียวกันกับพระโพธิสัตวเหมือนกัน ดังนั้น ในวันนั้น นั่นแหละ พวกญาติจึงใหเด็กนั้นนอนบนเทริดที่ทําดวยเนื้อผาดีชนิดหนึ่ง พากันนําไปสูที่บํารุงของพระโพธิสัตว

จริงอยู สหชาติ ๗ เหลานั้นคือ ตนโพธิพฤกษ๑ พระมารดาของ พระราหุล ๑ ขุมทรัพยทั้ง ๔ ขุม ๑ ชางตระกูลอาโรหนิยะ ๑ มา กัณฐกะ ๑ นายฉันนะ ๑ กาฬุทายี ๑ ไดเกิดพรอมดับพระโพธิสัตว เพราะเกิดในวันเดียวกันนั่นแล ครั้นในวันตั้งชื่อ พวกญาติก็พากันตั้งชื่อ เขาวา อุทายี เพราะเกิดในวันที่ชาวพระนครทั้งสิ้นมีจิตรื่นเริงเบิกบาน แต

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
chatchai.k
วันที่ 25 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกายเถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 323

เพราะมีผิวพรรณคอนขางดําไปหนอย จึงปรากฏชื่อวา กาฬุทายี. กาฬุทายีนั้น ถึงความเจริญขึ้นแลว เมื่อจะเลนตามประสาเด็ก ก็เลนกับพระโพธิสัตว ตอมาภายหลัง เมื่อพระโลกนาถเจาเสด็จออกมหาภิเนษกรมณแลว บรรลุพระสัพพัญุตญาณตามลําดับ ทรงประกาศพระธรรมจักรอันบวร ใหเปนไปแลว ทรงอาศัยกรุงราชคฤห ประทับอยูในพระเวฬุวันมหาวิหาร พระเจาสุทโธทนะมหาราชทรงสดับความเปนไปนั้นแลว ทรงสงอํามาตย ผูหนึ่ง มีบุรุษ ๑,๐๐๐ คน เปนบริวารไป ดวยตรัสสั่งวา จงนําลูกเรา มาในที่นี้ กาฬุทายีอํามาตยนั้นไปเฝาพระศาสดาในเวลาทรงแสดงธรรม จึงยืนฟงธรรมอยูขางทายบริษัท พรอมดวยบุรุษก็บรรลุพระอรหัต

ลําดับนั้น พระศาสดาจึงทรงเหยียดพระหัตถ ตรัสกะทุกคนนั้น วา พวกเธอ จงเปนภิกษุมาเถิด ในขณะนั้นนั่นเอง คนทั้งหมด ก็ทรงบาตรและจีวรอันสําเร็จดวยฤทธิ์ ไดเปนดังพระเถระมีอายุ ๖๐ ป ก็จําเดิมแตบรรลุพระอรหัตแลว พระอริยะทั้งหลายก็เปนผูมีตนเปนกลาง เพราะฉะนั้น จึงมิไดกราบทูลแดพระทศพลใหทรงทราบถึงสาสนที่ พระราชาสงไป พระราชาทรงดําริวา สวนแหงกําลังคนที่มอบหมายหนาที่ให ก็ไมยอมกลับมา ขาวสาสนก็ไมไดยินเลย ดังนี้แลว จึงทรงสง อํามาตยอีกคนหนึ่ง พรอมดวยบุรุษ ๑,๐๐๐ คนไปอีก เมื่ออํามาตยนั้น ปฏิบัติตามกันอยางนั้น พระราชาจึงทรงสงอํามาตยคนอื่นไปอีก รวมสง บุรุษถึง ๙,๐๐๐ คน พรอมกับอํามาตยอีก ๙ คน ดวยประการฉะนี้ คนทั้งหมดบรรลุพระอรหัตแลว ก็พากันนิ่งเฉยเสีย

ลําดับนั้น พระราชาทรงดําริวา คนมีประมาณตั้งเทานี้ ชางไมมี

 
  ความคิดเห็นที่ 3  
 
chatchai.k
วันที่ 25 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกายเถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 324

ความรักเยื่อใยในเราเสียเลย ไมยอมกราบทูลคําอะไรๆ แดพระทศพล เพื่อการเสด็จมาในที่นี้ แตอุทายีคนนี้แล เปนผูมีวัยเสมอกันกับพระทศพล เคยรวมเลนฝุนมาดวยกัน และจักมีความรักเยื่อใยในเรา เราจัก สงเจาคนนี้ไป ดังนี้ จึงทรงมีรับสั่งใหเรียก อุทายี นั้น มาแลว ตรัสวา พอคุณเอย พอ พรอมดวยบุรุษเปนบริวาร ๑,๐๐๐ คน จงไปยังกรุง ราชคฤหแลว นําพระทศพลมาใหได ดังนี้แลว จึงทรงสงไป ฝาย กาฬุทายีอํามาตยนั้น เมื่อจะไปจึงกราบทูลวา ขอเดชะ ใตฝาละอองธุลี พระบาท ปกเกลาปกกระหมอม หากขาพระองคจักไดการบวชไซร ขาพระองคจึงจักนําพระผูมีพระภาคเจามาในที่นี้ ดังนี้ มีพระดํารัสตอบวา เธอจะทําอยางใดอยางหนึ่งก็ได ขอใหแสดงบุตรแกเราก็แลวกัน ดังนี้แลว จึงไปยังกรุงราชคฤห พอดีในเวลาพระศาสดาทรงแสดงธรรม จึงยืนฟงธรรม อยูขางทายบริษัท พรอมดวยบริวารก็บรรลุพระอรหัต ดํารงอยูในความเปนเอหิภิกขุ ดวยเหตุนั้น ทานจึงกลาวไวในอปทาน ๑ วา :-

เมื่อพระพุทธเจาทรงพระนามวาปทุมุตตระ เชษฐบุรุษของโลก ผูคงที่ เสด็จดําเนินทางไกล เที่ยวจาริกไปในเวลานั้น เราไดถือเอาดอกปทุม ดอกอุบล และ ดอกมะลิซอนอันบานสะพรั่ง และถือขาวสุกชั้นพิเศษมา ถวายแดพระศาสดา พระมหาวีรชินเจา เสวยขาว ชั้นพิเศษ อันเปนโภชนะที่ดี และทรงรับดอกไมนั้นแลว ทรงยังเราใหรื่นเริงวา ผูใดไดถวายดอกปทุมอันอุดม เปนที่ปรารถนา เปนที่นาใครในโลกนี้แกเรา ผูนั้นทํา

 
  ความคิดเห็นที่ 4  
 
chatchai.k
วันที่ 25 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกายเถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 325

กรรมที่ทําไดยากนัก ผูใดไดบูชาดอกไม และไดถวาย ขาวชั้นพิเศษแกเรา เราจักพยากรณผูนั้น ทานทั้งหลาย จงฟงเรากลาว ผูนั้นจักไดเสวยเทวรัชสมบัติ ๑๘ ครั้ง ดอกอุบล ดอกปทุม และดอกมะลิซอน จะมีในเบื้องบน ผูนั้น ดวยผลแหงบุญนั้น ผูนั้นจักสรางหลังคาอันประกอบ ดวยของหอมอันเปนทิพยไวในอากาศ จักทรงไวในเวลา นั้น จักไดเปนพระเจาจักรพรรดิ ๒๕ ครั้ง จักไดเปน พระราชาในแผนดินครอบครองพสุธา ๕๐๐ ครั้ง ในกัปที่ แสน พระศาสดามีพระนานวาโคดม ซึ่งมีสมภพในวงศ พระเจาโอกกากราช จักเสด็จอุบัติในโลก ผูนั้นปรารถนา ในกรรมของตน อันกุศลมูลตักเตือนแลว จักไดเปนบุรุษ ผูมีชื่อเสียง ทําความเพลิดเพลินใหเกิดแกเจาศากยะ ทั้งหลายแตภายหลังผูนั้นอันกุศลมูลตักเตือนแลวจักบวช จักกําหนดรูอาสวะทั้งปวงแลว ไมมีอาสวะ นิพพาน พระโคดมผูเผาพันธุของโลก จักทรงตั้งผูนั้นซึ่งบรรลุ ปฏิสัมภิทา ไดทํากิจที่ควรทําเสร็จแลว ไมมีอาสวะใน เอตทัคคสถาน ผูนั้นมีตนสงไปแลวเพื่อความเพียร สงบ ระงับ ไมมีอุปธิ จักเปนสาวกของพระศาสดา มีนามวา อุทายี เรากําจัดราคะ โทสะ โมหะ มานะ และมักขะ ไดแลว กําหนดรูอาสวะทั้งปวงแลว ไมมีอาสวะอยู เรา ยังพระสัมมาสัมพุทธเจาใหทรงโปรดปราน มีความเพียร มีปญญา และพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงเลื่อมใส ทรง

 
  ความคิดเห็นที่ 5  
 
chatchai.k
วันที่ 25 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกายเถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 326

ตั้งเราไวในเอตทัคคสถาน คุณวิเศษเหลานี้ คือปฏิสัมภิทา ๔ ...ฯลฯ... คําสั่งสอนของพระพุทธเจาเราไดทําเสร็จ แลว ดังนี้.

ก็ทานพระกาฬุทายี ครั้นบรรลุพระอรหัตแลว จึงคิดวา รอกอน กาลนี้ยังไมสมควร เพื่อการเสด็จไปสูพระนครอันเปนสกุลเดิมของพระทศพล, แตเมื่อถึงฤดูฝนแลว ไพรสณฑจะมีดอกไมบานสะพรั่ง จึงจัก เปนกาลเหมาะเพื่อการเสด็จไป บนภูมิภาคที่ดารดาษดวยติณชาติเขียวขจี ดังนี้แลว จึงเฝารอกาล เมื่อถึงฤดูฝนแลว พอจะพรรณนาชมหนทางไป เพื่อการเสด็จไปยังพระนครอันเปนสกุลเดิมของพระศาสดา จึงกลาวคาถา๑ เหลานี้วา :-

ขาแตพระองคผูเจริญ บัดนี้ หมูไมทั้งหลาย มีดอก และใบสีแดงดุจถานเพลิง ผลิผลสลัดใบเการวงหลนไป หมูไมเหลานั้นงดงามรุงเรื่องดุจเปลวเพลิง ขาแตพระองค ผูมีความเพียรใหญ เวลานี้เปนเวลาสมควรอนุเคราะหหมู พระญาติ ขาแตพระองคผูแกลวกลา หมูไมทั้งหลายมี ดอกบานงดงามดี นารื่นรมยใจ สงกลิ่นหอมพุงตลบไป ทั่วทิศโดยรอบ ผลัดใบเกา ผลิดอกออกผล เวลานี้เปน เวลาสมควรจะหลีกออกไปจากที่นี้ ขอเชิญพระพิชิตมาร เสด็จไปสูกรุงกบิลพัสดุเถิด ขาแตพระองคผูเจริญ ฤดูนี้ ก็เปนฤดูที่ไมหนาวนัก ไมรอนนัก เปนฤดูพอสบาย ทั้ง มรรคาก็สะดวก ขอพวกศากยะและโกลิยะทั้งหลาย จง

 
  ความคิดเห็นที่ 6  
 
chatchai.k
วันที่ 25 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกายเถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 327

ไดเขาเฝาพระองคที่แมน้ําโรหิณี อันมีปากน้ําอยูทางทิศใต เถิด ชาวนาไถนาดวยความหวังผล หวานพืชดวยความ หวังผล พอคาผูเที่ยวหาทรัพยยอมไปสูสมุทรดวยความ หวังทรัพย ขาพระองคอยูในที่นี้ ดวยความหวังผลอันใด ขอความหวังผลอันนั้น จงสําเร็จแกขาพระองคเถิดชาวนา หวานพืชบอยๆ ฝนตกบอยๆ ชาวนาไถนาบอยๆแวน แควนสมบูรณดวยธัญญาหารบอย ๆ พวกยาจกเที่ยวขอ ทานบอยๆ ผูเปนทานบดีใหบอยๆ ครั้นใหบอยๆ แลว ยอมเขาถึงสวรรคบอยๆ บุรุษผูมีความเพียร มี ปญญากวางขวาง เกิดในสกุลใด ยอมยังสกุลนั้นให บริสุทธิ์สะอาดตลอด ๗ ชั่วคน ขาพระองคยอมเขาใจวา พระองคเปนเทพเจาประเสริฐกวาเทพเจาทั้งหลาย ยอม ทรงสามารถทําใหสกุลบริสุทธิ์ เพราะพระองคเกิดแลว โดยอริยชาติ ไดสัจนามวา เปนนักปราชญ สมเด็จ พระบิดาของพระองค ทรงแสวงหาคุณอันยิ่งใหญ ทรง พระนามวาสุทโธทนะ สมเด็จพระนางเจามายาพระมเหสี ของพระเจาสุทโธทนะ เปนพระพุทธมารดา ทรงบริหาร พระองคผูเปนพระโพธิสัตวมาดวยพระครรภ เสด็จ สวรรคตไปบันเทิงอยูในไตรทิพย สมเด็จพระนางเจา มายาเทวีนั้น ครั้นสวรรคตจุติจากโลกนี้แลว ทรงพรั่ง- พรอมดวยกามคุณอันเปนทิพย มีหมูนางฟาหอมลอม บันเทิงอยูดวยเบญจกามคุณ อาตมภาพเปนบุตรของพระ-

 
  ความคิดเห็นที่ 7  
 
chatchai.k
วันที่ 25 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกายเถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 328

พุทธเจา ผูไมมีสิ่งใดจะย่ํายีได มีพระรัศมีแผซานจาก พระกาย ไมมีผูจะเปรียบปาน ผูคงที่ ดูกอนมหาบพิตร พระองคเปนพระบิดาของพระพุทธเจา ผูเปนพระบิดาแหง อาตมภาพ ดูกอนมหาบพิตร พระองคเปนพระอัยกา ของอาตมภาพโดยธรรม.

บรรดาบทเหลานั้น บทวาองฺคาริโน ไดแกถานเพลิง ซึ่งแปลวา ดุจถานเพลิง, ชื่อวาองฺคาริโน เพราะอรรถวา หมูไมทั้งหลายเหลานั้น มีดอกและใบ มีสีดังแกวประพาฬแดง, อธิบายวาดุจฝนถานเพลิง เกลื่อน กลนดวยตุมดอกไมโกสุมสีแดงเขม.

บทวา อิทานิ แปลวา ในกาลนี้.

บทวา ทุมา แปลวา ตนไมทั้งหลาย

บทวา ภทนฺเต ไดแกขาแตทานผูเจริญ ขอความเจริญจงมีแกทาน เพราะเหตุนั้น ทานผูประกอบดวยคุณวิเศษ เขาจึงเรียกวา ภทนฺเต เพราะทําการลบ อักษรเสียอักษรหนึ่ง แตพระศาสดาเปนผูเลิศกวาผู ประกอบดวยคุณวิเศษทั้งหลาย เพราะฉะนั้น คําวา ภทนฺเต จึงเปนคํา รองเรียกสําหรับพระศาสดา ก็คําวา ภทนฺเต นี้ เปนคําปฐมาริภัตติ มี ที่สุดอักษรเปน เอ ดุจในประโยค เปนตนวา ถาทํากรรมดีบาง กรรม ชั่วบางก็ไดรับความสุขบาง ทุกขบาง ดังนี้. แตในที่นี้ บัณฑิตพึงเห็นวา ภทนฺเต ลงในอรรถวา การตรัสรูชอบ ดวยเหตุนั้น ทานจึงกลาววา ภทนฺเต เปนอาลปนะ อาจารยบางพวกกลาววา ภทนฺต ศัพทเดียวที่มี ในระหวางบท มีความหมายเสมอกับ ภทฺท ศัพท.

 
  ความคิดเห็นที่ 8  
 
chatchai.k
วันที่ 25 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกายเถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 329

ชื่อวา ผเลสิโน เพราะอรรถวา ยอมตองการเผล็ดผล. อธิบายวา จริงอยู แมเมื่อไมมีเจตนา แตกลับยกขึ้นสูกิริยาที่มีเจตนาแลว กลาว เหมือนปรารภที่จะเด็ดผล จนถึงเวลาที่เด็ดเอาผลอันเผล็ดแลว ยอมมุงจะ ใหเหลากอสูญสิ้นไปฉะนั้น.

บทวา ฉทน วิปฺปหาย ไดแกสลัดใบไมเกา ๆ คือใบไมเหลือง ทั่วไปทิ้งเสีย.

บทวา เต โยค ทุมา แปลวา ตนไมเหลานั้น.

บทวา อจฺจิมนฺโต ว ปภาสยนฺติ ความวายอมสองสวางทั่วทุกทิศ ดุจเปลวไฟ หรือดุจกองไฟที่ลุกโพลง.

บทวา สมโยไดแกกาล คือกาลพิเศษแหงคําวา เพื่ออนุเคราะห.

บทวา มหาวีร ไดแก ขาแตพระองคผูมีความกลาหาญมาก.

บทวา ภาคี รสาน ไดแก ผูมีสวนแหงอรรถรส สมจริงดังคําที่ พระธรรมเสนาบดีกลาวไววา ขาแตพระผูมีพระภาคเจา ขาพระองคเปน ผูมีสวนแหงอรรถรส และธรรมรส ดังนี้เปนตน . ก็คําวา มหาวีร ภาคี แมนี้ บัณฑิตพึงทราบทั้งสองคําวา กลาวมุงถึงการตรัสรู. ก็พระราชา องคตน ชื่อวา ภคีรถ ในปาฐะวา ภาคีรถาน อธิบายวา พวกเจาศากยะ เปนพระราชากอน เพราะตั้งวงศกอนกวาเขา เพื่ออุปการะพระราชา เหลานั้น.

บทวา ทุมานิ ทานกลาวไวโดยความเปนลิงควิปลาส, ไดแกทุมา แปลวา ตนไมทั้งหลาย.

บทวา สมนฺตโต สพฺพทิสา ปวนฺติ ความวา หมูไมทั้งหลาย มี ดอกบานแลว ในทิศทั้งปวง โดยรอบ คือโดยทุกพื้นที่ เพราะบานแลว อยางนั้น จึงสงกลิ่น คือปลอยกลิ่นหอมฟุงไปทุกทิศ

 
  ความคิดเห็นที่ 9  
 
chatchai.k
วันที่ 25 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกายเถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 330

บทวา อาสมานา ไดแกหวังอยู คือตองการจะเก็บเอาผล. พระเถระครั้นแสดงถึงความรื่นรมยแหงหนทางที่จะไป เพราะงดงามดวยหมูไม อยางนี้แลว บัดนี้จึงแสดงถึงความสมบูรณแหงฤดู ดวยคําวา เนวาติสีต ดังนี้เปนตน

บทวา สุขา ฤดูที่สบาย คือนาปรารถนา เพราะความเปนฤดูไม หนาวนัก ไมรอนนัก.

บทวา อุตุ อทฺธนิยา ไดแกฤดูประกอบดวยหนทางไกล ที่ควรไป.

บทวา ปสฺสนฺตุ ต สากิยาโกลิยาจ ปจฺฉามุข โรหินิย ตรนฺต ความวา แมน้ําชื่อวา โรหิณี มีปากน้ําอยูทางทิศใต ไหลไปทางทิศเหนือ ระหวางสากิยะชนบทและโกลิยะชนบท. และไหลจากทิศตะวันออกเฉียงใต แหงแมน้ํานั้นไปยังกรุงราชคฤห เพราะฉะนั้น เมื่อจะขามแมน้ําจากกรุง ราชคฤหไปยังกรุงกบิลพัสดุ จึงตองขามที่ปากน้ําทางทิศใต เพราะเหตุนั้น ทานจึงกลาววา ปสฺสนฺตุ ต ฯ เป ฯ ตรนฺต ดังนี้เปนตน พระเถระพยายาม ออนวอนพระผูมีพระภาคเจา เพื่อการเสด็จไปยังกรุงกบิลพัสดุวา ชาว สากิยะและโกลิยะชนบท จะเห็นพระผูมีพระภาคเจา เมื่อลวงถึงปากแมน้ํา โรหิณีทางทิศใต

บัดนี้ พระเถระเมื่อจะประกาศความปรารถนาของตนดวยขออุปมา จึงกลาวคาถาวา อาสายกสเต ดังนี้เปนตน

บทวา อาสาย กสเต เขตฺต ความวา ชาวนา เมื่อจะไถนา ก็ ไถนาดวยความหวังผล

บทวา พีช อาสายวปฺปติ ความวา ก็ครั้นไถแลว เมื่อจะหวาน พืช ก็หวาน คือหยอดพืชดวยความหวังผล

 
  ความคิดเห็นที่ 10  
 
chatchai.k
วันที่ 25 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกายเถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 331

บทวาอาสายวาณิชา ยนฺติ ความวา พวกพอคาผูแสวงหาทรัพย ยอมแลนเรือไปสูมหาสมุทร เพื่อขามมหาสมุทร คือเพื่อเขาไปยังประเทศ หนึ่ง ดวยความหวังทรัพย.

บทวายาย อาสาย ติฏามิ ความวา พระเถระกราบทูลวา ขาแต พระผูมีพระภาคเจา แมขาพระองคกอยูในที่นี้ดวยความหวัง คือความ ปรารถนาผลอันใด คือดวยความตองการจะใหพระองคเสด็จไปกรุงกบิลพัสดุ, ขอความหวังขอนั้นของขาพระองคจงสําเร็จเถิด. พระองคควร เสด็จไปยังกรุงกบิลพัสดุไดแลว ดังนี้ ก็ในขอนี้ พระเถระกลาวถึงความ พอใจคือความเปนผูใครเพื่อจะทําวา อาสา เพราะเปนเชนกับความหวัง. พระเถระเพื่อจะแสดงถึงเหตุแหงการออนวอนตั้งหลายครั้ง โดยมี การพรรณนาถึงหนทางที่จะเสด็จไปเปนตน จึงกลาวคําวา ปุนปฺปุน ดังนี้ เปนอาทิ

ความแหงบาทคาถานั้นวา :- เมื่อหวานพืชดวยเพียงการหวานครั้ง เดียวยังไมสมบูรณ พวกชาวนา ยอมหวานพืชบอย ๆ คือหวานซ้ําเปน ครั้งที่ ๒ ที่ ๓ อีก แมเทพเจาผูเปนเจาแหงฝนไมตกครั้งเดียวเทานั้น แตตกบอย ๆ คือตกตามฤดูกาลที่สมควร ถึงพวกชาวนา ก็มิใชไถนา เพียงครั้งเดียวเทานั้น แตไถนาบอยๆ เพื่อทําดินใหรวน หรือทําโคลนให เปนเทือก อันจะมีประโยชนทําใหขาวกลาสมบูรณ แวนแควนยอมเขาถึง คือเขาถึงความสมบูรณดวยธัญญาหาร มีขาวสาลีเปนตนบอย ๆ ที่พวก มนุษยนอมนําเขาไป ดวยอํานาจการเก็บไวในยุงฉางเปนตน เพราะทําการ สงเคราะหธัญชาติครั้งเดียวเทานั้น ไมยินดีวา เทานี้ก็เพียงพอละ แมพวกยาจกเที่ยวไป คือเขาไปขอยังสกุลทั้งหลายบอย ๆ มิใชขอ

 
  ความคิดเห็นที่ 11  
 
chatchai.k
วันที่ 25 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกายเถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 332

เพียงครั้งเดียวเทานั้นฝายพวกทานบดี ที่ถูกพวกยาจกเหลานั้นขอแลว ก็ใหบอย ๆ มิใชใหเพียงครั้งเดียวเทานั้น.

ก็พวกทานบดี ครั้นใหไทยธรรมบอย ๆ อยางนั้นแลว คือสั่งสม บุญที่สําเร็จดวยทานไวแลว ยอมเขาถึงสวรรคบอย ๆ คือไป ๆ มา ๆ ไดแก ยอมเขาไปถึงเทวโลก ดวยอํานาจการถือปฏิสนธิ อธิบายวา เพราะฉะนั้น แมขาพระองค ก็จะออนวอนบอย ๆ ขาแตพระผูมีพระภาคเจา ขอพระองคจงยังมโนรถของขาพระองคใหถึงที่สุดเถิด

บัดนี้ พระเถระออนวอนพระศาสดา จะใหเสด็จไปยังกรุงกบิลพัสดุเพื่อประโยชนใด เพื่อจะแสดงซึ่งประโยชนนั้น จึงกลาวคาถาวา วีโร หเว ดังนี้เปนตน

ความแหงบาทคาถานั้นวา :- บุรุษผูมีความเพียร มีความอาจหาญ มีปญญากวางขวาง คือมีปญญามากเกิด คือเกิดในสกุลใด ยอมชําระตน ในสกุลนั้นตลอด ๗ ชั่วคนคือคูแหงบุรุษ ๗ จนถึงปตามหยุคะที่๗ ให บริสุทธิ์สะอาดดวยสัมมาปฏิบัติ โดยสวนเดียว เพราะเหตุนั้น จะปวย กลาวไปไยถึงวาทะของชาวโลก ที่เปนคําติเตียน จักมีในชนเหลาอื่นเลา

ขาพระองคยอมเขาใจวา ก็พระผูมีพระภาคเจา พระองคเปน เทพเจาผูประเสริฐ เพราะพระองคเปนเทพเจาผูสูงสุดกวาเทพเจาทั้งปวง ยอมทรงอาจสามารถเพื่อทําสกุลแมที่นอกเหนือไปกวานั้นใหบริสุทธิ์ได ดวยการหามเสียจากความชั่ว และดวยการใหดํารงอยูในความดี

เพราะเหตุไร ? เพราะพระองคเกิดแลวโดยอริยชาติ ไดสัจนามวา เปนนักปราชญ อธิบายวา เพราะความที่พระองคผูพระศาสดาเกิดแลว โดยอริยชาติ เปนนักปราชญ พระองคเปนผูรู จึงไดพระนามตามความ

 
  ความคิดเห็นที่ 12  
 
chatchai.k
วันที่ 25 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกายเถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 333

จริงวา มุนี เพราะอรรถวา รูประโยชนสวนพระองค และประโยชน สวนสังคม และเพราะอรรถวา รูซึ่งโลกนี้และโลกหนา. อีกอยางหนึ่ง ผูมีความรู ชื่อวา มุนิ พระองคมีพระนามตามความเปนจริงวา สมณะ บรรพชิต ฤาษี ดังนี้ ฉะนั้น ขาแตพระผูมีพระภาคเจา เพราะเหตุแหง การไดเฉพาะซึ่งประโยชนโดยสวนเดียว แกปวงสัตว ขาพระองคจึงทูล ออนวอนพระองค เพื่อการเสด็จไปในกรุงกบิลพัสดุนั้น

บัดนี้ เมื่อพระเถระกลาววา สตฺตยุค ดังนี้แลว เพื่อจะแสดงยุคะ แหงบิดา จึงกลาวคําวา สุทฺโธทโน นาม ดังนี้เปนตน ชื่อวา สุทฺโธทโน เพราะอรรถวา ผูมีขาวบริสุทธิ์เปนชีวิต. จริงอยู พระพุทธบิดา ผูมีกาย สมาจาร วจีสมาจาร และมโนสมาจาร อันบริสุทธิ์พิเศษ โดยสวนเดียว จึงเปนผูมีอาชีพอันบริสุทธิ์ดี เพราะพระองคเปนผูเพียบพรอมดวยอภินิหาร อยางนั้น

บทวา มายนามา ไดแก ไดนามวา มายา เพราะพระองคมีพระคุณ ที่หมูญาติและมิตรเปนตน จะพึงกลาววา อยาไปเลย ดังนี้ เหตุสมบูรณ ดวยคุณ มีสกุล รูปราง ศีล และมารยาท เปนตน

บทวา ปริหริยา แปลวา ประคับประคอง

บทวา กายสฺส เภทา ไดแก เบื้องหนาแตกายของตนลวงลับไป ก็เปนเชนกับเจดียของชาวโลกพรอมทั้งเทวโลก

บทวา ติทิวมฺหิ ไดแก ในดุสิตเทวโลก

บทวา สา โยค มายาเทวี แปลวา สมเด็จพระนางเจามายาเทวีนั้น

บทวา โคตมี ความวา พระเถระ ระบุถึงพระนางเจา โดย พระโคตร

 
  ความคิดเห็นที่ 13  
 
chatchai.k
วันที่ 25 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกายเถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 334

บทวา ทิพฺเพหิ กาเมหิ ไดแก ดวยวัตถุกามอันเปนทิพย ที่นับ เนื่องดวยภพชั้นดุสิต

บทวา สมงฺคิภูตา แปลวา ประกอบพรอมแลว.

บทวา กามคุเณหิ ไดแก ดวยสวนแหงกามคุณทั้งหลาย ก็ครั้น กลาววา กาเมหิ ดังนี้แลว จึงแสดงวา ยอมบํารุงบําเรอดวยวัตถุกาม อันมีสวนมากมาย ดวยคําวา กามคุเณหิ ดังนี้.

บทวา เตหิ ความวาบังเกิดแลวในหมูเทพชั้นใด อันหมูเทพ ชั้นดุสิตเหลานั้น หอมลอมหรือบันเทิงอยูดวยกามคุณเหลานั้น ก็คําวา สมงฺคิภูตา ปริวาริตา นี้ ทานแสดงเปนอิตถีลิงค ที่หมายถึงอัตภาพใน กาลกอนซึ่งสําเร็จเปนหญิง หรือหมายถึงความเปนเทวดา สวนการอุปบัติ ของเทพเกิดโดยความเปนบุรุษเทานั้น

พระผูมีพระภาคเจา ถูกพระเถระออนวอนแลวอยางนั้น ทรงเห็นวา ประชาชนเปนอันมากจะไดบรรลุคุณวิเศษ ในเพราะการเสด็จไปในกรุง กบิลพัสดุนั้น จึงมีพระขีณาสพ ๒๐,๐๐๐ รูปแวดลอมแลว เสด็จดําเนิน ไปยังหนทางที่จะไปยังกรุงกบิลพัสดุ โดยการเสด็จออกจากกรุงราชคฤห ไมรีบดวนนัก พระเถระเขาไปยังกรุงกบิลพัสดุดวยฤทธิ์ ยืนทามกลาง อากาศ ขางหนาพระราชา พระราชาทรงเห็นเพศที่ไมเคยเห็นมากอน จึง ตรัสถามวา ทานเปนใคร เมื่อจะแสดงวา ถาพระองคจําอาตมภาพผูเปน บุตรอํามาตยที่พระองคสงไปเฝาพระผูมีพระภาคเจาไมไดไซร ขอพระองค จงทรงรูอยางนี้เถิด ดังนี้ จึงกลาวคาถาสุดทายวา

อาตมภาพ เปนบุตรของพระพุทธเจา ผูไมมีสิ่งใด ย่ํายีได มีพระรัศมีแผซานจากพระกาย ไมมีผูเปรียบปาน

 
  ความคิดเห็นที่ 14  
 
chatchai.k
วันที่ 25 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกายเถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 335

ผูคงที่ ดูกอนมหาบพิตร พระองคเปนพระบิดาของพระพุทธเจา ผูเปนพระบิดาแหงอาตมภาพ ดูกอนมหาบพิตร พระองคเปนพระอัยกาของอาตมภาพโดยธรรม

บรรดาบทเหลานั้น บทวา พุทฺธสฺส ปุตฺโตมฺหิ ความวา อาตมภาพ เปนบุตรผูเปนโอรส ของพระสัพพัญูพุทธเจา เพราะเกิดในอก.

บทวา อสยฺหสาหิโน ความวา ชื่อวาไมมีใครจะย่ํายีได เพราะคน เหลาอื่น ไมอาจเพื่อจะอดกลั้นนําไปซึ่งพระมหาโพธิสัตว เวนไวแตใน กาลกอนแตการตรัสรู คือเพราะการอดกลั้น การนําไปซึ่งโพธิสมภาร และบุญญาธิการที่เปนสวนพระมหากรุณาทั้งสิ้น ใคร ๆ ย่ํายีไมได แมที่ ยิ่งไปกวานั้น เพราะขมครอบงํามาร ๕ ที่ใคร ๆ ไมอาจจะครอบงําได เด็ดขาด เพราะคนเหลาอื่นไมสามารถจะขมครอบงําได และเพราะอดทน ตอพุทธกิจ ที่คนเหลาอื่นอดทนไมได กลาวคือคําพร่ําสอน ดวยทิฏฐธรรมิกัตถประโยชน สัมปรายิกัตถประโยชน และปรมัตถประโยชน แก เวไนยสัตวผูสมควร ดวยการหยั่งรูถึงการจําแนกสัตวตาง ๆ ตามอาสยะ อนุสัย จริต และอธิมุตติ เปนตน อีกอยางหนึ่ง ชื่อวา อสัยหสาหิโน เพราะความที่พระองคทรงบําเพ็ญคุณงามความดีในขอนั้นไว

บทวา องฺคีรสสฺส ไดแก เปนผูสมบูรณดวยพระคุณมีศีลที่พระองค ทรงบําเพ็ญมาแลวเปนตน อาจารยพวกอื่นกลาววา มีพระรัศมีแผซาน ออกจากพระวรกายทุกสวน ดังนี้ สวนอาจารยบางพวกกลาววา ชื่อ ๒ ชื่อ คือ พระอังคีรส และพระสิทธัตถะ นี้ พระพุทธบิดาเทานั้น ทรงขนานพระนามถวาย

 
  ความคิดเห็นที่ 15  
 
chatchai.k
วันที่ 25 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกายเถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 336

บทวา อปฺปฏิมสฺส ไดแกไมมีผูเปรียบเสมอ ชื่อวา ตาทิโน เพราะสมบูรณดวยพระลักษณะที่คงที่ ในอิฏฐารมณ และอนิฏฐารมณ.

บทวา ปตุปตา มยฺห ตุว สิ ความวา โดยโลกโวหาร พระองค เปนพระบิดาของพระสัมมาสัมพุทธเจา ผูเปนพระบิดาของอาตมภาพ โดย อริยชาติ

พระเถระเรียกพระราชาโดยชาติวา สกฺก

บทวา ธมฺเมน ไดแก โดยสภาวะ คือ อริยชาติ และโลกิยชาติ พระเถระเรียกพระราชาโดยพระโคตรวา โคตม

บทวา อยฺยโกสิ ความวา พระองคเปนพระบิดาใหญ (ปู). ก็ ในคาถานี้ พระเถระเมื่อจะกลาวคําเริ่มตนวา พุทฺธสฺส ปุตฺโตมฺหิ ดังนี้ จึงไดพยากรณความเปนพระอรหัตไว.

ก็พระเถระครั้นแสดงตนใหพระราชาทรงรูจักอยางนั้นแลว ไดรับ การนิมนตจากพระราชาผูทรงเบิกบานสําราญพระทัย ใหนั่งบนบัลลังกอัน มีคามากแลว พระราชาก็ทรงบรรจุโภชนะมีรสเลิศตาง ๆ ที่เขาจัดแจงไว เพื่อพระองค ถวายแลว จึงแสดงอาการจะไป. ก็เมื่อพระราชาตรัสถามวา เพราะเหตุไร ทานจึงประสงคจะไปเสียเลา จงฉันกอนเถอะ พระเถระ จึงตอบวา อาตมภาพจักไปเฝาพระศาสดาแลว จึงจักฉัน พระราชาตรัส ถามวา ก็พระศาสดาประทับอยูที่ไหน พระเถระตอบวา พระศาสดามี ภิกษุจํานวนประมาณ ๒๐,๐๐๐ รูป กําลังเสด็จดําเนินมาตามหนทาง เพื่อเฝาพระองคแลว พระราชาตรัสวา นิมนตทานฉันบิณฑบาตนี้เสียกอน ที่บุตรของเราจะมาถึงพระนครนี้ แลวถึงคอยนําบิณฑบาตจากที่จนไปเพื่อ บุตรของเราตอนหลัง

 
  ความคิดเห็นที่ 16  
 
chatchai.k
วันที่ 25 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกายเถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 337

พระเถระ กระทําภัตกิจเสร็จแลว บอกธรรมถวายแดพระราชา และบริษัท กอนหนาพระศาสดาเสด็จมานั่นเทียว ก็ทําคนในพระราช นิเวสนทั้งหมดใหเลื่อมใสในพระรัตนตรัย เมื่อคนทั้งหมดกําลังเห็นอยู นั่นแหละ ก็ปลอยบาตรที่เต็มดวยภัตร อันคนนํามาเพื่อถวายพระศาสดา ในทามกลางอากาศ แมตนเองก็เหาะขึ้นสูเวหาแลว นอมเอาบิณฑบาต เขาไปวางบนพระหัตถ ถวายพระศาสดา. พระศาสดาทรงเสวยบิณฑบาต นั้นเสร็จแลว เมื่อพระเถระเดินทางวันละ ๑ โยชน สิ้นหนทาง ๑๐๐ โยชน อยางนี้ นําเอาภัตตาหารจากกรุงราชคฤหมาถวายแดพระศาสดา

ลําดับนั้น พระผูมีพระภาคเจา ทรงตั้งเธอไวในตําแหนงที่เลิศกวา ภิกษุทั้งหลาย ผูทําสกุลใหเลื่อมใสวา เธอทําตนในพระราชนิเวศนทั้งหมด ของพระมหาราชเจาผูพระบิดาของเรา ใหเลื่อมใสได ดังนี้แล

จบอรรถกถากาฬุทายีเถรคาถา

 
  ความคิดเห็นที่ 17  
 
chatchai.k
วันที่ 25 พ.ค. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ