คันธารชาดก และ อรรถกถาคันธารชาดกที่ ๑
[เล่มที่ 59] พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 319
๒. คันธารวรรค
๑. คันธารชาดก
วาดวยพูดคํามีประโยชนเขาโกรธไมควรกลาว
[๑๐๔๓] ทานทิ้งหมูบานที่บริบูรณ ๑๖,๐๐๐ หมู และคลังที่เดิมดวยทรัพยมาแลว บัดนี้ยังจะทําการสะสมอยูอีก.
[๑๐๔๔] ทานละทิ้งที่อยูคือ คันธารรัฐ หนีจากการปกครองในราชธานีที่มีทรัพยพอเพียงแลว บัดนี้ยังจะปกครองในที่นี้อีก.
[๑๐๔๕] ดูกอนทานวิเทหะ เรากลาวธรรมะ ความจริง เราไมชอบธรรมความไมจริง เมื่อเรากลาวคําเปนธรรมอยู บาปก็ไมเปรอะเปอน เรา.
[๑๐๔๖] คนอื่นไดรับความแคนเคือง เพราะคําพูดอยางใดอยางหนึ่ง ถึงแมวาคําพูดนั้นจะมีประโยชนมาก บัณฑิตก็ไมควรพูด.
[๑๐๔๗] ผูถูกตักเตือนจะแคนเคืองหรือไมแคนเคืองก็ตามเถิด จะเขี่ยทิ้งเหมือนโปรยแกลบทิ้งก็ตาม เมื่อเขากลาวคําเปนธรรมอยู ขึ้นชื่อวาบาปยอมไมเปรอะเปอน.
[๑๐๔๘] ถาสัตวเหลานั้น ไมมีปญญาของตนเอง หรือวินัยที่ศึกษาดีแลวไซร คนจํานวนมากก็จะเที่ยวไปเหมือนกระบือตาบอดเที่ยวไปในปา
[๑๐๔๙] แตเพราะเหตุที่ธีรชนบางเหลาศึกษาดี แลว ในสํานักอาจารย ฉะนั้นธีรชนผูมีวินัย ที่ไดแนะนําแลว จึงมีจิตตั้งมั่นเที่ยวไปอยู.
จบ คันธารชาดกที่ ๑
[เล่มที่ 59] พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 320
อรรถกถาคันธารวรรคที่ ๒
อรรถกถาคันธารชาดกที่ ๑
พระศาสดาเมื่อประทับอยู ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภ เภสัชชสันนิธิการสิกขาบท สิกขาบท วาดวยการทําการสะสมเภสัชแลว จึงตรัสเรื่องนี้ มีคําเริ่มตนวา หิตฺวา คามสหสฺสานิ ดังนี้ ก็เรื่องเกิดขึ้นแลวที่กรุงราชคฤห ความพิสดารวา
เมื่อทาน ปลินทวัจฉะไปพระราชวังเพื่อปลอยคนตระกูลผูรักษาอาราม แลวสรางปราสาททองถวายพระราชาดวยกําลังฤทธิ์ คนทั้งหลายเลื่อมใส พากัน
พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 321
สงเภสัชทั้ง ๕ ไปถวายพระเถระ. ทานแจกจายเภสัชเหลานั้นแดบริษัท แตบริษัทของทานมีมาก พวกเขาเก็บของที่ไดๆ มาไวเต็มกระถางบาง หมอบาง ถลกบาตรบาง. คนทั้งหลายเห็นเขาพากันยกโทษวา สมณะ เหลานี้มักมาก เปนผูรักษาคลังภายใน. พระศาสดาทรงสดับความเปนไปนั้นแลว จึงทรงบัญญัติสิกขาบทวา ก็แลเภสัชที่เปนของควรลิ้มของภิกษุผูเปนไขเหลานั้นใดดังนี้เปนตน ตรัสวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บัณฑิตสมัยกอน เมื่อพระพุทธเจายังไมเสด็จอุบัติ บวชเปนนักบวชใน ลัทธิภายนอกแมรักษาเพียงศีล ๕ ก็ไมเก็บกอนเกลือไวเพื่อประโยชนในวันรุงขึ้น สวนเธอทั้งหลายบวชในศาสนา ที่นําออกจากทุกขเห็น ปานนี้ เมื่อพากันทําการสะสมอาหารไว เพื่อประโยชนแกวันที่ ๒ วันที่ ๓ ชื่อวาทําสิ่งที่ไมสมควร แลวทรงนําเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังตอไปนี้ :-
ในอดีตกาล พระโพธิสัตวทรงเปนโอรสของพระเจาคันธาระ ในคันธารรัฐ เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ โดยพระราชบิดาทิวงคตแลว ทรงครองราชยโดยธรรม. แมในมัชฌิมประเทศ พระเจาวิเทหะก็ทรงครองราชยในวิเทหรัฐ. พระราชาทั้ง ๒ พระองคนั้น ทรงเปนพระสหายที่ไมเคยเห็นกัน แตก็ทรงมีความคุนเคยกันอยางมั่นคง. คนสมัยนั้นมีอายุยืนดํารงชีวิตอยูไดถึง ๓ แสนปี ดังนั้น ในวันอุโบสถกลางเดือน พระจาคันธาระก็ทรงสมาทานศีลเปนครั้งคราว แลวเสด็จไปประทับบน พระบวรบัลลังกภายในชั้นที่โอโถง ทรงตรวจดูโลกธาตุดานทิศตะวันออก
พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 322
ทางสีหปญชรที่เปดไว ตรัสถอยคําที่ประกอบดวยธรรมแกเหลาอํามาตย ขณะนั้นพระราหูไดบดบังดวงจันทรเต็มดวง เหมือนกระโดดโลดเตนไปในทองฟา. แสงจันทรอันตรธานหายไป. อํามาตยทั้งหลายไมเห็นแสงพระจันทร จึงทูลพระราชาถึงภาวะที่ดวงจันทรถูกราหูยึดไว พระราชาทรงทอดพระเนตรพระจันทร ทรงพระดําริวา พระจันทรนี้ เศราหมองอับแสงไปเพราะสิ่งเศราหมองที่จรมา. แมขาราชบริพารนี้ก็เปนเครื่องเศราหมองสําหรับเราเหมือนกัน แตการที่เราจะเปนผูหมดสงา ราศรีเหมือนดวงจันทรที่ถูกราหูยึดไวนั้น ไมสมควรแกเราเลย.
เราจักละ ราชสมบัติออกบวช เหมือนดวงพระจันทรสัญจรไปในทองฟาที่บริสุทธิ์ ฉะนั้น. จะมีประโยชนอะไรดวยผูอื่นที่เราตักเตือนแลว เราจักเปนเสมือนผูไมของอยูดวยตระกูลและหมูคณะ ตักเตือนตัวเองเทานั้นเที่ยวไป นี้เปนสิ่งที่เหมาะสําหรับเรา แลวทรงมอบราชสมบัติใหแกเหลาอํามาตย ดวยพระดํารัสวา ทานทั้งหลายจงพากันแตงตั้งผูที่ทานทั้งหลายตองประสงคใหเปนพระราชาเถิด. พระราชาในคันธารรัฐนั้นทรงสละราชสมบัติเสด็จออกทรงผนวชเปนฤๅษี ยังฌานและอภิญญาใหเกิดขึ้นแลว ทรงเอิบอิ่มดวยความยินดีในฌาน สําเร็จการอยูในทองถิ่นดินแดนหิมพานต. ฝายพระเจาวิเทหะตรัสถามพวกพอคาทั้งหลายวา พระราชา พระสหายของเราสบายดีหรือ? ทรงทราบวาพระองคเสด็จออกทรงผนวชแลวทรงดําริวา เมื่อสหายของเราทรงผนวชแลว เราจักทําอยางไร กับราชสมบัติ แลวจึงทรงสละราชสมบัติในมิถิลนครกวางยาว ๗ โยชน
พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 323
คลังที่เต็มเพียบอยูในหมูบาน ๑๖,๐๐๐ หมูบาน ในวิเทหรัฐประมาณ ๓๐๐ โยชนและหญิงฟอน ๑๖,๐๐๐ นางไมทรงคํานึงถึงพระราชโอรส และพระราชธิดา เสด็จสูทองถิ่นดินแดนหิมพานตทรงผนวชแลว เสวยผลไมตามที่มี ประทับอยูไมเปนประจําเที่ยวสัญจรไป. ทั้ง ๒ ทานนั้น ประพฤติพรตและอาจาระสม่ําเสมอ ภายหลังไดมาพบกันแตก็ไมรูจักกัน ชื่นชมกันประพฤติพรตและอาจาระสม่ําเสมอกัน
ครั้งนั้นวิเทหะดาบส ทําการอุปฏฐากทานคันธารดาบส ในวันเพ็ญวันหนึ่ง เมื่อทานทั้ง ๒ นั้น นั่งกลาวกถาที่ประกอบดวยธรรมกัน ณ ควงไมตนใดตนหนึ่ง พระราหูบดบังดวงจันทร ที่ลอยเดนอยูทองฟา. ทานวิเทหดาบสคิดวา แสงพระจันทรหายไปเพราะอะไรหนอจึงมองดูเห็นพระจันทรถูกราหูยึด ไว จึงเรียนถามวา ขาแตทานอาจารยอะไรหนอนั้น ไดบดบังพระจันทรทําใหหมดรัศมี. ทานคันธารดาบสตอบวา ดูกอนอันเตวาสิก นี้ชื่อวา ราหูเปนเครื่องเศราหมองอยางหนึ่งของพระจันทร ไมใหพระจันทรสองแสงสวาง แมเราเห็นดวงจันทรถูกราหูบังแลว คิดวา ดวงจันทรที่บริสุทธิ์นี้ ก็กลายเปนหมดแสงไป เพราะเครื่องเศราหมองที่จรมา ราชสมบัตินี้ก็เปนเครื่องเศราหมองแมสําหรับเรา เราจักบวชอยูจนกระทั้งราชสมบัติจะไมทําใหเราอับแสง เหมือนราหูบังดวงจันทร แลวทําดวงจันทรที่ถูกราหูบังนั่นเองใหเปนอารมณ ทอดทิ้งราชสมบัติใหญหลวง บวชแลว
พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 324
วิเทหดาบสถามวา ขาแตทานอาจารย ทานเปนพระเจาคันธาระ หรือคันธารดาบส ถูกแลวผมเปนพระเจาคันธาระ.
วิ. ขาแตทานอาจารย กระผมเองก็ชื่อวาพระเจาวิเทหะ ในมิถิลนครในวิเทหรัฐ พวกเราเปนสหายที่ยังไมเคยเห็นกันมิใชหรือ
คัน. ก็ทานมีอะไรเปนอารมณ จึงออกบวช
วิ. กระผมไดทราบวาทานบวชแลว คิดวา ทานคงไดเห็นคุณมหันตของการบวชแนนอน จึงทําทานนั่นแหละใหเปนอารมณ แลวสละราชสมบัติออกบวช.
ตั้งแตนั้นมาดาบสทั้ง ๒ นั้น สมัครสมานกันชื่นชมกันเหลือเกิน เปนผูมีผลไมเทาที่หาไดเปนโภชนาหาร ทองเที่ยวไป. ก็แหละ ทั้ง ๒ ทานอยูดวยกัน ณ ที่นั้นมาเปนเวลานาน จึงพากันลงมาจากปาหิมพานต เพื่อตองการลิ้มรสเค็มรสเปรี้ยว ลุถึงชายแดนตําบลหนึ่ง คนที่ทําลายเลื่อมใสในอิริยาบถของทาน ถวายภิกษารับปฏิญญาแลว พากันสรางที่พักกลางคืนเปนตนใหทานอยูในปา แมในระหวางทางก็พากันสรางบรรณศาลาไวในที่ๆ มีน้ําสะดวกเพื่อตองการใหทานทําภัตกิจ ทานพากันเที่ยวภิกขาจารที่บานชายแดนนั้นแลว นั่งฉันที่บรรณศาลา หลังนั้นแลว จึงไปที่อยูของตน. คนแมเหลานั้นเมื่อถวายอาหารทาน บางครั้งก็ถวายเกลือใสลงในบาตร บางคราวก็หอใบตองถวาย บางคราวก็ถวายอาหารที่มีรสไมเค็มเลย. วันหนึ่งพวกเขาไดถวายเกลือ
พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 325
จํานวนมาก ในหอใบตองแกทานเหลานั้น. วิเทหดาบสถือเอาเกลือไปดวย เวลาภัตกิจของพระโพธิสัตวก็ถวายจนพอ ฝายตนเองก็หยิบเอาประมาณพอควร ที่เกินตองการก็หอใบตองแลวเก็บไวที่ตนหญา ดวย คิดวา จักใชในวันที่ไมมีเกลือ อยูมาวันหนึ่งเมื่อไดอาหารจืด ทานวิเทหดาบสถวายภาชนะภิกษาแกทานคันธาระแลวนําเกลือออกมาจากระหวางตนหญาแลวกลาววา ขาแตทานอาจารย นิมนตทานรับเกลือ.
คันธารดาบสถามวา วันนี้คนทั้งหลายไมไดถวายเกลือ ทานไดมาจาก ไหน?
วิ. ขาแตทานอาจารยในวันกอนคนทั้งหลายไดถวายเกลือมาก กระผมจึงเก็บเกลือที่เกินความตองการไวดวยตั้งใจวา จักใชในวันที่ อาหารมีรสจืด.
พระโพธิสัตวจึงตอวาวิเทหดาบสวา โมฆบุรุษเอย ทานละทิ้ง วิเทหรัฐประมาณ ๓ รอยโยชนมาแลว ถึงความไมมีกังวลอะไร บัดนี้ ยังเกิดความทะยานอยากในกอนเกลืออีกหรือ เมื่อจะตักเตือนทาน จึง ไดกลาวคาถาที่ ๑ วา :-
ทานละทิ้งหมูบานที่บริบูรณ ๑๖,๐๐๐ หมู และคลังที่เต็มดวยทรัพยมาแลว บัดนี้ยังจะทํา การสะสมอยูอีก.
พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 326
บรรดาบทเหลานั้น บทวา โกฏาคารานิ ไดแก คลังทองคลัง เงินคลังแกวมีแกวมณีและแกวมุกดาเปนตน ทั้งคลังผาและคลังขาว เปลือก.
บทวา ผีตานิ ความวา เต็มแลว.
บทวา สนฺนิธินฺทานิ กุพฺพสิ ความวา บัดนี้ ทานยังจะทําการสะสมเพียงเกลือ ดวยคิดวา จักใชพรุงนี้ จักใชวันที่ ๓
วิเทหดาบส ถูกตําหนิอยูอยางนี้ ทนคําตําหนิไมได กลายเปนปฏิปกษไป เมื่อจะแยงวา ขาแตทานอาจารย ทานไมเห็นโทษของตัวเอง เห็นแตโทษของผมอยางเดียว ทานดําริวา เราจะประโยชนอะไร ดวยคนอื่นที่ตักเตือนเรา เราจักเตือนตัวเราเอง ทอดทิ้งราชสมบัติออกบวชแลว แตวันนี้เหตุไฉนทานจึงตักเตือนผม จึงไดกลาวคาถาที่ ๒ วา:-
ทานละทิ้งอยูคือคันธารรัฐ หนีจากการปกครอง ในราชธานีที่มีทรัพยพอเพียงแลว บัดนี้ ยังจะปกครองในที่นี้อีก.
บรรดาบทเหลานั้น บทวา ปสาสนิโต ความวา จากการตักเตือนและการพร่ําสอน.
บทวา อิธ ทานิ ความวา เหตุไฉน บัดนี้ ทานจึงตักเตือนในที่นี้ คือในปาอีก.
พระโพธิสัตวไดฟงคํานั้นแลว ไดกลาวคาถาที่ ๓ วา :-
ดูกอนทาน วิเทหะ เรากลาวธรรมความจริง เราไมชอบอธรรมความไมจริง เมื่อ
พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 327
เรากลาวคําเปนธรรมอยู บาปก็ไมเปรอะเปอน เรา.
บรรดาบทเหลานั้น บทวา ธมฺม ไดแก สภาวะความเปนเอง คือเหตุที่บัณฑิตทั้งหลายมีพระพุทธเจาเปนตน ทรงพรรณนาสรรเสริญ แลว.
บทวา อธมฺโม เม น รุจฺจติ ความวา ธรรมดาอธรรมไมใช สภาวะความเปนเอง เราก็ไมชอบใจแตไหนแตไรมา
บทวา น ปาปมุปลิมฺปติ ความวาเมื่อเรากลาวสภาวะนั่นเองหรือเหตุนั่นแหละอยู ขึ้นชื่อวาบาปจะไมติดอยูในใจ. ธรรมดาการใหโอวาทนี้เปนประเพณี ของพระพุทธเจา พระปกเจกพุทธเจาและพระสาวกและโพธิสัตวทั้งหลาย. ถึงคนพาลจะไมรับเอาโอวาทที่ทานเหลานั้นใหแลว แตผูให โอวาทก็ไมมีบาปเลย. เมื่อจะแสดงอีกจึงกลาวคาถาวา :-
ผูมีปญญา คนใดมักชี้โทษมักพูดบําราบ คนควรมองใหเหมือนผูบอกขุมทรัพย ควรคบ บัณฑิตเชนนั้น เพราะวา เมื่อคบบัณฑิตเชนนั้น จะมีแตความดีไมมีความชั่ว คนควรตักเตือน ควรพร่ำสอนและควรหามเขาจากอสัตบุรุษ เพราะและเปนที่รักของเหลาสัตบุรุษ ไมเปนที่รักของเหลาอสัตบุรุษ.
พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 328
วิเทหดาบสฟงถอยคําของพระโพธิสัตวนั้นแลว กลาววา ขาแต ทานอาจารย บุคคลแมเมื่อกลาวถอยคําที่อิงประโยชน ก็ไมควรกลาว กระทบเสียดแทงผูอื่น ทานกลาวคําหยาบคายมาก เหมือนโกนผม ดวยมีดโกนไมคม แลวจึงกลาวคาถาที่ ๔ วา :-
คนอื่นไดรับความแคนเคือง เพราะคําพูด อยางใดอยางหนึ่งถึงแมวาคํานั้นจะมีประโยชน มาก บัณฑิตก็ไมควรพูด.
บรรดาบทเหลานั้น บทวา เยนเกนจิ ความวา ดวยเหตุ แม ประกอบดวยธรรม.
บทวา ลภติ รุปฺปน ความวา ไดรับความกระทบ กระทั่ง ความแคนเคืองคือความเดือดดาล.
บทวา นต ภาเสยฺย มี เนื้อความวา เพราะฉะนั้น บุคคลไมควรกลาววาจาที่เปนเหตุให ประทุษรายบุคคลอื่นนั้นที่มีประโยชนมาก คือแมที่อิงอาศัยประโยชน ตั้งมากมาย.
ลําดันนั้น พระโพธิสัตวจึงกลาวคาถาที่ ๕ แกวิเทหดาบสนั้น วา :- ผูถูกตักเตือน จะแคนเคืองหรือไมแคน เคืองก็ตามเถิด หรือจะเขี่ยทิ้งเหมือนโปรย แกลบทิ้งก็ตาม เมื่อเรากลาวคําเปนธรรมอยู ขึ้นชื่อวาบาป ยอมไมเปรอะเปอนเรา.
พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 329
บรรดาบทเหลานั้น บทวา กาม ความวา. โดยสวนเดียว. มี คําอธิบายวา บุคคลผูทํากรรมไมสมควรเมื่อถูกตักเตือนวา ทานทํากรรม ไมควรแลว จะโกรธโดยสวนเดียวก็ตาม หรือไมโกรธก็ตาม. อีกอยางหนึ่งเขาจะเขี่ยทิ้งเหมือนกําแกลบหวานทิ้งก็ตาม แตวาเมื่อเรากลาว คําเปนธรรมอยู ขึ้นชื่อวาบาปยอมไมมี.
ก็แหละพระโพธิสัตว ครั้นกลาวอยางนี้แลว ไดดํารงอยูในขอปฏิบัติที่สมควรแกโอวาทของพระสุคตนี้วา ดูกอนอานนท เราตถาคต จักไมทะนุถนอมเลย เหมือนชางหมอทะนุถนอมภาชนะดินเหนียวที่ ยังดิบๆ ฉะนั้น เราตถาคตจักบําราบเอาบําราบเอา ผูใดหนักแนนเปน สาระ ผูนั้นก็จักดํารงอยูได เมื่อจะตักเตือนวิเทหดาบสอีก เพื่อแสดง ใหเห็นวา ทานตักเตือนบําราบแลว ตักเตือนบําราบอีก จึงรับบุคคล ทั้งหลายผูเชนกับภาชนะดินที่เผาสุกแลวไว เหมือนชางหมอเคาะดูแลว เคาะดูอีก ไมรับเอาภาชนะดินที่ยังดิบไว รับเอาเฉพาะภาชนะดินที่เผา สุกแลวเทานั้นไวฉะนั้นดังนี้แลว จึงไดกลาวคาถา ๒ คาถาไววา :-
ถาสัตวเหลานี้ไมมีปญญาของตนเอง หรือวินัยที่ศึกษาดีแลวไซร คนจํานวนมากก็จะ เที่ยวไป เหมือนกระบือตาบอดเที่ยวไปในปา ฉะนั้น แตเพราะเหตุที่ธีรชนบางเหลาศึกษา
พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 330
แลวในสํานักอาจารยฉะนั้น ธีรชนผูมีวินัยที่ไดแนะนําแลว จึงมีจิตตั้งมั่นเที่ยวไปอยู.
คาถานี้มีเนื้อความวา ดูกอนสหายวิเทหะ เพราะวาถาหากสัตวเหลานี้ ไมมีปญญาหรือไมมีวินัยคืออาจารบัญญัติ ที่ศึกษาดีแลวเพราะ อาศัยเหลาบัณฑิตผูใหโอวาทไซร เมื่อเปนเชนนี้คนเปนอันมาก ก็จะเปนเชนทานเที่ยวไป เหมือนกระบือตาบอด ไมรูที่ๆ เปนที่โคจรหรือ อโคจร มีสิ่งที่นารังเกียจหรือไมมีสิ่งที่นารังเกียจ เที่ยวไปในพงหญา และเถาวัลยเปนตน แตเพราะเหตุที่สัตว บางพวกในโลกนี้ ที่ปราศจากปญญาของตนศึกษาดีแลว ดวยอาจารบัญญัติในสํานักอาจารย เพราะฉะนั้น สัตวเหลานั้นชื่อวามีวินัยที่แนะนําแลว เพราะตนเปนผูที่อาจารยแนะนําแลว ดวยวินัยที่เหมาะสม คือเปนผูมีจิตตั้งมั่นแลว ไดแกเปนผูมีจิตเปนสมาธิเที่ยวไปดังนี้. ดวยคาถานี้ทานคันธารดาบส แสดงคํานี้ไววา จริงอยู คนนี้เปนคฤหัสถ ก็ศึกษาสิกขาที่สมควรแกตระกูลของตน เปนบรรพชิตก็ศึกษาสิกขาที่สมควรแกบรรพชิต อธิบาย วา ฝายคฤหัสถเปนผูศึกษาดีในกสิกรรมและโครักขกรรม เปนตน ที่เหมาะสมแกตระกูลของตนแลวเที่ยว ก็จะเปนผูมีความเปนอยูสมบูรณ มีใจมั่นคงเที่ยวไป. สวนบรรพชิต เปนผูศึกษาดีในอาจาระมีการกาวไปขางหนาและการถอยกลับเปนตน และในอธิสีลสิกขา อธิจิตสิกขาและอธิปญญาสิกขาทั้งหลายที่เหมาะสมแกบรรพชิต ที่นาเลื่อมใสแลวก็เปน
พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 331
ผูปราศจากความฟุงซานมีจิตตั้งมั่นเที่ยวไป. เพราะวาในโลกนี้ :- ความเปนพหูสูต ๑ วินัยที่ศึกษาดีแลว ๑ วาจาที่เปนสุภาษิต ๑ สามอยางนี้เปนมงคลอันสูงสุดดังนี้.
วิเทหดาบสไดฟงคํานั้นแลว ไหวขอขมาพระมหาสัตววา ขาแตทานอาจารยตั้งแตบัดนี้เปนตนไป ขอทานจงตักเตือนจงพร่ําสอนเราเถิด เรากลาวกะทานเพราะความเปนผูไมมีความยับยั้งใจโดยกําเนิด ขอทาน จงใหอภัยแกเราเถิด. ทานทั้ง ๒ นั้นอยูสมัครสมานกันแลวไดพากันไปปาหิมพานตอีกนั่นแหละ ณ ที่นั้นพระโพธิสัตวไดบอกกสิณบริกรรมแกวิเทหดาบส. ทานสดับแลวยังอภิญญาและสมาบัติใหเกิดขึ้น. ทั้ง ๒ ทานนั้นเปนผูมีฌานไมเสื่อมแลว ไดเปนผูมีพรหมโลก เปนที่ไปใน เบื้องหนา.
พระศาสดา ครั้นทรงนําพระธรรมเทศนานี้มาแลว ทรงประชุม ชาดกไววา วิเทหราชาในครั้งนั้น ไดแก พระอานนทในบัดนี้ สวน คันธารราชา ไดแกเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาคันธารชาดกที่ ๑