ประวัติพระโกณฑธานเถระ

 
chatchai.k
วันที่  29 พ.ค. 2564
หมายเลข  34311
อ่าน  1,105

[เล่มที่ 32] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 406

อรรถกถาสูตรที่ ๓

ประวัติพระโกณฑธานเถระ

พึงทราบวินิจฉัยในสูตรที่ ๓ (เรื่องพระโกณฑธานะ) ดังตอ ไปนี้.

ดวยบทวา ปฐมสลาก คณฺหนฺตาน พระศาสดาทรงแสดงวา พระโกณฑธานเถระ. เปนยอดของเหลาภิกษุผูจับสลากไดกอน ภิกษุอื่นทั้งหมด

ไดยินมาวา พระเถระนั้นเมื่อพระตถาคตเสด็จไปอุคคนคร ในวันที่นางมหาสุภัททานิมนต เมื่อภิกษุบอกกลาววา วันนี้พระศาสดาจักเสด็จภิกขาจารไกล ภิกษุปุถุชนอยาจับสลาก พระขีณาสพ ๕๐๐ รูปจงจับ, ก็บันลือสีหนาทจับสลากไดที่ ๑ ทีเดียว เมื่อพระตถาคตเสด็จไปเมืองสาเกตในวันที่นางจุลลสุภัททานิมนต ก็จับ สลากไดเปนที่ ๑ เหมือนกัน ในระหวางภิกษุ ๕๐๐ รูป, แมใน คราวเสด็จไปยังชนบทสุนาปรันตปะก็เหมือนกัน ดวยเหตุเหลานี้ พระเถระจึงชื่อวาเปนยอดของเหลาภิกษุผูจับสลากไดที่ ๑ อนึ่ง คําวากุณฑธาน เปนชื่อขอทาน ในปญหากรรมของทานมีเรื่อง ที่จะกลาวตามลําดับดังตอไปนี้ :-

ไดยินวา ครั้งพระปทุมุตตรพุทธเจา พระเถระนี้บังเกิดใน เรือนของครอบครัวกรุงหงสวดี ไปวิหารฟงธรรมโดยนัยดังกลาว แลวนั่นแหละ เห็นพระศาสดาทรงสถาปนาภิกษุรูปหนึ่งไวในตําแหนง


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 29 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 407

เปนยอดของเหลาภิกษุผูจักสลากไดที่ ๑ จึงการทํากุศลกรรมแด พระพุทธเจาปรารถนาตําแหนงนั้น ผูอันพระศาสดาทรงเห็นวาหา อันตรายมิไดจึงพยากรณแลวบําเพ็ญกุศลตลอดชีพ เวียนวายอยูใน เทวดาและมนุษย ครั้งพระกัสสปพุทธเจาก็บังเกิดเปนภุมมเทวดา. ก็ธรรมดาวาพระพุทธเจาผูมีพระชนมายุยืน มิไดทําอุโบสถ ทุกกึ่งเดือน. คือพระวิปสสีทศพลในระหวาง ๖ ป จึงมีอุโบสถ ครั้งหนึ่ง สวนพระกัสสปทศพลทรงใหสวดพระปาฏิโมกขทุก ๆ ๖ เดือน ในวันสวดปาฏิโมกขนั้น ภิกษุ ๒ รูปผูอยูในทิศมาดวย จงใจวา จะกระทําอุโบสถ. ภุมมเทวดานี้คิดวาความมีไมตรีของ ภิกษุ ๒ รูปนี้มั่นคงเหลือเกิน เมื่อมีคนทําใหแตกแยกกัน ทาน จะแตกกันหรือไมแตกกันหนอ จึงคอยหาโอกาสของภิกษุทั้งสองนั้น เดินไปใกลๆ ภิกษุทั้งสองนั้น. ครั้งนั้นพระเถระรูปหนึ่งฝากบาตร และจีวรไวกับพระเถระอีกรูปหนึ่ง ไปยังที่ มีความผาสุกดวยน้ํา เพื่อชําระลางสรีระ ครั้งลางมือลางเทาแลวก็ออกมาจากรมไม ที่ถูกใจ. ภุมมเทวดาแปลงเปนหญิงมีรูปรางงามอยูขางหลังพระเถระ นั้น จึงทําใหเสมือนผมยุงแลวจัดผมเสียใหม ทําเปนปดฝุนขางหลัง แลวจัดผานุงเสียใหม เดินสกดรอยพระเถระออกจากพุมไมมายืนอยู ณ ที่สมควรสวนหนึ่ง, พระเถระผูเปนสหายเห็นเหตุการณนี้จึงเกิด ความโทมนัสคิดวา ความเยื่อใยที่ติดตามกันมาเปนเวลานานกับภิกษุนี้ ของเรามาฉิบหายเสียแลวในบัดนี้ ถาหากเรารูเชนเห็นชาติอยางนี้ เราจะไมทําความคุนเคยกับภิกษุนี้ใหเนิ่นนานถึงเพียงนี้. พอพระเถระ นั้นมาถึงเทานั้นก็พูดวา เชิญเถอะอาวุโส นี่บาตรจีวรของทาน เราไมเดินทางเดียวกันกับสหายเชนทาน. ครั้นไดฟงถอยคํานั้น

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
chatchai.k
วันที่ 29 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 408

หทัยของภิกษุผูมีความละอายนั้น เหมือนกับถูกหอกคมทิ่มแทงเอา แลวฉะนั้น แตนั้นทานจึงกลาวกะพระเถระนั้นวา อาวุโส ทานพูด อะไรอยางนี้ ผมไมรูอาบัติแมเพียงทุกกฏมาตลอดกาลเพียงนี้ ก็ ทานพูดวาขาพเจาเปนคนชั่วในวันนี้ ทานเห็นอะไรหรือ ? พระเถระ นั้นกลาววา จะประโยชนอะไรดวยกรรมอื่นที่เราเห็นแลว ทาน ออกมาอยูในที่เดียวกับผูหญิงที่แตงตัวอยางนี้ ๆ เพราะเหตุไร. พระเถระนั้นจึงตอบวา อาวุโส กรรมนั้นของขาพเจาไมมี, ขาพเจา มิไดเห็นผูหญิงเห็นปานนี้ แมทานจะกลาวอยูถึง ๓ ครั้ง. พระเถระ อีกรูปหนึ่งก็มิไดเชื่อถอยคํา ถือเอาเหตุที่ตนเห็นแลวเทานั้นเปน สําคัญ ไมเดินทางเดียวกับพระเถระนั้น ไปเฝาพระศาสดาโดยทางอื่น. แมภิกษุอีกรูปหนึ่งก็ไปเฝาพระศาสดาโดยทางอื่นเหมือนกัน. แตนั้นเวลาภิกษุสงฆลงอุโบสถ ภิกษุนั้นจําภิกษุนั้นไดใน โรงอุโบสถจึงกลาววา ในโรงอุโบสถนี้มีภิกษุลามกชื่อนี้ เราไม กระทําอุโบสถรวมกับภิกษุนั้น จึงออกไปยืนอยูขางนอก. ภุมมเทวดา คิดวาเราทํากรรมหนักแลว จึงแปลงเปนอุบาสกแกไปหาภิกษุนั้น กลาววา เหตุไรเจากูจึงมายืนอยูในที่นี้. พระเถระกลาววา อุบาสก ก็ภิกษุลามกเขามายังโรงอุโบสถนี้ อาตมาจะไมทําอุโบสถรวมกับ ภิกษุลามกนั้นจึงออกมายืนอยูขางนอก. อุบาสกแกนั้นกลาววา ทานเจาขา อยาถืออยางนั้นเลย ภิกษุนี้เปนผูมีศีลบริสุทธิ์ ผมคือ ผูหญิงที่ทานเห็นนั้น ผมแลเห็นความดีความละอายและความไม ละอายกระทํากรรมแลวดวยคิดวา ความไมตรีของพระเถระนี้มั่นคง หรือไมมั่นคง ก็เพื่อทดลองทานทั้งหลายดู ภิกษุนั้นถามวา สัปบุรุษ

 
  ความคิดเห็นที่ 3  
 
chatchai.k
วันที่ 29 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 409

ก็ทานเปนใคร อุบาสกแกตอบวา ผมเปนภุมมเทวดาเจาคะ. เทวบุตร ทั้งที่ยืนกลาวอยูดวยอานุภาพอันเปนทิพยหมอบลงแทบเทาของ พระเถระกลาววา ขอจงอดโทษนั้นแกขาพเจา พระเถระไมรูเรื่อง โปรดทําอุโบสถเถิด วิงวอนใหพระเถระเขาไปสูโรงอุโบสถแลว พระเถระนั้นกระทําอุโบสถในที่เดียวกันกอน แลวก็อยูในที่เดียวกัน กับพระเถระนั้น ดวยอํานาจแหงการผูกไมตรีอีกดวยแล. กรรม ของพระเถระนี้ทานมิไดกลาวไว สวนภิกษุผูถูกโจทยบําเพ็ญ วิปสสนาตอ ๆ มาไดบรรลุพระอรหัตแลว.

ภุมมเทวดาก็ไมพนภัยในอบายตลอดพุทธันดรหนึ่ง เพราะ ผลของกรรมนั้น แตถามาเกิดเปนมนุษยตามสมควรแตกาล โทษ ที่คนอื่นจะเปนผูใดก็ตามกระทํา ก็ตกอยูแกเขาเทานั้น ทานบังเกิด ในครอบครัวพราหมณในกรุงสาวัตถี ครั้งพระผูมีพระภาคเจาของเรา พวกของทานตั้งชื่อทานวา ธานมาณพ, ธานมาณพนั้นเจริญวัยแลว เรียนไตรเพท ในเวลาแกฟงธรรมของพระศาสดาไดศรัทธาแลว บวช ตั้งแตวันที่ทานบวชแลว หญิงผูแตงตัวคนหนึ่ง เมื่อทานเขา บาน ก็เขาไปกับทานดวย เมื่อออกก็ออกดวย แมเมื่อเขาวิหาร ก็เขาดวย แมเมื่อยืนก็ยืนอยูดวยดังนั้นยอมปรากฏวา ติดพันอยู เปนนิตยอยางนี้ พระเถระก็ไมเห็น แตดวยผลของกรรมเกาของ พระเถระนั้น หญิงนั้นจึงปรากฏแกคนอื่น ๆ หญิงทั้งหลายที่ถวาย ขาวยาคู และภิกษาในบานก็ทําการเยยหยันวา ทานเจาขา ขาวยาคู กระบวยหนึ่งนี้ สําหรับทาน อีกกระบวยหนึ่งนี้ สําหรับเพื่อนหญิง ของทาน พระเถระจึงมีความเดือดรอนรําคาญอยางใหญ สามเณร

 
  ความคิดเห็นที่ 4  
 
chatchai.k
วันที่ 29 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 410

และภิกษุหนุม ตางแวดลอมทาน แมไปวิหารก็ทําการหัวเราะเยาะ วา พระธานะเปนคนชั่ว. (ธาโน โกณฺโฑ ชาโต) ภายหลังทานมีชื่อวา โกณฑธานเถระ เพราะเหตุนั้นนั่นแล พระเถระพยายามแลวพยายามเลา เมื่อไมอาจอดกลั้นความเยยหยัน ที่พวกสามเณรและภิกษุหนุมเหลานั้นกระทําได ก็เกิดความบุมบาม ขึ้นกลาววา อุปชฌายของทานซิชั่ว อาจารยของทานซิชั่ว ครั้งนั้น ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแดพระศาสดาวา พระกุณฑธานะ กลาวหยาบอยางนี้ๆ กับภิกษุหนุมและสามเณรทั้งหลาย พระศาสดาใหเรียกภิกษุนั้นมา ตรัสถามวา "จริงหรือ ภิกษุ" เมื่อทูล วาจริง พระผูมีพระภาคเจาจึงตรัสวา เหตุไรทานจึงกลาวอยางนั้น พระเถระทูลวา พระเจาขา ขาพระองคก็ไมอาจอดกลั้นการเสียดสี อยูเปนประจํา จึงกลาวอยางนั้น

พระศาสดาตรัสวา ตัวทานไมอาจ ใชกรรมที่ทําไวในปางกอนใหหมดไป จนถึงทุกวันนี้ ตอไปนี้ทาน อยากลาวคําหยาบ เห็นปานนั้นนะภิกษุ ดังนี้แลว ตรัสวา มโวจ ผรุส กฺจิ วุตฺตา ปฏิวเทยฺยุ ต ทุกฺขา หิ สารมฺกถา ปฏิทณฺฑา ผุเสยฺยุ ต สเจ น เทสิ อตฺตาน กาส อุปหโต ยถา เอส ปตฺโตสิ นิพฺพาน สารมฺโภเต น วิชฺชตีติ ทานอยากลาวคําหยาบกะใคร ๆ ผูที่ทานกลาวแลว ก็จะโตตอบทาน ดวยวา ถอยคําที่แข็งดีกัน นําทุกขมาให

 
  ความคิดเห็นที่ 5  
 
chatchai.k
วันที่ 29 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 411

ผูทําตอบ ก็พึงประสบทุกขนั้น ทานไมยังตนใหหวั่นไหว ดุจกังสดาล ถูกเลาะขอบอกแลว ทานนั้นก็จะ เปนผูถึงพระนิพพาน ความแข็งดีก็จะ ไมมีแกทาน ดังนี้.

ก็และบุคคลทั้งหลาย กราบทูลความที่พระเถระสนเที่ยวไป กับมาตุคามนี้ แดพระเจาโกศล พระราชาสงอํามาตยไปวา พนาย จงไปสืบสวนดู แมพระองคเองก็เสด็จไปยังที่อยู ของพระเถระนั้น พรอมดวยราชบริพารเปนอันมาก ประทับยืนดูอยู ณ ที่สมควร ขางหนึ่ง ขณะนั้นพระเถระกําลังนั่งเย็บผาอยู หญิงแมนั้น ก็ปรากฏ เหมือนยืนอยูในที่ไมไกลพระเถระนั้น พระราชาเห็นแลวทรงดําริวา มีเหตุนี้หรือจึงเสด็จไปยังที่ๆ หญิงนั้นยืนอยูแลว เมื่อพระราชา มาถึง หญิงนั้นก็เปนเหมือนเขาไปยังบรรณศาลาอันเปนที่อยูของ พระเถระ แมพระราชาก็เสด็จเขาไปบรรณศาลาพรอมกับหญิง นั้นทีเดียว ตรวจดูทุกแหงก็ไมเห็น จึงทําความเขาพระทัยวา นี้มิใช มาตุคาม เปนวิบากกรรมอยางหนึ่งของพระเถระ ที่แรกแมมาถึง ใกลพระเถระ ก็ไมทรงไหวพระเถระ ครั้นทรงทราบวา เหตุนั้น ไมเปนจริง จึงเสด็จมาไหวพระเถระ ประทับนั่ง ณ ที่สมควรสวน หนึ่งตรัสถามวา พระคุณเจา ไมลําบากดวยบิณฑบาตบางหรือ พระเถระทูลวา เปนไปได ขอถวายพระพร พระราชาตรัสวา ทานผูเจริญ โยมรูเรื่องราวของพระคุณเจา เมื่อพระคุณเจาเที่ยว ไปกับสิ่งที่ทําใหเศราหมองเห็นปานนี้ ชื่อวาใครเลาจักเลื่อมใส

 
  ความคิดเห็นที่ 6  
 
chatchai.k
วันที่ 29 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 412

ตั้งแตนี้ไป พระคุณเจาไมจําตองไปในที่ไหน ๆ โยมจักบํารุงดวย ปจจัย ๔ พระคุณเจาอยาประมาทดวยโยนิโสมนสิการะเถิด แลว สงภิกษาไปถวายเปนประจํา พระเถระไดพระราชูปถัมภ เปนผูมี จิตมีอารมณเดียว เพราะมีโภชนะสบาย เจริญวิปสสนาบรรลุ พระอรหัตตผลแลว ตั้งแตนั้นไป หญิงนั้นก็หายไป.

นางมหาสุภัททา อยูในครอบครัวมิจฉาทิฏฐิในอุคคนคร คิดวา พระศาสดาจงทรงอนุเคราะหเราจึงอธิษฐานุโบสถ เปนผู ไมมีกลิ่นคาว อยูปราสาทชั้นบน กระทําสัจจกิริยาวาดอกไมเหลานี้ จงอยาอยูในระหวางทางเสีย จงกางกั้นเปนเพดานในเบื้องบนแหง พระทศพลเถิด ขอพระทศพลจงรับภิกษาของเราพรอมกับภิกษุ ๕๐๐ รูป ดวยสัญญานี้เถิด แลวโยนดอกไม ๘ กําไป ดอกไมก็ไป กางกั้นเปนเพดานอยูเบื้องบนของพระศาสดาในเวลาแสดงธรรม พระศาสดาทอดพระเนตรเห็น เพดานดอกมะลินั้น ทรงรับภิกษา ของนางสุภัททาดวยจิตนั้นแหละ วันรุงขึ้นเมื่ออรุณขึ้น จึงตรัสสั่ง พระอานนทวา อานนท วันนี้เราจะไปภิกษาจาร ณ ที่ไกล จงอยา ใหสลากแกพระปุถุชน จงใหแกพระอริยะเทานั้น พระเถระบอกแก ภิกษุทั้งหลายวา ผูมีอายุ วันนี้พระศาสดาจักเสด็จภิกษาจาร ณ ที่ไกล พระภิกษุปุถุชนจงอยาจับสลาก พระอริยะเทานั้นจงจับ พระโกณฑธานเถระ กลาววาผูมีอายุ จงนําสลากมา แลวเหยียด มือออกไปกอน เมื่อพระอานนทเถระกลาววา ทานพระศาสดาไมให ประทานสลากแกภิกษุเชนทาน สั่งใหประทานเฉพาะภิกษุผูเปน อริยะเทานั้น เกิดความวิตกขึ้นจึงไปกราบทูลพระศาสดา พระศาสดาตรัสวา เธอจงไปใหสลากแกภิกษุผูบอกใหนําสลากมาเถิด

 
  ความคิดเห็นที่ 7  
 
chatchai.k
วันที่ 29 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 413

พระเถระจึงคิดวา ถาไมควรใหสลากแกพระกุณฑธานะ พระศาสดาจะพึงหามเธอ จักมีเหตุอยางหนึ่งเปนแท จึงรีบนํามาดวย คิดวา จักใหสลากแกพระกุณฑธานะ พระกุณฑธานะเถระ กอนที่ พระอานนทเถระมา เขาจตุตถฌานอันเปนบาทแหงอภิญญา ยืนอยู ในอากาดวยฤทธิ์กลาววา ทานอานนท จงนําสลากมา พระศาสดา ทรงรูจักเรา พระศาสดาไมตรัสหามภิกษุเชนเราผูจับสลากไดกอน แลวเหยียดมือไปจับสลากแลว.

พระศาสดาทรงทําเรื่องนั้นใหเปนอรรถอุบัติเหตุเกิดเรื่อง จึงทรงสถาปนาพระเถระไวในตําแหนงเปนยอดของเหลาภิกษุ ผูจับสลากไดที่ ๑ในศาสนาแล.

จบ อรรถกถาสูตรที่ ๓

 
  ความคิดเห็นที่ 8  
 
chatchai.k
วันที่ 29 พ.ค. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ