ประวัติพระปลินทวัจฉเถระ
[เล่มที่ 32] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 427
อรรถกถาสูตรที่ ๗
ประวัติพระปลินทวัจฉเถระ
พึงทราบวินิจฉัยในสูตรที่ ๗ ดังตอไปนี้.
ดวยบทวา เทวาน ปยมนาปาน ทรงแสดงวา พระปลันทวัจฉเถระเปนยอดของเหลาภิกษุผูเปนที่รักและเปนที่ชอบใจของเทวดา ทั้งหลาย ไดยินวา เมื่อพระพุทธเจายังไมทรงอุบัติ พระเถระนั้น เปนพระเจาจักรพรรดิ์ ทรงใหมหาชนตั้งอยูในศีลหา ไดทรงกระทํากุศลที่มุงผลขางหนาคือ สวรรค โดยมากเหลาเทวดาที่บังเกิดใน ฉกามาวจรสวรรค ๖ ชั้น ไดโอวาทของพระองคนั่นแล ตรวจดู สมบัติของตนในสถานที่ที่บังเกิดแลว นึกอยูวา เราไดสวรรคสมบัติ นี้เพราะอาศัยใครหนอ ก็รูวา เราไดสมบัติ เพราะอาศัยพระเถระ จึงนมัสการพระเถระทั้งเวลาเชาเวลาเย็น เพราะฉะนั้น ทานจึงเปน ยอดของเหลาภิกษุผูเปนที่รักที่ชอบใจของเทวดาทั้งหลายก็คําวา ปลินท เปนชื่อของทาน คําวา วัจฉะ เปนโคตรของทาน รวมคําทั้ง ๒
พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 428
นั้นเขาดวยจึงเรียกวา "ปลินทวัจฉะ" ในปญหากรรมของทาน มีเรื่องที่จะกลาวตามลําดับดังตอไปนี้
ไดยินมาวา ครั้งพระปทุมุตตรพุทธเจา พระเถระนี้ เกิด ในครอบครัวของผูที่มีโภคสมบัติมากในกรุงหงสวดี ฟงธรรมเทศนาของพระศาสดา โดยนัยมีในกอนนั่นแล เห็นพระศาสดาทรงสถาปนา ภิกษุรูปหนึ่งไวในตําแหนงเปนที่รักเปนที่ชอบใจของเทวดาทั้งหลาย ปรารถนาตําแหนงนั้น กระทํากุศลจนตลอดชีพ เวียนวายอยูในเทวดาและมนุษย ในพุทธุปบาทกาลนี้ มาบังเกิดในครอบครัวพราหมณ ในกรุงสาวัตถี ญาติทั้งหลายขนานนามทานวา ปลินทวัจฉะ สมัยอื่นตอมา ทานฟงธรรมเทศนาของพระศาสดาไดศรัทธา บรรพชา อุปสมบท แลวเจริญวิปสสนาบรรลุพระอรหัตแลว ทานเมื่อพูดกับคฤหัสถก็ดี ภิกษุก็ดี ใชโวหารวาถอย ทุกคําวา "มาซิเจาถอย ไปซิเจาถอย นําไปซิเจาถอย ถือเอาซิเจาถอย" ภิกษุทั้งหลาย ฟงเรื่องนั้นแลวก็นําไปทูลถามพระตถาคตวา ขาแตพระผูมีพระภาคเจา ธรรมดาพระอริยะ ยอมไมกลาวคําหยาบ พระผูมีพระภาคเจาตรัสวา "ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ธรรมดาวา พระอริยะทั้งหลาย ไมกลาวผรุสวาจา ขมผูอื่น ก็แตวา ผรุสวาจานั้นพึงมีไดโดยที่เคยตัวในภพอื่น" ภิกษุทั้งหลายกราบทูลวา พระเจาขา พระปลินทวัจฉเถระพยายามแลวพยายามเลาเมื่อกลาวกับคฤหัสถก็ดี กับภิกษุ ทั้งหลายก็ดี ก็พูดวา "เจาถอย เจาถอย" ขาแตพระผูมีพระภาคเจา ในเรื่องนี้มีเหตุเปนอยางไร พระผูมีพระภาคเจาตรัสวา ดูกอน ภิกษุทั้งหลาย การกลาวเชนนั้นแหงบุตรของเรา ประพฤติจน
พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 429
เคยชินในปจจุบันเทานั้นก็หามิได แตในอดีตกาล บุตรของเรานี้ บังเกิดในครอบครัวแหงพราหมณผูมักกลาววา ถอย ถึง ๕๐๐ ชาติ ดังนั้น บุตรของเรานี้จึงกลาว เพราะความเคยชิน มิไดกลาวดวย เจตนาหยาบ จริงอยูโวหารแหงพระอริยะทั้งหลาย แมจะหยาบ อยูบาง ก็ชื่อวาบริสุทธิ์แท เพราะเจตนาไมหยาบ ไมเปนบาป แมมีประมาณเล็กนอยในเพราะการกลาวนี้ ดังนี้แลว จึงตรัสคาถานี้ ในพระธรรมบทวา อกกฺกส วิฺาปนึ คิร สจฺจ อุทีรเย ยาย นาภิสเช กิฺจิ ตมห พฺรูมิ พฺราหฺมณ พึงกลาวแตถอยคําที่ไมหยาบ ที่เขาใจกันได ที่ควรกลาว ที่เปนคําจริง ซึ่งไมกระทบใครๆ เรา เรียกผูนั้นวา พราหมณ.
อยูยอมาวันหนึ่ง พระเถระเขาไปบิณฑบาตกรุงราชคฤห พบผูชายผูหนึ่งถือดีปลีมาเต็มถาด กําลังเขาไปในกรุง จึงถามวา เจาถอย ในภาชนะของแกมีอะไร ชายผูนั้น คิดวา สมณะรูปนี้ กลาวคําหยาบกับเราแตเชาเทียว เราก็ควรกลาวคําเหมาะแก สมณะรูปนี้เหมือนกัน จึงตอบวา ในภาชนะของขามีขี้หนูซิทาน พระเถระพูดวา เจาถอย มันจักตองเปนอยางวานั้น เมื่อพระเถระ คลอยหลังไป ดีปลีกกลายเปนขี้หนูไปหมด เขาคิดวา ดีปลีเหลานี้ ปรากฏเสมือนขี้หนู จะเปนจริงหรือไมหนอ ลองเอามือบี้ดู ทีนั้น เขาก็รูวาเปนขี้หนูจริงๆ ก็เกิดความเสียใจอยางยิ่ง เขาคิดวา
พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 430
เปนเฉพาะดีปลีเหลานี้เทานั้นหรือ หรือในเกวียนก็เปนอยางนี้ดวย จึงเดินไปตรวจดู ก็พบวาดีปลีทั้งหมดก็เปนเชนนั้นเหมือนกัน เอามือกุมอก แลวคิดวา นี้ไมใชการกระทําของคนอื่น ตองเปนการกระทําของภิกษุที่เราพบตอนเชานั่นเอง พระเถระจักรูมายากล อยางหนึ่งเปนแน จําเราจะตามหาสถานที่ๆ ภิกษุนั้นเดินไป จึงจักรูเหตุ ดังนี้แลว จึงเดินไปตามทางที่พระเถระเดินไป ลําดับนั้น บุรุษผูหนึ่งพบชายผูนั้นกําลังเดินเครียด จึงถามวา พอมหาจําเริญ เดินเครียดจริง ทานกําลังเดินไปทําธุระอะไร เขาจึงบอกเรื่องนั้น แกบุรุษผูนั้น บุรุษผูนั้นฟงเรื่องราวของเขาแลว ก็พูดอยางนี้วา พอมหาจําเริญ อยาคิดเลย จักเปนดวยทานพระปลินทวัจฉะ พระผูเปนเจาของขาเอง ทานจงถือดีปลีนั้นเต็มภาชนะ ไปยืนขางหนา
พระเถระ แมเวลาที่พระเถระกลาววา นั่นอะไรละ เจาถอย ก็จง กลาววาดีปลีทานขอรับ พระเถระจักกลาววา จักเปนอยางนั้น เจาถอย มันก็จะกลายเปนดีปลีไปหมด ชายผูนั้นก็ไดกระทําอยางนั้น แตตอมาภายหลัง พระศาสดา ทรงทําเรื่องที่พระเถระเปนที่รัก ที่พอใจของเหลาเทวดาเปนเหตุ จึงทรงสถาปนาพระเถระไวใน ตําแหนงเอตทัคคะ เปนยอดของภิกษุสาวกผูเปนที่รักที่พอใจของ เทวดาแล
จบ อรรถกถาสูตรที่ ๗