ประวัตินางวิสาขามิคารมารดา

 
chatchai.k
วันที่  7 มิ.ย. 2564
หมายเลข  34366
อ่าน  1,590

พระสุตตันตปฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ ๘๖

อรรถกถาสูตรที่ ๒

ประวัตินางวิสาขามิคารมารดา

ในสูตรที่ ๒ พึงทราบวินิจฉัยดังตอไปนี้

ดวยบทวา ทายิกาน ทานแสดงวา นางวิสาขามิคารมารดา เปนเลิศกวาพวกอุบาสิกาผูยินดียิ่งในการถวายทาน. ดังไดสดับมานางวิสาขานั้น ครั้งพระพุทธเจาพระนามวาปุทุมุตตระ บังเกิดในเรือนสกุล กรุงหังสวดี ตอมากําลังฟงพระธรรมเทศนาของพระศาสดา เห็นพระศาสดาทรงสถาปนาอุบาสิกาผูหนึ่งไวในตําแหนง เอตทัคคะเปนเลิศกวาพวกอุบาสิกาผูยินดีในการถวายทาน จึงทํากุศลใหยิ่งยวดขึ้นไป ปรารถนาตําแหนงนั้น นางเวียนวายอยูในเทวดาและมนุษยถึงแสนกัป ครั้งพระพุทธเจาพระนามว่า กัสสปะ บังเกิดเปนราชธิดาองคนองนอยกวาเขาทั้งหมด แหงพระราชธิดาพี่นอง ๗ พระองค ในพระราชนิเวศนของพระเจากิงกิ. ก็ครั้งนั้น พระราชธิดาพี่นอง ๗ พระองคคือ สมณี สมณคุตตา ภิกขุนี ภิกขุทาสิกา ธัมมา สุธัมมา และสังฆทาสี ครบ ๗ พระราชธิดาเหลานั้น ในบัดนี้ [ครั้งพุทธกาล] คือ พระเขมา


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 7 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 87

พระอุบลวรรณา พระปฏาจารา พระโคตมี พระธรรมทินนา พระนางมหามายา และนางวิสาชา ครบ ๗

บรรดาพระราชธิดาเหลานั้น พระนางสังฆทาสีเวียนวายอยูในเทวดาและมนุษยถึงพุทธันดรหนึ่ง ในพุทธุปบาทกาลนี้บังเกิดในครรภ ของนางสุมนเทวีภริยาหลวงของธนัญชัยเศรษฐี บุตรของเมณฑกเศรษฐี ภัททิยนคร แควนอังคะ. บิดามารดาไดตั้งชื่อนางวาวิสาขา. เวลานางมีอายุได ๗ ขวบ พระทศพลทรงเห็นอุปนิสัยสมบัติของเสลพราหมณ และเหลาสัตวพวกจะตรัสรูอื่นๆ มีภิกษุสงฆเปนบริวาร เสด็จจาริกไป ถึงนครนั้น ในแควนนั้น.

สมัยนั้น เมณฑกคฤหบดี เปนหัวหนาของเหลาผูมีบุญมาก ๕ คน ครองตําแหนงเศรษฐี. เหลาผูมีบุญมาก ๕ คน คือ เมณฑกเศรษฐี ๑ ภริยาแสวงของเขา ชื่อจันทปทุมา ๑ บุตรของเขา ชื่อธนัญชัย ๑ ภริยาของธนัญชัยนั้น ชื่อสุมนเทวี ๑ ทาสของเมณฑกเศรษฐี ชื่อปุณณะ ๑. มิใชแตเมณฑกเศรษฐีอยางเดียวดอก ถึงในราชอาณาจักรของพระเจาพิมพิสาร ก็มีบุคคลผูมีโภคสมบัตินับไมถวนถึง ๕ คน คือ โชติยะ ชฏิละ เมณฑกะ ปุณณะ และกากพลิยะ. บรรดาคนทั่ง ๕ นั้น เมณฑกเศรษฐีนี้ ทราบวาพระทศพลเสด็จมาถึงนครของตน จึงเรียกเด็กหญิงวิสาขา ธิดาธนัญชัยเศรษฐีผูเปนบุตร มาแลวสั่งอยางนี้วา แมหนู เปนมงคลทั้งเจา ทั้งปู เจาจงพาเกวียน ๕๐๐ เลม พรอมดวย เด็กหญิง ๕๐๐ คน บริวารของเจามีทาสี ๕๐๐ นาง เปนบริวาร จงทําการรับเสด็จพระทศพล. นางฟงคําของปูก็ปฏิบัติตาม. แตเพราะนาง เปนผูฉลาดในเหตุและมิใชเหตุ นางก็ไปดวยยาน เทาที่พื้นที่ยานจะไป

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
chatchai.k
วันที่ 7 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 88

ไดแลว ก็ลงจากยานเดินไปเขาเฝาพระศาสดา ถวายบังคมแลว ยืน ณ ที่ สมควรสวนหนึ่ง. ครั้งนั้น พระศาสนาทรงแสดงธรรมโปรดดวยอํานาจจริยาของนาง. จบเทศนา นางก็ดํารงอยูในโสดาปตติผล พรอมกับ เด็กหญิง ๕๐๐ คน แมเมณฑกเศรษฐี ก็เขาไปเฝาถวายบังคมพระศาสดา แลวนั่ง ณ ที่สมควรสวนหนึ่ง. พระศาสดาทรงแสดงธรรมโปรด ดวยอํานาจจริยาของเศรษฐีนั้น. จบเทศนา เมณฑกเศรษฐีก็ดํารงอยูในโสดาปตติผล อาราธนาพระศาสดา เพื่อเสวยในวันพรุง. วันรุงขึ้น ก็เลี้ยงดูพระภิกษุสงฆ มีพระพุทธเจาเปนประมุข ดวยอาหารอยางประณีต ในนิเวศนของตน ไดถวายมหาทานโดยอุบายนั้น ครึ่งเดือน. พระศาสดา ประทับอยู่ ณ ภัททิยนคร ตามพุทธอัธยาศัยแลวก็เสด็จหลีกไป. พึงวิสัชนากถามรรคอื่นตอจากนี้แลว กลาวเรื่องการเกิดของนางวิสาขา. จริงอยู ในกรุงสาวัตถี พระเจาโกศลทรงสงขาวสาสนไปยังสํานัก ของพระเจาพิมพิสารวา ในราชอาณาเขตของหมอมฉัน ชื่อวา สกุลที่ได โภคสมบัตินับไมถวนไมมีเลย สกุลที่ไดโภคสมบัตินับไมถวนของพระองค มีอยู ขอไดโปรดทรงสงสกุลที่ไดโภคสมบัตินับไมถวนไปใหหมอมฉัน ดวยเถิด. พระราชาทรงปรึกษากับเหลาอํามาตย. เหลาอํามาตยปรึกษากันวา ไมอาจสงสกุลใหญๆ ไป แตเราจะสงเฉพาะบุตรเศรษฐีคนหนึ่งไป จึงขอรองธนัญชัยเศรษฐี บุตรเมณฑกเศรษฐี. พระราชาทรงสดับคําปรึกษาของอํามาตยเหลานั้น ก็ทรงสงธนัญชัยเศรษฐีไป. ครั้งนั้น พระเจาโกศลพระราชทานตําแหนงเศรษฐีใหเขาอยูในนครสาเกต ทายกรุงสาวัตถีไป ๗ โยชน. ก็ในกรุงสาวัตถี บุตรของมิคารเศรษฐี ชื่อ ปุณณวัฒนกุมารเจริญวัยแลว. ขณะนั้น บิดาของเขารูวา บุตรของเรา

 
  ความคิดเห็นที่ 3  
 
chatchai.k
วันที่ 7 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 89

เจริญวัยแลว เปนสมัยที่จะผูกพันดวยฆราวาสวิสัย จึงสงคนทั้งหลายผูฉลาด ในเหตุและมิใชเหตุไป ดวยสั่งวา พวกทานจงเสาะหาเด็กหญิงในสกุล ที่มีชาติเสมอกับเรา. คนเหลานั้นไมพบเด็กหญิงที่ตองใจตนในกรุงสาวัตถี จึงพากันไปนครสาเกต.

วันนั้นนั่นเอง วิสาขามีหญิงสาว ๕๐๐ คน ที่มีวัยรุนเดียวกัน แวดลอม พากันไปยังบึงใหญแหงหนึ่ง เพื่อเลนนักษัตรฤกษ คนแม เหลานั้น เที่ยวไปภายในนคร ก็ไมพบเด็กหญิงที่ถูกใจคน จึงยืนอยู นอกประตูเมือง ขณะนั้น ฝนเริ่มตก. เหลาเด็กหญิงที่ออกไปกับนางวิสาขาก็รีบเขาศาลา เพราะกลัวเปยกฝน คนเหลานั้นไมพบเด็กหญิง ตามที่ปรารถนา ในระหวางเด็กหญิงเหลานั้น. แตนางวิสาขาอยูขางหลังเด็กหญิงเหลานั้นทั้งหมด ไมนําพาฝนที่กําลังตก เปยกปอนเขาไปยังศาลาเพราะไมรีบเดิน คนเหลานั้นเห็นนางแลวก็คิดวา เด็กหญิงคนนี้สะสวย ยิ่งกวาแมเด็กหญิงคนอื่นๆ ก็รูปนี้นั้นเปนสิ่งที่หญิงบางพวกตกแตงได เหมือนชางทํารถ ตกแตงลอรถไดฉะนั้น จึงกลาวตอไปวา จําเราจําตองรูวา เด็กหญิงคนนี้พูดไพเราะหรือไม. ดังนั้นจึงกลาวกะนางวา แมหนู เจาเหมือนกับสตรีที่มีวัยเปนผูใหญฉะนั้น. นางจึงถามวา พอทาน พวกทานเห็นอะไรจึงกลาว. คนเหลานั้นตอบวา หญิงสาวที่เลนกับเจา คนอื่นๆ รีบมาเขาศาลา เพราะกลัวเปยกฝน สวนเจาเหมือนหญิงแก ไมรีบสาวเทามา ไมนําพาวาผาจะเปยก ถาชางหรือมาไลตามเจาอยางนี้ นี่แล เจาจะทําอยางไร. นางกลาววา พอทาน ขึ้นชื่อวาผาหาไดไมยาก ในสกุลของฉันหาไดงาย สวนผูหญิงเจริญวัยแลว ก็เปนเหมือนสินคาที่เขาขาย เมื่อมือหรือเทาหักไป คนทั้งหลายเห็นผูหญิงที่เรือนรางบกพรอง

 
  ความคิดเห็นที่ 4  
 
chatchai.k
วันที่ 7 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 90

ก็รังเกียจ ถมน้ําลายหนีไป เพราะเหตุนั้นฉันจึงคอยๆ เดินมา คนเหลานั้นคิดวา ชื่อวา หญิงในชมพูทวีปนี้ไมมีจะเทียบกับเด็กหญิงคนนี้ ไมมีที่จะเทียบกัน ทั้งรูปทั้งคําพูด รูเหตุและมิใชเหตุ แลวจึงพูด ดังนี้แลวก็เหวี่ยงพวงมาลัยไปบนนาง. ขณะนั้น นางวิสาขา คิดวา เราไมถูกเขาหวงแหนมากอน แตบัดนี้ เราถูกเขาหวงแหนแลว จึงนั่งลงที่พื้นดินโดยอาการที่จะถูกเขานําไปแลว. ครั้งนั้น คนทั้งหลาย จึงเอาทานกั้นลอมนางไวตรงนั้นนั่งเอง. นางรูวาเขาปดกั้นไว ก็มีหมูทาสี หอมลอมกลับไปเรือน. คนของมิคารเศรษฐีเหลานั้น ก็พากันไปสํานัก ธนัญชัยเศรษฐีพรอมกับนาง เมื่อเศรษฐีถามวา พอคุณ พวกทานเปน ชาวบานไหน ก็ตอบวา พวกเราเปนคนของมิคารเศรษฐี กรุงสาวัตถี ทราบวา ที่เรือนทานมีเด็กหญิงเจริญวัยแลว ทานจึงสงพวกเรามา ธนัญชัยเศรษฐีกลาววา ดีละ พอคุณ เศรษฐีของพวกทานเทียบกับเราไมไดทางโภคสมบัติก็จริง แตก็เทาเทียมกันโดยชาติ. ธรรมดาวา คนที่เพียบพรอมดวยอาการทุกอยางหาไดยาก. พวกทานจงไปบอก เศรษฐีวา เรายอมรับ. คนเหลานั้นสดับคําของธนัญชัยเศรษฐีนั้นแลว ก็กลับไปกรุงสาวัตถี แจงความยินดีและความเจริญแกมิคารเศรษฐีแลว กลาววา นายทาน พวกเราไดเด็กหญิงในเรือนของธนัญชัยเศรษฐีแลว มิคารเศรษฐีฟงดังนั้น ก็ดีใจวา พวกเราไดเด็กหญิงในเรือนของสกุลใหญ จึงสงขาวไปบอกธนัญชัยเศรษฐีทันทีวา บัดนี้เราจักนําเด็กหญิงมา โปรดกระทํากิจที่ควรทําเสีย. แมธนัญชัยเศรษฐีก็สงขาวตอบมิคารเศรษฐีไปวา เรื่องนี้ไมเปนการหนักสําหรับเราเลย เศรษฐีโปรดการทํากิจที่ควรทํา สําหรับคนเถิด. มิคารเศรษฐีจึงไปเขาเฝาพระเจาโกศลกราบทูลวา ขาแต่

 
  ความคิดเห็นที่ 5  
 
chatchai.k
วันที่ 7 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 91

เทวะ. เด็กหญิงผูมีกิริยาเปนมงคลแกขาพระองคมีอยูคนหนึ่ง เด็กหญิงนั้น ชื่อวิสาขา ธิดาของทานธนัญชัยเศรษฐี ขาพระองคจักนํามาใหแก ปุณณวัฒนกุมาร ทาสของพระองค ขอทรงโปรดอนุญาตใหขาพระองค ไปนครสาเกตเถิดพระเจาขา. พระราชารับสั่งวา ดีละทานเศรษฐี ถึงเรา ก็ควรจะมาดวยมิใชหรือ. เศรษฐีกราบทูลวา ขาแตเทวะ ขาพระองค จะบังอาจใหบุคคลเชนพระองคเสด็จไดอยางไรเลา. พระราชามีพระราชประสงคจะทรงสงเคราะหสกุลใหญ ทรงรับวา อาเถิด ทานเศรษฐี เราจักมาดวย แลวก็เสด็จไปยังนครสาเกตพรอมดวยมิคารเศรษฐี.

ธนัญชัยเศรษฐีรูวา มิคารเศรษฐีพาพระเจาโกศลมาดวย จึงออกไปรับเสด็จ พาพระราชาไปยังนิเวศนของตน. ทันใดนั้นเอง ก็จัดสถานที่อยู และมาลัยของหอมเปนตน ไวพรอมสรรพ สําหรับพระราชา สําหรับทหารของพระราชา และสําหรับมิคารเศรษฐี รูกิจทุกอยางดวยตนเองวา สิ่งนี้ควรไดแกผูนี้ สิ่งนี้ควรไดแกผูนี้. ชนนั้นๆ ก็คิดวา ทานเศรษฐี กระทําสักการะแกเราเทานั้น. ตอมาวันหนึ่ง พระราชาทรงสงขาวไปบอก ธนัญชัยเศรษฐีวา ทานเศรษฐีไมอาจจะเลี้ยงดูพวกเราไดนานๆ ขอทานเศรษฐีจงกําหนดเวลาที่เด็กหญิงจะไปเถิด. แมธนัญชัยเศรษฐี ก็สงขาว ถวายพระราชาวา บัดนี้ฤดูฝนมาถึงแลว ทหารของพระองคจะเที่ยวไป ตลอด ๔ เดือนคงไมได กิจใดๆ ควรจะได กิจนั้นทั้งหมดเปนภาระของขาพระองค ขอเทวะโปรดเสด็จไปเวลาที่ขาพระองคสงธิดาไปอยางเดียวเถิด พระเจาขา. นับแตนั้นมา นครสาเกตก็ไดเปนเหมือนตําบล บานที่นีงานนักษัตรฤกษอยูเปนนิตย. ลวงไป ๓ เดือนโดยอาการอยางนี้. เครื่องประดับชื่อมหาลดาประสาธนสําหรับธิดาของธนัญชัยเศรษฐีก็ยัง

 
  ความคิดเห็นที่ 6  
 
chatchai.k
วันที่ 7 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 92

ไมเสร็จ. ครั้งนั้น เหลาเจาหนาที่ประจํางานก็มาบอกธนัญชัยเศรษฐีวา ขึ้นชื่อวาสิ่งที่ไมมีสําหรับชนเหลานั้นไมมีดอก แตฟนใชหุงตมสําหรับทหารไมเพียงพอ. ธนัญชัยเศรษฐีจึงสั่งวา พอเอย ไปรื้อโรงชางโรงมา เอาไมมาใชหุงตมอาหารเถิด. เมื่อหุงตมกันอยูอยางนี้ลวงไปครึ่งเดือน แตนั้น เหลาเจาหนาที่ก็มาบอกอีกวา ฟนยังไมพอ. ธนัญชัยเศรษฐี ก็สั่งวา พอเอย ในฤดูนี้เราหาฟนไมไดอีกแลว พวกทานจงเปดเรือน คลังผา เอาผาชนิดหยาบๆ มาฟนเปนเกลียวชุบในถังน้ํามัน ใชหุงตม อาหารเถิด. เมื่อหุงตมโดยทํานองนี้ก็เต็ม ๔ เดือน . ตอนั้น ธนัญชัย เศรษฐีรูวาเครื่องประดับมหาลดาประสาธนสําหรับธิดาเสร็จแลว จึงสั่งวา พรุงนี้เราจะสงธิดาไป จึงเรียกธิดาเขามานั่งใกลๆ ไดใหโอวาทวา ลูกเอย ธรรมดาวาสตรีจะอยูในสกุลสามีควรจะศึกษามาร ยาทอยางนี้ อยางนี้. มิคารเศรษฐีนั่งอยูภายในหองก็ไดยินโอวาทของธนัญชัยเศรษฐี. แม ธนัญชัยเศรษฐีก็โอวาทธิดาอยางนี้วา ลูกเอย ธรรมดาวาสตรีผูจะอยูในสกุลบิดาของสามี ไฟในก็ไมพึงนําออก ไฟนอกก็ไมพึงนําเขา พึงใหแกผูที่ให ไมพึงใหแกผูที่ไมให พึงใหทั้งแกผูที่ให ทั้งแกผูที่ไมให พึงนั่งเปนสุข พึงบริโภคเปนสุข พึงนอนเปนสุข พึงบําเรอไฟ พึงนอบนอมเทวดาภายใน ครั้นใหโอวาท ๑๐ อยางนี้ดังนี้แลว วันรุงขึ้น ก็ประชุมนายกองทุกกอง จัดกุฎมพี ๘ นัย ในพวกเสนาของพระราชา เปนนายประกัน แลวกลาววา ถาความผิดเกิดแกธิดาของเราในที่ๆ ไป แลวไชร พวกทานพึงชําระ แลวใหประดับธิดาดวยเครื่องประดับ มหาลดาประสาธน มีคา ๙ โกฏิ ใหทรัพย ๕๔ เลมเกวียน เปนมูลคา สําหรับผงเครื่องหอมสําหรับผสมน้ําอาบ ใหทาสีรูปสวยคอยปรนนิบัติใน

 
  ความคิดเห็นที่ 7  
 
chatchai.k
วันที่ 7 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 93

เวลาเดินทางประจําธิดา ๕๐๐ นาง รถเทียมมาอาชาไนย ๕๐๐ คัน สักการะทุกอยางๆ ละ ๑๐๐. ชี้แจงใหพระเจาโกศล และมิคารเศรษฐีทราบแลว เวลาธิดาไปเรียกเจาหนาทีควบคุมดอกโคมา สั่งวา พอเอย ในที่ๆ ธิดาเราไปแลว ใหเตรียมโคมาไว เพื่อธิดาเราตองการดื่มน้ํานม. ใหเตรียมโคใชงานไว เพื่อธิดาเราตองการเทียมยาน เพราะเหตุนั้น พวกทานพึงเปดประตูคอกโค ในหนทางที่ธิดาเราไป เอาโคใชฐาน ๘ ตัว ที่อวนพีจัดเปนดวยนําฝูงโคถึงซอกเขาชื่อโนน มีเนื้อที่ประมาณ ๓ คาวุต เมื่อฝูงโคถึงที่นั้นแลว พึงตีกลองเปนสัญญาณใหเปดประตูคอกโค. คนเหลานั้นรับคําของเศรษฐีวา ดีละ แลวปฏิบัติตามคําสั่งนั้น. เมื่อประตู คอกเปดออกแลว แมโคทั้งหลายที่อวนพีก็ออกไป แตเมื่อประตูปด เหลาใดที่ฝกโคมีกําลัง และโคดุ ก็โลดแลนออกไปขางนอก แลวเดินตามทางไป เพราะแรงบุญของนางวิสาขา.

ครั้งนั้น เวลาถึงกรุงสาวัตถี นางวิสาขาคิดวา เราจะนั่งในยานที่ปกปดเขาไปหรือยืนบนรถเขาไปดีหนอ. ขณะนั้น นางดําริวา เมื่อเรา เขาไปดวยยานที่ปกปด ความวิเศษของเครื่องประดับมหาลดาประสาธน จักไมมีใครรูกันทั่ว นางแสดงตัวทั่วนคร ยืนบนรถเขาสูพระนคร. ชาวกรุงสาวัตถี เห็นสมบัติของนางวิสาขาแลว พากันกลาววา เขาวา สตรีผูนี้ ชื่อนางวิสาขา และสมบัติเห็นปานนี้ ก็สมควรแกนางทีเดียว นางเขาไปเรือนมิคารเศรษฐี ดวยสมบัติอยางใหญ ดวยประการฉะนี้. ก็ในวันที่นางมาถึง ชาวกรุงทั่วไปตางก็สงเครื่องบรรณาการตามกําลั สามารถไปดวยกลาววา ธนัญชัยเศรษฐีของเราไดกระทําสักการะอยางใหญแกผูคนที่มาถึงนครของตน. นางวิสาขา สั่งใหใหเครื่องบรรณาการ

 
  ความคิดเห็นที่ 8  
 
chatchai.k
วันที่ 7 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 94

ตอบการที่ชาวกรุงสงไปๆ ทั่วไปในสกุลของกันและกันในนครนั้นนั่นเอง. ขณะนั้น ลําดับอันเปนสวนแหงราตรี แมมาแสนรูตัวหนึ่ง ตกลูก. นางจึงใชใหเหลาทาสีถือคบไฟไปที่นั้น ใหอาบน้ําอุนใหแมมา ใชน้ํามัน ชโลมตัวใหแมมา แลวก็กลับไปสถานที่อยูของตน. ฝายมิคารเศรษฐี ทําการฉลองงานอาวาหมงคลแกบุตร ๗ วัน ไมสนใจพระตถาคตแมประทับ อยูวิหารใกลๆ วันที่ครบ ๗ วัน เชิญเหลาชีเปลือยใหนั่งเต็มไปทั่วทั้ง นิเวศน สงขาวบอกนางวิสาขาวา ธิดาของเราจงมาไหวพระอรหันต ทั้งหลาย. นางเปนพระอริยสาวิกาชั้นโสดาบัน ไดฟงวา พระอรหันต ทั้งหลาย ดังนี้ ก็ราเริงยินดี เดินไปยังสถานที่นั่งของชีเปลือยเหลานั้น มองดูชีเปลือยเหลานั้นแลวคิดวา ชีเปลือยเหลานี้ไมใชพระอรหันต จึงตําหนิวา เหตุไรทานพอ จึงใหเรียกขาพเจามายังสํานักของเหลาคนที่ เวนจากหิริโอตตัปปะ ดังนี้ แลวก็กลับไปสถานที่อยูของตนเสีย. เหลาชีเปลือยเห็นนางแลว ทั้งหมดก็ติเตียนเศรษฐีในทันทีนั่นแหละวา ทานคฤหบดี ทานหาหญิงคนอื่นไมไดหรือ เหตุไรทานจึงเชิญหญิงผูนี้ซึ่งเปนสาวิกาของพระสมณโคดม ตัวกาลกิณีใหญใหเขาไปในเรือน จงรีบนําหญิงผูนั้นออกไปเสียจากเรือนนี้. ลําดับนั้น เศรษฐีคิดวาเราไมอาจขับไล หญิงผูนี้ออกไปจากเรือนตามคําของชีเปลือยเหลานี้ได เพราะหญิงผูนี้เปนธิดาของสกุลใหญ จึงกลาววา ทานอาจารยทั้งหลาย ขึ้นชื่อวาตนหนุมสาวทั้งหลาย พึงทําทั้งที่รูบางทั้งที่ไมรูบาง ขอพวกทานจงนิ่งๆ ไว แลวก็ สงเหลาชีเปลือยกลับไป นั่งบนแทนใหญ อันนางวิสาขาถือชอนทอง เลี้ยงดูอยู บริโภคขาวมธุปายาสมีน้ํานอยในถาดทอง. สมัยนั้น พระเถระผูถือบิณฑบาตเปนวัตร เที่ยวไปบิณฑบาตมา

 
  ความคิดเห็นที่ 9  
 
chatchai.k
วันที่ 7 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 95

ถึงประตูเรือนของเศรษฐี. นางวิสาขาเห็นพระเถระแลวคิดวาไมควรบอกบิดาสามี ดังนี้ ทั้งที่เศรษฐีนั้นก็เห็นพระเถระนั้น ผูยังไมจากไป คงยังยืนอยูอยางนั้น. แตเศรษฐีนั้นเปนคนพาล แมเห็นพระเถระก็ทําเปนเหมือนไมเห็น กมหนาบริโภคขาวมธุปายาสเรื่อยไป. นางวิสาขาก็รูไดวา บิดาสามีของเราแมเห็นพระเถระก็ไมทําอาการวาเขาใจ จึงเขาไปหาพระเถระกลาววา โปรดไปขางหนากอนเถิด เจาขา บิดาสามีของดิฉันกําลังกินบุญเกา. เศรษฐีนั้น เวลาที่เหลานิครนถวากลาวคราวกอนก็อดกลั้นได แตในขณะที่นางวิสาขากลาววากินบุญเกาก็วางมือ สั่งวา พวกเจาจงนําขาวปายาสนี้ออกไปจากที่นี้ และจงนําหญิงผูนี้ออกไปจากเรือนหลังนี้ ดวยวา หญิงผูนี้ทําใหเราชื่อวาเปนผูกินของไมสะอาดในเรือนมงคลเห็นปานนี้. แตวาในนิเวศนนั้นแล ทาสและกรรมกรเปนตน ทั้งหมดเปนสมบัติของนางวิสาขา ไมมีใครๆ สามารถจะจับมือเทานางได ขึ้นชื่อวาผูสามารถจะกลาวดวยปากก็ไมมี. เมื่อนางวิสาขาฟงคําของบิดา สามีแลวกลาววา ทานพอขา พวกเราจะไมออกไปดวยเหตุเพียงเทานี้ ดอก ดิฉันก็ไมไดถูกทานนํามาจากทาน้ําเหมือนพวกกุมภทาสี ธรรมดาวา เหลาธิดาของบิดามารดาผูยังมีชีวิตอยู ยอมไมออกไปดวยเหตุเพียงเทานี้ อนึ่ง ดวยเหตุเพียงเทานี้นี่แหละ ในวันที่ดิฉันมาในที่นี้บิดาของดิฉันก็ให เรียกกุฎมพี ๘ นายมาสั่งวาถาความผิดเกิดเพราะธิดาของเรา พวกทาน จงชวยกันชําระแลวก็มอบดิฉันไวในมือของกุฎมพี ๘ นายนั้น ขอทานพอ โปรดใหเรียกกุฎมพี๘ นายนั้นมาใหเขาชําระวาเปนความผิด หรือมิใชความผิดของดิฉันสิเจาคะ. ลําดับนั้น เศรษฐีคิดวาเด็กหญิงคนนี้พูดดี จึงใหเรียกกุฎมพี ๘ นายมาสั่งวา เด็กหญิงคนนี้เรียกเราผูซึ่งนั่งในเรือน

 
  ความคิดเห็นที่ 10  
 
chatchai.k
วันที่ 7 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 96

มงคลในวันที่ครบ ๗ วันวา เปนคนกินของไมสะอาด. กุฎมพี๘ นาย นั้น จึงถามนางวา เขาวาอยางนี้จริงหรือแมหนู. นางตอบวา พอคุณเอย ทานบิดาสามีของดิฉันจักตองการกินของไมสะอาดเอง แตดิฉันไดพูด ใหทําอยางนั้น. สวนเมื่อพระเถระผูถือบิณฑบาตเปนวัตรรูปหนึ่งยืนใกลประตูเรือน ทานบิดานี้กําลังบริโภคมธุปายาสมีน้ํานอยอยู ไมสนใจ พระเถระนั้นเลย ดวยเหตุนี้ ดิฉันจึงพูดเทานี้วา ไปขางหนากอนเถิด เจาขา บิดาสามีของดิฉันไมทําบุญในอัตภาพนี้ กําลังกินบุญเกาๆ อยู. กุฎมพี๘ นายจึงกลาววา แมเจาไมมีความผิดในขอนี้ ธิดาของเราพูดมีเหตุ เหตุไรทานจึงโกรธเลา. เศรษฐีกลาววา พอเจาเอย ความผิดนั้น ไมมีก็ชางเถิด แตเด็กหญิงคนนี้ในวันที่มาก็ไมใหความเอาใจใสในบุตรเรา ไดไปยังสถานที่ตนเองปรารถนา. กุฎมพี ๘ นายถามวา เขาวาอยางนั้น จริงหรือแมหนู. นางตอบวา พอคุณเอย ดิฉันไมไปยังที่ๆ ตนชอบใจ แตในเรือนหลังนี้ เมื่อแมมาแสนรูตกลูก ดิฉันคิดวา ไมทําแมความเอาใจใสแลวนั่งเฉยๆ เสีย ไมสมควร จึงใหเหลาทาสีถือคบไฟหอมลอม ไปที่นั่น จึงสั่งใหดูแลรักษาแมมาที่ตกลูกจะ. กุฎมพี ๘ นายกลาววา พอเจา ธิดาของเราไดกระทํากิจกรรมแมเหลาทาสีก็ตองทําในเรือน ทานเห็นโทษอะไรในขอนี้. เศรษฐีกลาววา พอเจาเอย นั่นเปนคุณความดี ก็ชางเถิด แตบิดาของเด็กหญิงคนนี้ เมื่อใหโอวาทในวันที่มาในที่นี้ก็ กลาววา ไฟในไมควรนําออก. กุฎมพี ๘ นายถามนางวา เขาวาอยางนั้น จริงหรือแมหนู. นางตอบวา พอคุณเอย บิดาของดิฉันมิไดพูดหมายถึง ไฟนั่นดอก แตเรื่องความลับอันใดของผูหญิงมีมารดาสามีเปนตนเถิดขึ้น ภายในนิเวศน เรื่องความลับอันนั้นไมควรบอกแกเหลาทาสและทาส

 
  ความคิดเห็นที่ 11  
 
chatchai.k
วันที่ 7 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 97

เพราะวาเรื่องเห็นปานนั้น มีแตจะขยายตัวออกไปเปนการทะเลาะกัน เพราะฉะนั้น บิดาของดิฉันหมายถึงขอนี้ จึงพูดจะ พอคุณทั้งหลาย. เศรษฐีกลาววา พอคุณเอย ขอนั้นเปนอยางนั้นก็ชางเถิด แตบิดาของเด็กหญิงคนนี้กลาววาไฟนอกไมควรนําเขาไปภายใน ก็เมื่อไฟในดับไป แลว เราไมนําไฟขางนอกเขามาไดหรือ. กุฎมพี ๘ นายถามนางวา เขาวาอยางนั้นจริงหรือแมหนู. นางตอบวา บิดาของดิฉันมิไดพูดหมายถึง ไฟนั้นดอกจะ แตความผิดอันใด ที่เหลาทาสและกรรมกรพูดกัน ความผิดอันนั้น ไมควรบอกเลาผูคนภายใน ฯลฯ แมคําใด ทานบิดา กลาววา พึงใหแกคนที่ใหเทานั้น คํานั้นทานก็กลาวหมายถึงวา พึงใหแกพวกคนที่ยืมเครื่องมือเครื่องใชแลวนํามาสงคืนเทานั้น. แมคําที่วา เย น เทนฺติ ทานก็กลาวหมายถึงวา ไมพึงใหแกพวกคนที่ยืมเครื่องมือ เครื่องใชแลวไมนํามาสงคืน. สวนคํานี้วา ททนฺตสฺสาป อททนฺตสฺ- สาป ทาตพฺพ ทานกลาวหมายถึงวา เมื่อญาติมิตรตกยากมาถึงแลว เขาจะสามารถใหตอบแทน หรือไมสามารถใหตอบแทนไดก็ตาม ก็ควรใหทั้งนั้น. แมคํานี้วา สุข นิสิทิตพฺพ ทานกลาวหมายถึงวา เมื่อดิฉัน เห็นมารดาบิดาสามีแลว ไมควรนั่งเฉยในที่ที่ตนควรลุกยืนขึ้น คําวา สุข ภุฺชิตพฺพ ทานกลาวหมายถึงวา ไมบริโภคกอนมารดาบิดาสามี และสามี ควรจะเลี้ยงดูทานเหลานั้นแลว รูวาทุกทานไดแลวหรือยังไมได อะไร แลวตนเองบริโภคทีหลัง. คําวา สุข นิปชฺชิตพฺพ ทานกลาว หมายถึงขอนี้วา ไมพึงขึ้นที่นอนแลว นอนกอน มารดาบิดาสามีและสามี ตองทําวัตรปฏิบัติที่สมควรทําแกทานเหลานั้น แลวตนเองจึงควรนอนทีหลัง. คําวา อคฺคิ ปริจริตพฺโพ ทานกลาวหมายถึงขอนี้วา ควรจะ

 
  ความคิดเห็นที่ 12  
 
chatchai.k
วันที่ 7 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 98

เห็นทั้งบิดามารดาสามีทั้งสามี เปนเหมือนกองไฟและเหมือนพญางู. เศรษฐีกลาววา จะเปนคุณเทานี้ก็ชางเถิด แตบิดาของเด็กหญิงคนนี้ ใหนอบนอมเทวดาภายใน ประโยชนอะไรของโอวาทนี้. กุฎมพี ๘ นาย ถามนางวา เขาวาอยางนั้นจริงหรือแมหนู. นางตอบวา จริงจะ พอคุณ ทั้งหลาย บิดาของดิฉันกลาวคํานี้หมายอยางนี้ ตั้งแตเราอยูครองเรือน ตามประเพณี เห็นนักบวชมาถึงประตูเรือนของตนแลวถวายของเคี้ยวของตนที่มีอยูในเรือน แกเหลานักบวชแลว ตนเองจึงควรกิน. ครั้งนั้น กุฎมพีเหลานั้น จึงถามเศรษฐีนั้นวา ทานมหาเศรษฐี ทานเห็นเหลานักบวชแลว ที่จะชอบใจวา ไมควรใหทั้งนั้นหรือ. ทานเศรษฐีมองไมเห็นคําตอบอยางอื่น จึงไดแตนั่งกมหนา.

ครั้งนั้น เหลากุฎมพีจึงถามเศรษฐีนั้นวา ความผิดอยางอื่นของธิดาเรา ยังมีอยูหรือ. ตอบวา ไมมีดอกพอคุณ ถามวา ก็เพราะเหตุไร ทานจึงขับไลธิดา ซึ่งไมมีความผิดออกไปจากเรือนโดยมิใชเหตุ. ขณะนั้น นางวิสาขากลาววา ยังไมควรไปตามคําของบิดาสามีเรากอน แตวันที่เรามา บิดาเรามอบเราไวในมือพวกทานเพื่อชําระความผิดเรา บัดนี้เราไปไดสะดวกแลวละ จึงสั่งเหลาทาสีและทาสใหทําการตระเตรียมยานเปนตน ไว. คราวนั้น เศรษฐีพากุฎมพีเหลานั้นไป พูดกะนางวา แมหนู พอไมรู จึงพูดไป จงยกโทษใหพอเสียเถิด. นางกลาววา พอคุณทั้งหลาย ดิฉัน พึงอดโทษแกพวกทานได จะอดโทษใหกอน แตดิฉันเปนธิดาของทานเศรษฐีผูเลื่อมใสไมหวั่นไหวในพระพุทธศาสนา เราเวนภิกษุสงฆเสียมิได ถาเราไดบํารุงภิกษุสงฆตามชอบใจของเรา เราก็จักอยู. เศรษฐีกลาววา แมหนู เจาจงบํารุงเหลาสมณะของเจาไดตามชอบใจ. ดังนั้น นางวิสาขา

 
  ความคิดเห็นที่ 13  
 
chatchai.k
วันที่ 7 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 99

จึงใหนิมนตพระทศพลอาราธนาใหภิกษุสงฆมีพระพุทธเจาเปนประมุข นั่งเต็มนิเวศนในวันรุงขึ้น. แมบริษัทของชีเปลือยรูวาพระศาสดาเสด็จไป เรือนมิคารเศรษฐี ก็ไปที่นั้นพากันนั่งลอมเรือนไว. นางวิสาขาใหน้ําทักษิโณทกแลวสงขาวบอกวา สักการะทุกอยางจัดไวแลว ขอทานบิดา สามีของเราโปรดจงมาเลี้ยงดูพระทศพล. เศรษฐีนั้นฟงคําของนางวิสาขาแลวก็กลาววา อธิดาของเราจงเลี้ยงดูพระสัมมาสัมพุทธะเถิด นางวิสาขาครั้นเลี้ยงดูพระทศพลดวยภัตตาหารเลิศรสตางๆ แลว ครั้น เสร็จภัตกิจแลวก็สงขาวไปอีกวา ขอทานบิดาสามีของเราโปรดมาฟง ธรรมกถาของพระทศพล. ลําดับนั้น เศรษฐีนั้นก็ไปเพื่อประสงคจะฟงธรรมกถาวา บัดนี้ชื่อวาการไมไป เปนเหตุไมสมควรอยางยิ่ง เหลาชีเปลือยก็กลาววา ทานเมื่อฟงธรรมของพระสมณโคดมก็จงนั่งฟงนอก มาน แลวก็พากันไปกอนกั้นมานไว. มิคารเศรษฐีไปนั่งนอกมาน. พระตถาคตทรงพระดําริวา ทานจะนั่งนอกมานก็ตาม นอกฝาเรือนก็ตาม นอกแผนหินก็ตาม หรือนอกจักรวาลก็ตาม เราชื่อวาพระพุทธเจาสามารถนําทานใหไดยินเสียงของเราได จึงตรัสธรรมกถาประหนึ่งวาจับลําตนมะมวงเขยาใหผลมีสีดังทองหลนลงอยูฉะนั้น จบเทศนา เศรษฐี ก็ดํารงอยูในโสดาปตติผล ยกมานขึ้นถวายบังคมพระบาทของพระศาสดาดวยเบญจางคประดิษฐ ในสํานักพระศาสดานั่งเอง ก็สถาปนานางวิสาขา ไวในตําแหนงมารดาของตนวา แมหนู จงเปนมารดาของเราตั้งแตวันนี้ ไป. ตั้งแตนั้นมา นางวิสาขาจึงมีชื่อวามิคารมารดา.

วันหนึ่ง เมื่อสมัยนักษัตรฤกษดําเนินไปในพระนคร นางวิสาขา ก็คิดวา ไมมีคุณในการอยูในพระนคร จึงหอมลอมดวยทาสีเดินไปฟง

 
  ความคิดเห็นที่ 14  
 
chatchai.k
วันที่ 7 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 100

ธรรมกถาของพระศาสดา แตฉุกคิดวาไปสํานักพระศาสดาดวยทั้งเพศที่มีเครื่องหมคลุมไมบังควร จึงเปลื้องเครื่องประดับมหาลดาประสาธนออก มอบไวในมือทาสี เขาไปเฝาพระศาสดาถวายบังคมแลวนั่ง ณ ที่สมควร สวนหนึ่ง. พระศาสดาตรัสธรรมกถา. จบพระธรรมเทศนาของพระศาสดา นางจึงถวายบังคมพระทศพลแลวเดินมุงหนาสูพระนคร. ทาสีแมนั้นไมทันกําหนดสถานที่นางวางเครื่องประดับซึ่งตนรับไว จึงเดินกลับไปเพื่อหาเครื่องประดับ. ขณะนั้น นางวิสาขาจึงสอบถามทาสีนั้นวา เจาวาง เครื่องประดับไวตรงไหน. ทาสีตอบวา ที่บริเวณพระคันธกุฎีจะแมเจา. นางวิสาขากลาววา ชางเถิด เจาจงไปนํามา นับตั้งแตเจาวางของไวบริเวณพระคันธกุฎีแลว ชื่อวาการใหนําของกลับมาไมสมควรแกเรา เพราะเหตุนั้น เราจําจักสละเครื่องประดับมหาลดาประสาธนนั้น ทําเปนทัณฑกรรม แตเมื่อเครื่องประดับนั้นยังวางไว พระคุณเจาทั้งหลายก็คง เปนกังวล

วันรุงขึ้น พระศาสดามีภิกษุสงฆเปนบริวาร เสด็จถึงประตู นิเวศนของนางวิสาขา. ก็ในนิเวศนจัดอาสนะไวเปนประจํา. นางวิสาขา รับบาตของพระศาสดา อาราธนาใหเสด็จเขาเรือนใหประทับนั่งเหนือ อาสนะที่จัดไวแลวนั่นแหละ เมื่อพระศาสดาเสวยเสร็จ ก็นําเครื่องประดับ นั้นไปวางไวใกลพระบาทของพระศาสดา กราบทูลวา ขาแตพระองค ผูเจริญ ขาพระองคถวายเครื่องประดับนี้แดพระองคเจาคะ. พระศาสดา ตรัสหามวา ขึ้นชื่อวาเครื่องประดับยอมไมสมควรแกเหลานักบวช นางวิสาขากราบทูลวา ขาแตพระองคผูเจริญ ขาพระองครู แตขาพระองค จะจําหนายเครื่องประดับนี้ เอาทรัพยมาสรางพระคันธกุฎีเปนที่อยูสําหรับ พระองค เจาคะ ตรงนั้น พระศาสดาก็ทรงรับโดยดุษณี. แมนางวิสาขา

 
  ความคิดเห็นที่ 15  
 
chatchai.k
วันที่ 7 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 101

นั้น. ก็จําหนายเครื่องประดับนั้น เอาทรัพย ๙ โกฏิมาสรางพระคันธกุฎี เปนที่ประทับอยูสําหรับพระตถาคตในวิหารชื่อวา บุพพาราม อันประดับดวยหอง ๑,๐๐๐ หอง

ก็นิเวศนของนางวิสาขา เวลาเชาก็มลังเมลืองดวยผากาสาวะ คลาคล่ําไปดวยนักแสวงบุญ ในเรือนแมของนางวิสาขานั้น ก็จัดทานไว พรอมสรรพเหมือนในเรือนของทานอนาถบิณฑิกเศรษฐี นางวิสาขานั้น เวลาเชาก็ทําอานิสสงเคราะหแกพระภิกษุสงฆ ภายหลังอาหารก็ใหบาวไพร ถือเภสัช ยา และน้ําอัฐบานไปยังวิหาร ถวายแกพระภิกษุสงฆ ฟงพระธรรมเทศนาของพระศาสดา แลวก็กลับมา ภายหลังตอมา พระศาสดาเมื่อทรงสถาปนาเหลาอุบาสิกาไวในตําแหนงตางๆ ตามลําดับ จึงทรงสถาปนา นางวิสาชามิคารมารดาไวในตําแหนงเอตทัคคะเปนเลิศกวาพวก อุบาสิกาผูถวายทาน แล

จบอรรถกถาสูตรที่ ๒

 
  ความคิดเห็นที่ 16  
 
chatchai.k
วันที่ 7 มิ.ย. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ