เรื่องพระกุณฑลเกสีเถรี

 
chatchai.k
วันที่  8 มิ.ย. 2564
หมายเลข  34375
อ่าน  1,451

[เล่มที่ 41] พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 434

๓. เรื่องพระกุณฑลเกสีเถรี [๘๓]

ขอความเบื้องตน

พระศาสดาเมื่อประทับอยูในพระเชตวัน ทรงปรารภนางกุณฑลเกสี ตรัสพระธรรมเทศนานี้วา "โย จ คาถา สต ภาเส" เปนตน ธิดาเศรษฐีไดโจรเปนสามี

ดังไดสดับมา ธิดาเศรษฐีคนหนึ่งในกรุงราชคฤหมีอายุยาง ๑๖ ป มีรูปสวย นาดู ก็นารีทั้งหลายผูตั้งอยูในวัยนั้น ยอมมีความฝกใฝใน บุรุษ โลเลในบุรุษ ครั้งนั้น มารดาบิดา ใหธิดานั้นอยูในหองอันมีสิริ บนพื้นชั้นบนแหงปราสาท ๗ ชั้น ไดกระทําทาสีคนเดียวเทานั้น ใหเปนผูบํารุงบําเรอนาง

ครั้งนั้น พวกราชบุรุษจับกุลบุตรคนหนึ่ง ผูกระทําโจรกรรม ไดมัดมือไพลหลัง โบยดวยหวายครั้งละ ๔ เสนๆ แลวนําไปสูที่สําหรับฆา ธิดาเศรษฐีไดยินเสียงของมหาชน คิดวา "นี่อะไรกันหนอแล ยืนแลดูอยูบนพื้นปราสาท เห็นโจรนั้นแลวก็มีจิตปฏิพัทธปรารถนาอยู หามอาหารแลวนอนบนเตียง" ลําดับนั้น มารดาถามนางวา "แม นี้ อยางไรกัน"

ธิดาเศรษฐี. ถาดิฉันจักไดบุรุษคนที่ถูกเขาจับนําไปวา 'เปนโจร' นั่นไซร ดิฉันจักเปนอยู ถาไมได ชีวิตดิฉันก็จะไมมี ดิฉันจักตาย ในที่นี้นี่แหละ


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 8 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 435

มารดา. แม เจาอยากระทําอยางนั้นเลย เจาจักไดสามีอื่นซึ่งเสมอ กันโดยชาติและโภคะของเรา.

ธิดาเศรษฐี. กิจดวยบุรุษอื่นสําหรับดิฉันไมมี ดิฉันเมื่อไมได บุรุษคนนี้ จักตาย

มารดา เมื่อไมอาจยังธิดาใหยินยอมไดจึงบอกแกบิดา ถึงบิดา นั้นก็ไมอาจยังธิดานั้นใหยินยอมได คิดวา "เราอาจจะกระทําอยางไรได" สงหอภัณฑะพันหนึ่งแกราชบุรุษ ผูใหจับโจรนั้น แลวเดินไปอยู ดวยคําวา "ทานจงรับภัณฑะนี้ไวแลว ใหบุรุษคนนั้นแกฉัน" ราชบุรุษนั้นรับคําวา "ดีละ" แลวรับกหาปณะ ปลอยโจรนั้นไป ฆาบุรุษอื่น แลวกราบทูลแดพระราชาวา "ขอเดชะขาพระองคฆาโจรแลว" แมเศรษฐีไดใหธิดาแกโจรนั้นแลว นางคิดวา "จักยังสามีให ยินดี" จึงตกแตงดวยเครื่องประดับทั้งปวง จัดแจงยาคูเปนตนแกโจร นั้นเองทีเดียว

โจรคิดอุบายพาภรรยาไปฆา

โดยกาลลวงไป ๒-๓ วัน โจรคิดวา "ในกาลไรหนอแล เรา จักไดเพื่อฆาหญิงนี้ ถือเอาเครื่องประดับของหญิงนี้ ขายกินในโรงสุรา แหงหนึ่ง" โจรนั้นคิดวา "อุบายนี้มีอยู" จึงหามอาหารเสียนอนบนเตียง ทีนั้น นางเขาไปหาโจรนั้นแลวถามวา "นาย อะไรเสียดแทงทาน"

โจร. อะไร ๆ ไมไดเสียดแทงดอก นางผูเจริญ.

ธิดาเศรษฐี. ก็มารดาบิดาของดิฉัน โกรธทานแลหรือ

โจร. ไมโกรธ นางผูเจริญ

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
chatchai.k
วันที่ 8 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 436

ธิดาเศรษฐี. เมื่อเปนเชนนั้น นี่ชื่ออะไร

โจร. นางผูเจริญ ฉันถูกจับนําไปในวันนั้น บนบาน (๑) ไวตอเทวดา ผูสถิตอยูที่ภูเขาทิ้งโจรไดชีวิตแลว แมหลอนฉันก็ไดดวยอานุภาพแหง เทวดานั้นเหมือนกัน นางผูเจริญ ฉันคิดวา "ฉันตั้งพลีกรรมนั้นไวตอ เทพดา"

ธิดาเศรษฐี. นาย อยาคิดเลย ดิฉันจักกระทําพลีกรรม ทาน จงบอก ตองการอะไร

โจร. ตองการขาวมธุปายาสชนิดมีน้ํานอย และดอกไมมีขาวตอก เปนที่ ๕.

ธิดาเศรษฐี. ดีละ นาย ดิฉันจักจัดแจง

ธิดาเศรษฐีนั้นจัดแจงพลีกรรมทุกอยางแลว จึงกลาววา "มาเถิด นาย เราไปกัน"

โจร. นางผูเจริญ ถาอยางนั้น หลอนใหพวกญาติของหลอนกลับเสีย ถือเอาผาและเครื่องประดับที่มีดามาก แลวจงตกแตงตัว เราจักหัวเราะ เลนพลางเดินไปอยางสบาย

นางไดกระทําอยางนั้นแลว ทันทีนั้น ในเวลาถึงเชิงเขา โจรนั้น กลาวกะนางวา "นางผูเจริญ เบื้องหนาแตนี้ เราจักไปกัน ๒ คน หลอนจงใหคนที่เหลือกลับพรอมกับยาน ยกภาชนะพลีกรรมถือไปเอง" นางไดกระทําอยางนั้น โจรพานางขึ้นสูภูเขาทิ้งโจร

ก็มนุษยทั้งหลายยอมขึ้นไปโดยขางๆ หนึ่งแหงภูเขานั้น ขางๆ หนึ่งเปนโกรกชัน มนุษยทั้งหลายยืนอยูบนยอดเขาแลว ยอมทิ้งโจร

(๑.)พลิกมฺม ปฏิสฺสณิตฺวา รับซึ่งพลีกรรม คือการบวงสรวง

 
  ความคิดเห็นที่ 3  
 
chatchai.k
วันที่ 8 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 437

ทั้งหลายโดยทางขางนั้นโจรเหลานั้นเปนทอนเล็กทอนนอยตกลงไปที่ พื้น; เพราะฉะนั้น เขาจึงเรียกวา " เขาทิ้งโจร." นางยืนอยูบนยอด เขานั้นกลาววา "นาย ทานจรทําพลีกรรมของทาน." โจรนั้นไดนิ่งแลว. เมื่อนางกลาวอีกวา "นาย เหตุไรทานจึงนิ่งเสียเลา" จึงบอกกะนางวา "ฉันไมตองการพลีกรรมดอก แตฉันลอลวงพาหลอนมา"

ธิดาเศรษฐี. เพราะเหตุไร นาย

โจร. เพื่อตองการฆาหลอนเสีย แลวถือเอาเครื่องประดับของ หลอนหนีไป.

นางถูกมรณภัยคุกคามแลว กลาววา "นายจา ดิฉันและเครื่องประดับของดิฉัน ก็เปนของๆ ทานทั้งนั้น เหตุไร ทานจึงพูดอยางนี้" โจรนั้นแมถูกออนวอนบอย ๆ วา "ทานจงอยากระทําอยางนี้" ก็กลาว วา "ฉันจะฆาใหได" นางกลาววา "เมื่อเปนเชนนั้น ทานจะตองการอะไร ดวยความตายของดิฉัน ทานถือเอาเครื่องประดับเหลานี้ แลวใหชีวิตแกดิฉันเถิด จําเดิมแตนี้ทานจงจําดิฉันวา 'ตายแลว' หรือ วาดิฉันจักเปนทาสีของทานกระทําหัตถกรรม" ดังนี้แลว กลาวคาถานี้วา:- "สายสรอยทองคําเหลานี้ ลวนสําเร็จดวยแกว ไพฑูรย ทานผูเจริญ ทานจงถือเอาทั้งหมด และ จงประกาศวาดิฉันเปนทาสี"

โจรฟงคํานั้นแลว กลาววา "เมื่อฉันกระทําอยางนั้น หลอนไปแลว ก็จักบอกแกมารดาบิดา ฉันจักฆาใหได หลอนอยาคร่ําครวญไปนักเลย" ดังนี้แลว กลาวคาถานี้วา :-

 
  ความคิดเห็นที่ 4  
 
chatchai.k
วันที่ 8 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 438

"หลอนอยาคร่ําครวญนักเลย จงรีบหอสิ่งของ เขาเถิด ชีวิตของหลอนไมมีดอก ฉันจะถือเอาสิ่ง ของทั้งหมด"

ธิดาเศรษฐีผลักโจรตกเขาตาย

นางคิดวา "โอ กรรมนี้หนัก ชื่อวาปญญา ธรรมดามิไดสราง มาเพื่อประโยชนแกงกิน ที่แท สรางมาเพื่อประโยชนพิจารณา เรา จักรูสิ่งที่ควรกระทําแกเขา"

ลําดับนั้น นางกลาวกะโจรนั้นวา "นาย ทานถูกจับนําไปวา 'เปนโจร' ในกาลใด ในกาลนั้น ดิฉันบอกแกมารดาบิดา ทาน ทั้งสองนั้นสละทรัพยพันหนึ่ง ใหนำทานมากระทําไวในเรือน จําเดิม แตนั้นดิฉันก็อุปการะทาน วันนี้ทานจงใหดิฉันกระทําตัว ( ทาน ) ให เห็นถนัดแลวไหว"

โจรนั้นกลาววา "ดีละ นางผูเจริญ หลอนจงทําตัว (ฉัน) ใหเห็นไดถนัด แลวไหวเถิด" ดังนี้แลว ก็ไดยืนอยูบนยอดเขา ทีนั้น นางทําประทักษิณ ๓ ครั้ง ไหวโจรนั้นในที่ ๔ สถาน แลว กลาววา "นาย นี้เปนการเห็นครั้งสุดทายของดิฉัน บัดนี้การที่ทานเห็นดิฉัน หรือการที่ดิฉันเห็นทานไมมีละ" แลวสวมกอดขางหนา ขางหลัง ยืนที่ขาง หลังเอามือขางหนึ่งจับโจรผูประมาท ยืนอยูบนยอดเขาตรงคอ เอามือขางหนึ่งจับตรงรักแรขางหลัง ผลักลงไปในเหวแหงภูเขา โจรนั้นถูกกระทบ ที่ทองแหงเขา เปนชิ้นเล็กชิ้นนอย ตกลงไปแลวที่พื้น

 
  ความคิดเห็นที่ 5  
 
chatchai.k
วันที่ 8 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 439

หญิงผูมีปญญาก็เปนบัณฑิตได

เทวดาผูสถิตอยูบนยอดเขาที่ทิ้งโจร เห็นกิริยาแมของชนทั้งสองนั้น จึงใหสาธุการแกหญิงนั้น แลวกลาวคาถานี้วา :-

"บุรุษนั่น เปนบัณฑิตในที่ทุกสถาน ก็หาไม แมสตรี ผูมีปญญาเห็นประจักษ ก็เปนบัณฑิตได ในที่นั้นๆ"

ธิดาเศรษฐีแมนั้น ครั้นผลักโจรลงไปในเหวแลว (คิดวา) "หากวา เราจักไปบาน มารดาบิดาจักถามวา 'สามีของเจาไปไหน หากเราถูกถามอยางนั้นจะตอบวา 'ดิฉันฆาเสียแลว' ทานจักทิ่มแทง เราดวยหอกคือปากวา 'นางคนหัวดื้อ เจาใหทรัพยพันหนึ่งใหนําผัวมา บัดนี้ ก็ฆาเขาเสียแลว' แมเมื่อเราบอกวา 'เขาปรารถนาจะฆาดิฉัน เพื่อตองการเครื่องประดับ 'ทานก็จักไมเชื่อ อยาเลยดวยบานของเรา" ดังนี้แลว ทิ้งเครื่องประดับไวในที่นั้นนั่นเอง เขาไปสูปา เที่ยวไปโดย ลําดับ ถึงอาศรมของพวกปริพาชกแหงหนึ่ง ไหวแลว กลาววา "ทาน ผูเจริญ ขอทานทั้งหลายจงใหการบรรพชา ในสํานักของทานแกดิฉัน เถิด" ลําดับนั้น ปริพาชกทั้งหลายใหนางบรรพชาแลว

ธิดาเศรษฐีบวชเปนปริพาชิกา

ธิดาเศรษฐีนั้นพอบวชแลว ถามวา "ทานผูเจริญ อะไรเปน สูงสุดแหงบรรพชาของทาน"

ปริพาชก. นางผูเจริญ บุคคลกระทําบริกรรมในกสิณ ๑๐ แลว

 
  ความคิดเห็นที่ 6  
 
chatchai.k
วันที่ 8 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 440

พึงยังฌานใหบังเกิดบาง พึงเรียนวาทะพันหนึ่งบาง นี้เปนประโยชน สูงสุดแหงบรรพชาของพวกเรา

ธิดาเศรษฐี. ดิฉันไมอาจจะยังฌานใหเกิดไดกอน แตจักเรียน วาทะพันหนึ่ง พระผูเปนเจา

ลําดับนั้น ปริพาชกเหลานั้น ยังนางใหเรียนวาทะพันหนึ่งแลว กลาววา "ศิลปะ ทานก็เรียนแลว บัดนี้ ทานจงเที่ยวไปบนพื้นชมพูทวีป ตรวจดูผูสามารถจะกลาวปญหากับตน" แลว ใหกิ่งหวาในมือ แกนาง สงไปดวยสั่งวา "ไปเถิด นางผูเจริญ หากใครๆ เปนคฤหัสถ อาจกลาวปญหากับทานได ทานจงเปนบาทปริจาริกา ของผูนั้นเทียว หากเปนบรรพชิต ทานจงบรรพชาในสํานักผูนั้นเถิด" นางมีชื่อวา ชัมพุปริพาชิกา ตามนาม (ไม) ออกจากที่นั้นเที่ยวถามปญหากะผูที่ตน เห็นแลวๆ คนชื่อวาผูสามารถจะกลาวกับนางไมไดมีแลว มนุษย ทั้งหลายพอฟงวา "นางชัมพุปริพาชิกามาแตที่นี้' ยอมหนีไป นางเขาไปสูบานหรือตําบลเพื่อภิกษา กอกองทรายไวใกลประตูบาน ปกกิ่งหวา บทกองทรายนั้น กลาววา "ผูสามารถจะกลาวกับเรา จงเหยียบกิ่งหวา" แลวก็เขาไปสูบาน ใครๆ ชื่อวาสามารถจะเขาไปยังที่นั้น มิไดมี แมนางยอมถือกิ่งอื่น ในเมื่อ กิ่งหวา (เกา) เหี่ยวแหง เที่ยวไปโดยทํานองนี้ ถึงกรุงสาวัตถี ปกกิ่ง (หวา) ใกลประตูบาน พูดโดยนัย ที่กลาวมาแลวนั่นแล เขาไปเพื่อภิกษา เด็กเปนอันมากไดยืนลอมกิ่งไม ไวแลว

 
  ความคิดเห็นที่ 7  
 
chatchai.k
วันที่ 8 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกายคาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 441

ธิดาเศรษฐีมีชื่อวากุณฑลเกสีเถรี

ในกาลนั้น พระสารีบุตรเถระเที่ยวไปเพื่อบิณฑบาต กระทําภัตกิจ แลวออกไปจากเมือง เห็นเด็กเหลานั้นยืนลอมกิ่งไม จึงถามวา "นี้ อะไร" เด็กทั้งหลายบอกเรื่องนั้นแกพระเถระแลว พระเถระกลาววา "เด็กทั้งหลาย ถาอยางนั้น พวกเจาจงเหยียบกิ่งไมนี้"

พวกเด็ก. พวกกระผมกลัว ขอรับ

พระเถระ. เราจักกลาวปญหา พวกเจาเหยียบเถิด เด็กเหลานั้น เกิดความอุตสาหะดวยคําของพระเถระ กระทําอยางนั้น โหรองอยู โปรยธุลีขึ้นแลว

นางปริพาชิกามาแลวดุเด็กเหลานั้น กลาววา "กิจดวยปญหาของเรากับพวกเจาไมมี เหตุไร พวกเจาจึงพากันเหยียบกิ่งไมของเรา" พวกเด็กกลาววา "พวกเรา อันพระผูเปนเจาใชใหเหยียบ"

นางปริพาชิกา. ทานผูเจริญ ทานใชพวกเด็กเหยียบกิ่งไมของดิฉันหรือ

พระเถระ. เออ นองหญิง

นางปริพาชิกา. ถาอยางนั้น ทานจงกลาวปญหากับดิฉัน

พระเถระ. ดีละ เราจักกลาว

นางปริพาชิกานั้น ไดไปสูสํานักของพระเถระเพื่อถามปญหาในเวลาเงาไมเจริญ (คือเวลาบาย) ทั่วทั้งเมือง ลือกระฉอนกันวา "พวกเราจักฟงถอยคําของ ๒ บัณฑิต" พวกชาวเมืองไปกับนางปริพาชิกานั้น เหมือนกัน ไหวพระเถระแลวนั่ง ณ ที่สุดขางหนึ่ง

 
  ความคิดเห็นที่ 8  
 
chatchai.k
วันที่ 8 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 442

นางปริพาชิกา กลาวกะพระเถระวา "ทานผูเจริญ ดิฉันจักถาม ปญหากะทาน"

พระเถระ. ถามเถิด นองหญิง

นางถามวาทะพันหนึ่งแลว พระเถระแกปญหาที่นางถามแลวๆ ลําดับนั้น พระเถระกลาวกะนางวา "ปญหาของทานมีเทานี้ ปญหาแมอื่นมีอยูหรือ"

นางปริพาชิกา. มีเทานี้แหละ ทานผูเจริญ

พระเถระ. ทานถามปญหาเปนอันมาก แมเราจักถามสักปญหาหนึ่ง ทานจักแกไดหรือไม

นางปริพาชิกา. ดิฉันรูก็จักแก จงถามเถิด ทานผูเจริญ

พระเถระ ถามปญหาวา "อะไร ชื่อวาหนึ่ง" นางปริพาชิกา นั้น ไมรูวา "ปญหานี้ ควรแกอยางนี้" จึงถามวา "นั่นชื่อวาอะไร ทานผูเจริญ"

พระเถระ. ชื่อพุทธมนต นองหญิง

นางปริพาชิกา. ทานจงใหพุทธมนตนั้น แกดิฉันบาง ทานผูเจริญ

พระเถระ. หากวา ทานจักเปนเชนเรา เราจักให

นางปริพาชิกา. ถาเชนนั้น ขอทานยังดิฉันใหบรรพชาเถิด

พระเถระ บอกแกนางภิกษุณีทั้งหลายใหบรรพชาแลว นางครั้นไดบรรพชาอุปสมบทแลว มีชื่อวา กุณฑลเกสีเถรี บรรลุพระอรหัต พรอมดวยปฏิสัมภิทาทั้งหลายโดย ๒-๓ วันเทานั้น

 
  ความคิดเห็นที่ 9  
 
chatchai.k
วันที่ 8 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกายคาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 443

ชนะกิเลสประเสริฐ

ภิกษุทั้งหลาย สนทนากันในโรงธรรมวา "การฟงธรรมของ นางกุณฑลเกสีเถรีไมมีมาก กิจแหงบรรพชิตของนางถึงที่สุดแลว ได ยินวา นางทํามหาสงครามกับโจรคนหนึ่งชนะแลวมา" พระศาสดาเสด็จมาแลวตรัสถามวา "ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ พวกเธอนั่งสนทนากันดวยถอยคําอะไรหนอ" เมื่อภิกษุทั้งหลายนั้น กราบทูล วา "ถอยคําชื่อนี้" จึงตรัสวา "ภิกษุทั้งหลาย พวกเธออยานับธรรม ที่เราแสดงแลววา 'นอยหรือมาก' บทที่ไมเปนประโยชนแม ๑๐๐ บท ไมประเสริฐ สวนบทแหงธรรมแมบทเดียวประเสริฐกวาเทียว อนึ่ง เมื่อบุคคลชนะโจรที่เหลือ หาชื่อวาชนะไม สวนบุคคลชนะโจรคือกิเลส อันเปนไปภายในนั่นแหละ จึงชื่อวาชนะ" เมื่อจะทรงสืบอันสนุธิแสดงธรรม จึงตรัสพระคาถาเหลานี้วา :-

๓. โย จ คาถาสต ภาเส อนตฺถปทสฺหิตา เอก ธมฺมปท เสยฺโย ย สุตฺวา อุปสมฺมติ. โย สหสฺส สหสฺเสน สงฺคาเม มานุเส ชิเน เอกฺจ เชยฺยมตฺตาน ส เว สงฺคามชุตฺตโม.

"ก็ผูใด พึงกลาวคาถาตั้งรอย ซึ่งไมประกอบ ดวยบพเปนประโยชน บทแหงธรรมบทเดียวที่บุคคล ฟงแลวสงบระงับได ประเสริฐกวา (การกลาว คาถาตั้ง ๑๐๐ ของผูนั้น) ผูใด พึงชนะมนุษย พันหนึ่งคูณดวยพันหนึ่ง (คือ ๑ ลาน) ในสงคราม

 
  ความคิดเห็นที่ 10  
 
chatchai.k
วันที่ 8 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 444

ผูนั้น หาชื่อวาเปนยอดแหงชนผูชนะในสงครามไม สวนผูใดชนะตนคนเดียวได, ผูนั้นแล เปนยอดแหง ผูชนะ ในสงคราม"

แกอรรถ

บรรดาบทเหลานั้น สองบทวา คาถาสต ความวา ก็บุคคลใด พึงกลาวคาถากําหนดดวยรอย คือเปนอันมาก. บาทพระคาถาวา อนตฺถปทสฺหิตา ความวา ประกอบดวยบททั้งหลายอันไมมีประโยชน ดวยอํานาจพรรณนาอากาศเปนตน

บทที่ปฏิสังยุตดวยธรรมมีขันธเปนตน สําเร็จประโยชน ชื่อวา บทธรรม. บรรดาธรรม ๔ ที่พระศาสดาตรัสไวอยางนี้วา "ปริพาชก ทั้งหลาย บทธรรม ๔ เหลานี้ ๔ คืออะไรบาง ปริพาชกทั้งหลาย บทธรรมคือ ความไมเพงเล็ง บทธรรมคือความไมปองราย บทธรรม คือความระลึกชอบ บทธรรมคือความตั้งใจไวชอบ บทธรรมแมบท เดียวประเสริฐกวา"

บาทพระคาถาวา โย สหสฺส สหสฺเสน ความวา ผูใดคือ นักรบในสงคราม พึงชนะมนุษยพันหนึ่งซึ่งคูณดวยพัน ในสงคราม ครั้งหนึ่ง ไดแกชนะมนุษย ๑๐ แสนแลว พึงนําชัยมา แมผูนี้ ก็หา ชื่อวา เปนยอดแหงชนทั้งหลายผูชนะในสงครามไม. บาทพระคาถาวา เอกฺจ เชยฺยมตฺตาน ความวา สวนผูใด พิจารณากัมมัฏฐานอันเปนไปในภายใน ในที่พักกลางคืนและที่พักกลางวัน พึงชนะตน ดวยการชนะกิเลสมีโลภะเปนตน ของตนได

 
  ความคิดเห็นที่ 11  
 
chatchai.k
วันที่ 8 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 445

บาทพระคาถาวา ส เว สงฺคามชุตฺตโม ความวา ผูนั้นชื่อวา เปนยอด คือประเสริฐ แหงชนทั้งหลายผูชนะในสงคราม ไดแก เปน นักรบเยี่ยมในสงคราม

ในเวลาจบเทศนา ชนเปนอันมากบรรลุอริยผลทั้งหลาย มีโสดาปตติผลเปนตน ดังนี้แล

เรื่องพระกุณฑลเกสีเถรี จบ

 
  ความคิดเห็นที่ 12  
 
chatchai.k
วันที่ 8 มิ.ย. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ