ประวัติพระมหากัสสปเถระ

 
chatchai.k
วันที่  13 มิ.ย. 2564
หมายเลข  34409
อ่าน  890

[เล่มที่ 32] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๑ หน้า 275

เอตทัคคบาลี

อรรถกถาสูตรที่ ๔

ประวัติพระมหากัสสปเถระ


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

[เล่มที่ 32] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๑ หน้า 275

ในสูตรที่ ๔ พึงทราบวินิจฉัยดังตอไปนี้ :-

ในบทวา ธุตวาทาน นี้ พึงทราบธุตบุคคล (บุคคลผูกําจัดกิเลส) ธุตวาทะ (การสอนเรื่องการกําจัดกิเลส) ธุตธรรม (ธรรมเครื่อง กําจัดกิเลส) ธุดงค (องคของผูกําจัดกิเลส)


พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 276

บุคคลกําจัดกิเลส หรือ ธรรมอันกําจัดกิเลส

บรรดาบทเหลานั้น บทวา ธุโต ไดแก บุคคลกําจัดกิเลสหรือธรรมอันกําจัดกิเลส

ก็ในบทวา ธุตวาโท นี้ (พึงทราบวา) มีบุคคลผูกําจัดกิเลส ไมมีการสอนเรื่องกําจัดกิเลส ๑ มีบุคคลผูไมกําจัดกิเลส แตมีการ สอนเรื่องกําจัดกิเลส ๑ มีบุคคลผูไมกําจัดกิเลส ทั้งไมมีการสอน เรื่องกําจัดกิเลส ๑ มีบุคคลผูทั้งกําจัดกิเลส และมีการสอนเรื่อง กําจัดกิเลส ๑ ในบรรดาบุคคลเหลานั้น บุคคลไดกําจัดกิเลสของตนดวยธุดงค แตไมโอวาท ไมอนุศาสนคนอื่นดวยธุดงค เหมือนพระพักกุลเถระ บุคคลนี้ชื่อวา ผูกําจัดกิเลส แตไมมีการสอนเรื่อง กําจัดกิเลส เหมือนดังทานกลาววา คือ ทานพระพักกุละเปนผูกําจัดกิเลส แตไมมีการสอนเรื่อง กําจัดกิเลสแกบุคคลใด ไมกําจัดกิเลสของตนดวยธุดงค แตโอวาทอนุศาสนคนอื่นดวยธุดงคอยางเดียว เหมือนพระอุปนันทเถระ ก็บุคคลนี้ชื่อวา ไมเปนผูกําจัดกิเลส แตมี การสอนเรื่องกําจัดกิเลส เหมือนดังทานกลาววาคือ ทานพระอุปนันทะศากยบุตร ไมเปนกําจัดกิเลส แตมีการสอนเรื่องกําจัดกิเลส ก็บุคคลใดไมกําจัดกิเลสของตนดวยธุดงค ไมโอวาท ไมอนุศาสน คนอื่นดวยธุดงค เหมือนพระโลลุทายีเถระ ก็บุคคลนี้ชื่อวา ไมเปน ผูกําจัดกิเลส (และ) ไมมีการสอนเรื่องกําจัดกิเลส เหมือนดังทานกลาววา คือ ทาน พระมหาโลลุทายี ไมเปนผูกําจัดกิเลส ไมมีการสอนเรื่องกําจัดกิเลส สวนบุคคลใดสมบูรณ ดวยการกําจัดกิเลส และมีการสอนเรื่องกําจัดกิเลส เหมือนพระมหากัสสปเถระ บุคคลนี้ ชื่อวา เปนผูกําจัดกิเลส และมีการสอนเรื่องกําจัดกิเลสเหมือนดัง

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 277

ทานพระมหากัสสปะเปนผูกําจัดกิเลส

ทานกลาววา คือ ทานพระมหากัสสปะเปนผูกําจัดกิเลสและมีการ สอนเรื่องกําจัดกิเลส ดังนี้

บทวา ธุตธมฺมา เวทิตพฺพา ความวา ธรรม ๕ ประการ อันเปนบริวารของธุดงคเจตนาเหลานี้ คือ ความเปนผูมักนอย ๑ ความเปนผูสันโดษ ๑ ความเปนผูขัดเกลา ๑ ความเปนผูสงัด ๑ ความเปนผูมีสิ่งนี้ ๑ ชื่อวาธรรมเครื่องกําจัดกิเลส เพราะพระบาลี วา อปฺปจฺฉ เยว นิสฺสาย (อาศัยความมักนอยเทานั้น) ดังนี้ เปนตน ในธรรม ๕ ประการนั้น ความมักนอยและความสันโดษ เปนอโลภะ ความขัดเกลาและความวิเวกจัดเขาในธรรม ๒ ประการ คือ อโลภะและอโมหะ ความเปนผูมีสิ่งนี้คือ ญาณนั่นเอง บรรดา อโลภะและอโมหะเหลานั้น กําจัดความโลภในวัตถุที่ตองหามดวย อโลภะ กําจัดโมหะอันปกปดโทษในวัตถุที่ตองหามเหลานั้นแหละ ดวยอโมหะ อนึ่งกําจัดกามสุขัลลิกานุโยคอันเปนไปโดยมุข คือ การสองเสพสิ่งที่ทรงอนุญาต ดวยอโลภะ กําจัดอัตตกิลมถานุโยค อันเปนไปโดยมุขคือ การขัดเกลายิ่งในธุดงคทั้งหลาย ดวยอโมหะ เพราะฉะนั้นธรรมเหลานี้ พึงทราบวาธรรมเครื่องกําจัดกิเลส

บทวา ธุตงฺคานิ เวทิตพฺพานิ ความวา พึงทราบธุดงค ๑๓ คือ ปงสุกูลิกังคะ (องคของภิกษุผูถือผาบังสุกุลเปนวัตร) ฯลฯ เนสัชชิกังคะ (องคของภิกษุผูถือการนั่งเปนวัตร) บทวา ธุตวาทาน ยทิท มหากสฺสโป ความวา ทรงสถาปนา ไวในตําแหนงเอตทัคคะในระหวางภิกษุผูสอนธุดงควา มหากัสสปเถระนี้เปนยอด. บทวา มหากสฺสโป ความวา ทานกลาววา ทาน

 
  ความคิดเห็นที่ 3  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 278

พระมหากัสสปะองคนี้ เพราะเทียบกับพระเถระเล็กนอยเหลานี้ คือ พระอุรุเวลกัสสปะ พระนทีกัสสปะ พระคยากัสสปะ พระกุมารกัสสปะ. ในปญหากรรม แมของพระมหากัสสปะนี้มีเรื่องที่กลาว ตามลําดับดังตอไป

ไดยินวา ในอดีตกาล ปลายแสนกัป พระศาสนาพระนามวา ปทุมุตตระ อุบัติขึ้นในโลก เมื่อพระองคเสด็จเขาไปอาศัยกรุงหงสวดี ประทับอยูในเขมมฤคทายวัน กุฎมพีนามวา เวเทหะ มีทรัพยสมบัติ ๘๐ โกฎิ บริโภคอาหารดีแตเชาตรู อธิษฐานองคอุโบสถ ถือของหอม และดอกไมเปนตนไปพระวิหารบูชาพระศาสดา ไหวแลวนั่ง ณ ที่ ควรสวนขางหนึ่ง. ขณะนั้น พระศาสดาทรงสถาปนาสาวกองคที่ ๓ นามวามหานิสภเถระไวในตําแหนงเอตทัคคะวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย นิสภะเปนยอดของภิกษุสาวกของเราผูสอนธุดงค. อุบาสกฟง พระดํารัสนั้นแลวเลื่อมใสเวลาจบธรรมกถา มหาชนลุกไปแลว จึงถวายบังคมพระศาสดากราบทูลวา ขาแตพระองคผูเจริญ ขอพระองคทรงรับภิกษาของขาพระองคในวันพรุงนี้. พระศาสดา ตรัสวา อุบาสก ภิกษุสงฆมากนะ อุบาสกทูลถามวา ขาแตพระผูมีพระภาคเจา ภิกษุสงฆมีประมาณเทาไร พระศาสดาตรัสวา มีประมาณหกลานแปดแสนองค อุบาสกกราบทูลวา ขาแตพระองค ผูเจริญ ขอพระองคจงรับภิกษา แมแตสามเณรรูปเดียวก็อยาเหลือ ไวในวิหาร. พระศาสดาทรงรับนิมนตดวยดุษณีภาพ. อุบาสก รูวาพระศาสดาทรงรับนิมนตแลว จึงไปเรือนตระเตรียมมหาทาน ในวันรุงขึ้น สงใหคนไปกราบทูลเวลา (ภัตตาหาร) สูพระศาสดา

 
  ความคิดเห็นที่ 4  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 279

พระศาสดาทรงถือบาตรและจีวร มีภิกษุสงฆหอมลอมไปยังเรือน ของอุบาสก ประทับนั่งบนอาสนะที่เขาแตงไวถวาย. เวลาเสร็จ หลั่งน้ําทักษิโณทก ทรงรับขาวตมเปนตน ไดทรงสละขาวสวย. แมอุบาสกก็นั่งอยูที่ใกลพระศาสดา.

ระหวางนั้น พระมหานิสภเถระกําลังเที่ยวบิณฑบาต เดินไปยังถนนนั้นนั่นแหละ อุบาสกเห็นจึงลุกขึ้นไปไหวพระเถระแลว กลาววา ทานผูเจริญ ขอทานจงใหบาตร พระเถระไดใหบาตร. อุบาสกกลาววา ทานผูเจริญ ขอนิมนตเขาไปในเรือนนี้แหละ แม พระศาสดาก็ประทับนั่งอยูในเรือน. พระเถระกลาววา ไมควรนะ อุบาสก. อุบาสกรับบาตรของพระเถระใสบิณฑบาตเต็มแลว ไดนําออกไปถวาย. จากนั้น ไดเดินสงพระเถระไปแลวกลับมานั่งในที่ใกลพระศาสดา กราบทูลอยางนี้วา ขาแตพระองคผูเจริญ พระมหานิสภเถระแมขาพระองคกลาววา พระศาสดาประทับอยูในเรือน ก็ไมปรารถนาจะเขามา พระมหานิสภเถระนั่น มีคุณยิ่งกวาพระองค หรือหนอ อันธรรมดาพระพุทธเจาทั้งหลาย. ยอมไมมีวรรณมัจฉริยะ. (ตระหนี่คุณความดีของคนอื่น) ลําดับนั้น พระศาสดาตรัส อยางนี้วา ดูกอนอุบาสก เรานั่งคอยภิกษาอยูในเรือน แตภิกษุนั้น ไมนั่งคอยภิกษาในเรือนอยางนี้ เราอยูในเสนาสนะชายบาน ภิกษุ นั้นอยูในปาเทานั้น เราอยูในที่มุงบัง ภิกษุนั้นอยูกลางแจงเทานั้น ดังนั้น ภิกษุนั้นมีคุณนี้ๆ ตรัสประหนึ่งทํามหาสมุทรใหเต็มฉะนั้น. อุบาสกแมตามปกติเปนผูเลื่อมใสดียิ่งอยูแลว จึงเปนประหนึ่งประทีป ที่ลุกโพรงอยู (ซ้ํา) ถูกราดดวยน้ํามันฉะนั้น คิดวา ตองการอะไรดวย

 
  ความคิดเห็นที่ 5  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 280

สมบัติอื่นสําหรับเรา เราจักการทําความปรารถนา เพื่อตองการความ เปนยอด ของภิกษุทั้งหลายเปนธุตวาทะในสํานักของพระพุทธเจา พระองคหนึ่งในอนาคต

อุบาสกแมนั้นจึงนิมนตพระศาสดาอีก ถวายมหาทานทํานอง นั้นนั่นแหละถึง ๗ วัน วันที่ ๗ ถวายไตรจีวรแกภิกษุสงฆมีพระพุทธเจาเปนประมุข. แลวหมอบกราบพระบาทของพระศาสดา กราบทูลอยางนี้วา ขาแตพระองคผูเจริญ ดวยเมตตากายกรรม เมตตา วจีกรรม เมตตามโนกรรม ของขาพระองคผูถวายมหาทาน ๗ วัน ขาพระองคจะปรารถนาสมบัติของเทวดา หรือสมบัติของทาวสุกกะมาร และพรหม สักอยางหนึ่งก็หาไม ก็กรรมของขาพระองคนี้ จงเปนปจจัยแกความเปนยอดของภิกษุผูทรงธุดงค ๓ เพื่อตองการ ถึงตําแหนงที่พระมหานิสภเถระถึงแลว ในสํานักของพระพุทธเจา พระองคหนึ่ง ในอนาคต. พระศาสดาทรงตรวจวา ที่อุบาสกนี้ ปรารถนาตําแหนงใหญ จักสําเร็จหรือไมหนอ ทรงเห็นวาสําเร็จ จึงตรัสวา ทานปรารถนาอัครฐานอันใหญโต พระพุทธเจาพระนาม วาโคดม จักอุบัติขึ้นในที่สุดแสนกัปในอนาคต ทานจักเปนพระสาวก ที่ ๓ ของพระโคดมพุทธเจานั้น ชื่อวามหากัสสปเถระ. อุบาสก ไดฟงพุทธพยากรณนั้นแลว คิดวา ธรรมดาวาพระพุทธเจาทั้งหลาย ยอมไมตรัสเปนคํา ๒ จึงไดสําคัญสมบัตินั้นเหมือนดังจะไดในวันพรุงนี้. อุบาสกนั้นดํารงอยูชั่วอายุ ถวายทานมีประการตางๆ รักษาศีลกระทํากุศลกรรมนานัปประการ ตายไปในอัตภาพนั้น แลวบังเกิดในสวรรค

 
  ความคิดเห็นที่ 6  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 281

จําเดิมแตนั้น เขาเสวยสมบัติทั้งในเทวดาและมนุษย ในกัป ที่ ๙๑ แตภัตรกัปนี้ เมื่อพระวิงสสีสัมมาสัมพุทธเจาทรงอาศัย กรุงพันธุมดีประทับอยูในมฤคทายวันอันเกษม ก็จิตุจากเทวโลกไปเกิด ในตระกูลพราหมณเกาแกตระกูลหนึ่ง

ก็ในครั้งนั้น พระผูมีพระภาคเจาพระนามวิปสสี ตรัสพระธรรมเทศนาทุกๆ ปที่ ๗ ไดมีควานโกลาหลใหญหลวง เทวดาทั้งหลายทั่วชมพูทวีป ไดบอกพราหมณนั้นวา พระศาสดาจักทรง แสดงธรรม. พราหมณไดสดับขาวนั้น. พราหมณนั้น มีผานุง อยูผืนเดียว นางพราหมณีก็เหมือนกัน แตทั้งสองคนมีผาหมอยู ผืนเดียวเทานั้น จึงปรากฏไปทั่วพระนครวา เอกสาฎกพราหมณ. เมื่อพวกพราหมณประชุมกัน ดวยกิจบางอยาง ตองใหนางพราหมณี อยูบาน ตนเองไป เมื่อ (ถึงคราว) พวกพราหมณีประชุมกัน ตนเอง ตองอยูบาน นางพราหมณีหมผานั้นไป (ประชุม) ก็ในวันนั้นพราหมณ พูดกะพราหมณีวา แมมหาจําเริญ เธอจักฟงธรรมกลางคืนหรือ กลางวัน. พราหมณีพูดวา พวกฉันชื่อวาเปนหญิงแมบาน ไมอาจ ฟงกลางคืนไดขอฟงกลางวันเถิด แลวใหพราหมณอยูเฝาบาน (ตนเอง) หมผานั้นไปตอนกลางวันพรอมกับพวกอุบาสิกา ถวายบังคมพระศาสดาแลวนั่ง ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง ฟงธรรมแลว กลับ มาพรอมกับพวกอุบาสิกา ทีนั้นพราหมณ ไดใหพราหมณีอยูบาน (ตนเอง) หมผานั้นไปวิหาร สมัยนั้น พระบรมศาสดาประทับนั่ง บนธรรมาสนที่เขาตกแตงไวทามกลางบริษัท ทรงจับพัดอันวิจิตร ตรัสธรรมกถาประหนึ่งทําสัตวใหขามอากาศคงคา และประหนึ่ง

 
  ความคิดเห็นที่ 7  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 282

ทรงกระทําเขาสิเนรุใหเปนโมกวนสาคร ฉะนั้น. เมื่อพราหมณ นั่งฟงธรรมอยูทายบริษัท ปติ ๕ ประการเกิดขึ้นเต็มทั่วสรีระ ในปฐมยามนั่นเอง พราหมณนั้นดึงผาที่ตนหมออกมาคิดวา จักถวาย พระทศพล. ครั้งนั้น ความตระหนี่ชี้โทษถึงพันประการเกิดขึ้น แกพราหมณนั้นวา พราหมณีกับเรามีผาหมผืนเดียวเทานั้น ผาหม ผืนอื่นไรๆ ไมมี ก็ธรรมดาวาไมหมผาก็ออกไปขางนอกไมได จึงตกลงใจไมตองการถวายโดยประการทั้งปวง ครั้นเมื่อปฐมยาม ลวงไป ปติเหมือนอยางนั้นนั่นแหละเกิดขึ้นแกพราหมณนั้น แมใน มัชฌิมยาม พราหมณคิดเหมือนอยางนั้นแลวไมไดถวายเหมือน เชนนั้น. ครั้นเมื่อมัชฌิมยามลวงไป ปติเหมือนอยางนั้นนั่นแหละ เกิดขึ้นแกพราหมณนั้นแมในปจฉิมยาม. พราหมณนั้นคิดวา เปนไร เปนกัน คอยรูกันทีหลัง ดังนี้แลวดึงผามาวางแทบพระบาทพระบรมศาสดา. ตอแตนั้นก็งอมือซายเอามือขวาตบลง ๓ ครั้งแลว บันลือขึ้น ๓ วาระวา ชิต เม ชิต เม ชิต เม (เราชนะแลวๆ) .

สมัยนั้น พระเจาพันธุมราชประทับนั่งสดับธรรมอยูภายใน มานหลังธรรมาสน อันธรรมดาพระราชาไมทรงโปรดเสียงวา ชิต เม ชิต เม จึงสงราชบุรุษไปดวย พระดํารัสวา เธอจงไปถาม พราหมณนั้นวา เขาพูดทําไม. พราหมณนั้นถูกราชบุรุษไปถาม จึงกลาววา คนอื่นนอกจากขาพเจา ขึ้นยานคือชางเปนตน ถือดาบ และโลหนังเปนตน จึงไดชัยชนะกองทัพขาศึก ชัยชนะนั้น ไมนาอัศจรรย สวนเราไดย่ํายีจิตตระหนี่แลว ถวายผาที่หมอยู แดพระทศพล เหมือนคนเอาฆอนทุบตัวโคโกงที่ตามมาขางหลัง ทําใหมันหนีไป ชัยชนะของเรานั้นจึงนาอัศจรรย ราชบุรุษจึงไป

 
  ความคิดเห็นที่ 8  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 283

กราบทูลเรื่องราวนั้นแดพระราชา. พระราชารับสั่งวา พนาย พวกเรา ไมรูสิ่งที่สมควรแกพระทศพล พราหมณรู จึงใหสงผาคูหนึ่ง (ผานุง กับผาหม) ไปพระราชทาน พราหมณเห็นผาคูนั้นแลวคิดวา พระราชานี้ไมพระราชทานอะไรเปนครั้งแรกแกเราผูนั่งนิ่งๆ เมื่อ เรากลาวคุณทั้งหลายของพระบรมศาสดาจึงไดพระราชทาน จะมี ประโยชนอะไรแกเรากับผาคูที่อาศัยพระคุณของพระบรมศาสดา เกิดขึ้น จึงไดถวายผาคูแมคูนั้นแดพระทศพลเสียเลย. พระราชา ตรัสถามวา พราหมณทําอยางไร ทรงสดับวา พราหมณถวายผาคู แมนี้แดพระตถาคตเทานั้น จึงรับสั่งใหสงผาคู ๒ ชุดแมอื่นไป พระราชทาน. พราหมณนั้นไดถวายผาคู ๒ ชุดแมนั้น. พระราชา ทรงสงผาคู ๔ ชุดแมอื่นไปพระราชทาน ทรงสงไปพระราชทาน ถึง ๓๒ คู ดวยประการอยางนี้. ลําดับนั้น พราหมณคิดวา การทํา ดังนี้ เปนเหมือนใหเพิ่มขึ้นแลวจึงจะรับเอา จึงถือเอาผา ๒ คู คือ เพื่อประโยชนแกตนคู ๑ เพื่อนางพราหมณีคู ๑ แลวถวายเฉพาะ พระทศพล ๓๐ คู. จําเดิมแตนั้น พราหมณก็ไดเปนผูสนิทสนมกับ พระบรมศาสดา. ครั้นวันหนึ่งพระราชาทรงสดับธรรมในสํานักของ พระบรมศาสดาในฤดูหนาว ไดพระราชทานผากัมพลแดงสําหรับหม สวนพระองคมีมูลคาพันหนึ่งกะพราหมณ แลวรับสั่งวา จําเดิม แตนี้ไป ทานจงหมผากัมพลแดงผืนนี้ฟงธรรม พราหมณนั้นคิดวา เราจะประโยชนอะไรกับผากัมพลแดงนี้ ที่จะนอมนําเขาไปในกาย อันเปอยเนานี้ จึงไดทําเปนเพดานเหนือเตียงของพระตถาคตใน ภายในพระคันธกุฏีแลวก็ไป อยูมาวันหนึ่ง พระราชาเสด็จไป พระวิหารแตเชาตรู ประทับนั่งในที่ใกลพระบรมศาสดาในพระคันธกุฏ

 
  ความคิดเห็นที่ 9  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 284

ก็ในขณะนั้น พระพุทธรัศมีมีพรรณ ๖ ประการ กระทบที่ผากัมพล ผากัมพลก็บรรเจิดจาขึ้น พระราชาทอดพระเนตรเห็นก็จําไดจึง กราบทูลวา ขาแตพระองคผูเจริญ ผากัมพลผืนนี้ของขาพระองคๆ ใหเอกสาฎกพราหมณ. มหาบพิตร พระองคบูชาพราหมณ พราหมณ บูชาอาตมภาพ. พระราชาทรงเลื่อมใสวา พราหมณรูสิ่งที่เหมาะที่ควร เราไมรู จึงพระราชทานสิ่งที่เปนของเกื้อกูลแกมนุษยทุกอยางๆ ละ ๘ ชนิด ๘ ครั้ง ใหเปนของประทานชื่อวา สัพพัฏฐกทานแลว ทรงตั้งใหเปนปุโรหิต. พราหมณนั้นคิดวา ชื่อวาของ ๘ ชนิด ๘ ครั้ง ก็เปน ๖๔ ชนิด จึงสลากภัต ๖๔ ที่ ใหทานรักษาศีลตลอดชีวิต จุติจากชาตินั้นไปเกิดในสวรรค จุติจากสวรรคกลับมาเกิดในเรือน ของกุฏมพี ในกรุงพาราณสี ในระหวางกาลของพระพุทธเจา ๒ พระองค คือ พระผูมีพระภาคเจาโกนาคมน และพระกัสสปทศพล ในกัปนี้. เขาเจริญวัยก็แตงงานมีเหยาเรือน วันหนึ่ง เดินเที่ยวพักผอน ไปในปา.

ก็สมัยนั้น พระปจเจกพุทธเจากระทําจีวรกรรม (คือการ เย็บจีวร) อยูที่ริมแมน้ํา ผาอหวาต (ผาแผนบางๆ ที่ทาบไป ตามชายสบงจีวรและสังฆาฏิ) ไมพอจึงเริ่มจะพับเก็บ เขาเห็น เขาจึงกลาวถามวา เพราะอะไรจึงจะพับเก็บเสียเลา เจาขา. พระปจเจกพุทธเจากลาววา ผาอนุวาตไมพอ. กุฏมพีกลาววา โปรด เอาผาสาฎกนี้ทําเถิดเจาขา. เขาถวายผาวาฎกแลว ตั้งความปรารถนา วา ในที่ที่ขาพเจาเกิดแลวๆ ความเลื่อมไสๆ ขอจงอยาไดมี. ครั้งนั้น พระปจเจกพุทธเจา เขาไปบิณฑบาตแมในเรือนของเขา ในเมื่อภรรยากับนองสาวกําลังทะเลาะกัน. ทีนั้น นองสาวของเขา

 
  ความคิดเห็นที่ 10  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 285

ถวายบิณฑบาตแกพระปจเจกพุทธเจาแลว กลาวอยางนี้มุงถึงภรรยา ของเขา ตั้งความปรารถนาวา ขอใหเราหางไกลหญิงพาลเห็นปานนี้ รอยโยชน. ภรรยาของเขายืนอยูที่ลานบานไดยินจึงคิดวา พระรูป นี้จงอยาไดฉันอาหารที่นางคนนี้ถวาย จึงจับบาตรมาเทบิณฑบาตทิ้ง แลวเอาเปอกตมมาใสจนเต็ม. นางเห็นจึงกลาววา หญิงพาลเจาจง ดาจงบริภาษเรากอนเถิด การเทภัตตาหารจากบาตรของทานผูได บําเพ็ญบารมีมา ๒ อสงไขยเห็นปานนี้แลว ใสเปอกตมใหไมสมควร เลย. ครั้งนั้น ภรรยาของเขาเกิดความสํานึกขึ้นไดจึงกลาววา โปรด หยุดกอนเจาขา แลวเทเปอกตมออกลางบาตรชะโลมดวยผงเครื่อง หอมแลวไดใสของมีรสอรอย ๔ อยางเต็มบาตรแลววางถวายบาตร อันผุดผองดวยเนยใส มีสีเหมือนกลีบปทุมอันลาดรดลงขางบน ในมือของพระปจเจกพุทธเจา ตั้งความปรารถนาวา สรีระของ เราจงผุดผองเหมือนบิณฑบาตอันผุดผองนี้เถิด. พระปจเจกพุทธเจา อนุโมทนาแลวเหาะขึ้นสูอากาศ.

ผัวเมียแมทั้งสองนั้นดํารงอยูชั่วอายุแลวไปเกิดบนสวรรค จุติจากสวรรคนั้นอีกครั้ง อุบาสกเกิดเปนบุตรเศรษฐีมีสมบัติ ๘๐ โกฏิในกรุงพาราณสี ในครั้งพระกัสสปทศพลสัมมาสัมพุทธเจา ฝายภรรยาเกิดเปนธิดาของเศรษฐีเหมือนกัน เมื่อเขาเจริญวัย พวกญาติก็นําธิดาของเศรษฐีคนนั้นแหละมา. ดวยอานุภาพของ กรรมซึ่งมีวิบากอันไมนาปรารถนาในชาติกอน พอนาง (ถูกสงตัว) เขาไปยังตระกูลของสามี ทั่วทั้งสรีระเกิดกลิ่นเหม็นเหมือนสวม ที่เขาเปดไว (ตั้งแตยางเขาไป) ภายในธรณีประตู เศรษฐีกุมาร

 
  ความคิดเห็นที่ 11  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 286

ถามวา นี้กลิ่นของใคร ไดฟงวาของลูกสาวเศรษฐี จึงกลาววา นําออกไปๆ แลวสงกลับไปเรือนตระกูล โดยทํานองที่มา นางถูก สงกลับมาถึง ๗ แหงโดยทํานองนี้นั่นแล.

ก็สมัยนั้น พระกัสสปทศพลเสด็จปรินิพพานแลว พุทธศาสนิกชนเริ่มกอพระเจดียสูงโยชนหนึ่งดวยอิฐทองสีแดง ทั้งหนาทั้งแนน มีราคากอนละหนึ่งแสน. เมื่อเขากําลังสรางพระเจดียกันอยู เศรษฐี ธิดาคนนั้นคิดวา เราตองถูกสงกลับถึง ๗ แหงแลว จะประโยชน อะไรกับชีวิตของเรา จึงใหยุบสิ่งของเครื่องประดับตัว ทําอิฐทอง ยาวดอก กวางคืบ สูง ๔ นิ้ว ตอแตนั้นถือกอนหรดาลและมโนสิลา เก็บเอาดอกบัว ๘ กํา ไปยังสถานที่ที่สรางพระเจดีย. ขณะนั้น๑แถว กอนอิฐแถวหนึ่งกอมาตอกันขาดอิฐแผนตอเชื่อม นางจึงพูดกับชางวา ทานจงวางอิฐกอนนี้ตรงนี้. นายชางกลาววา นางผูเจริญ ทานมาได เวลา จงวางเองเถิด. นางจึงขึ้นไปเอาน้ํามันผสมกับหรดาลและ มโนสิลาวางอิฐติดอยูไดดวยเครื่องยึดนั้น แลวบูชาดวยดอกอุบล ๘ กํามือ ขางบน (อิฐ) ไหวแลวตั้งความปรารถนาวา ในที่ที่เราเกิด กลิ่นจันทนจงฟุงออกจากตัว กลิ่นอุบลจงฟุงออกจากปาก แลวไหว พระเจดีย ทําประทักษิณแลวกลับไป. ครั้นแลวในขณะนั้นเอง เศรษฐีบุตรก็เกิดสติปรารภถึงเศรษฐีธิดาที่เขานํามาเรือนครั้งแรก. แมในพระนครก็มีนักขัตฤกษเสียงกึกกอง เขาจึงพูดกับคนรับใชวา คราวนั้น เขานําเศรษฐีธิดามาในที่นี้ นางอยูที่ไหน. คนรับใชกลาววา อยูที่เรือนตระกูลขอรับ นายทานเศรษฐีบุตรกลาววา พวกทานจง


๑ ปาฐะวา อิฏกา สนฺธึ ปริกฺขิปตฺวา พมาเปน อิฏกาปนฺติ ปริกฺขิปตฺวา แปลตามพมา

 
  ความคิดเห็นที่ 12  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 287

พามา เราจักเลนนักขัตฤกษกับนาง. พวกคนรับใชไปไหวนางแลว ยืนอยูถูกนางถามวา พอทั้งหลายมาทําไมกัน จึงบอกเรื่องราวที่มา นั้น นางกลาววา พอทั้งหลาย เราเอาเครื่องอาภรณบูชาพระเจดีย เสียแลว เราไมมีเครื่องอาภรณ คนรับใชเหลานั้นจึงไปบอกแกบุตร เศรษฐีๆ กลาววา จงนํามาเถอะ นางจักไดเครื่องประดับนั้น พวกเขา จึงไปนํานางมา กลิ่นจันทนและกลิ่นอุบลขาบฟุงไปทั่วเรือน พรอม กับที่นางเขาไปในเรือน. บุตรเศรษฐีจึงถามนางวา ครั้งแรก กลิ่น เหม็นฟุงออกจากตัวกอน แตบัดนี้ กลิ่นจันทนฟุงออกจากตัว กลิ่น อุบลฟุงออกจากปากของเธอ นี่อะไรกัน. ธิดาเศรษฐีจึงบอกกรรม ที่ตนกระทําตั้งแตตน. บุตรเศรษฐีเลื่อมใสวา คําสอนของพระพุทธเจา ทั้งหลายเปนนิยยานิกธรรมหนอ จึงเอาเครื่องปกคลุมที่ทําดวยผากัมพล หุมพระเจดียทองมีประมาณโยชนหนึ่ง แลวเอาดอกประทุมทองขนาด เทาลอรถประดับที่พระเจดียทองนั้น ดอกประทุมทองที่แขวนหอยไว มีขนาด ๑๒ ศอก. บุตรเศรษฐีนั้นดํารงอยูชั่วอายุในมนุษยโลก นั้นแลวเกิดในสวรรค จุติจากสวรรคนั้น บังเกิดในตระกูลอํามาตย ตระกูลหนึ่ง (ซึ่งพํานักอยู) ในที่ประมาณโยชนหนึ่งจากกรุงพราณสี ฝายลูกสาวเศรษฐีจุติจากเทวโลกเกิดเปนพระราชธิดาองคใหญ ในราชตระกูล.

เมื่อคนทั้งสองนั้นเจริญวัย เขาปาวรองงานนักขัตฤกษใน หมูบานที่กุมารอยู. กุมารนั้นกลาวกะมารดาวา แมจา แมจงใหผา สาฎกฉัน ฉันจะเลนนักขัตฤกษ มารดาไดนําผาที่ใชแลวมาให. เขาปฏิเสธวา ผานี้หยาบจะแม. นางก็นําผืนอื่นมาให แมผาผืนนั้น เขาก็ปฏิเสธ. ทีนั้น มารดาจึงกลาวกะเขาวา พอ เราเกิดในเรือน

 
  ความคิดเห็นที่ 13  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 288

เชนนี้ พวกเราไมมีบุญที่จะไดผาเนื้อละเอียดกวานี้. เขากลาววา แมจา ถาอยางนั้น ฉันจะไปยังที่ที่จะได. มารดากลาววา ลูกเอย แมปรารถนาใหเจาไดราชสมบัติในกรุงพาราณสีวันนี้ทีเดียวนะ. เขาไหวมารดาแลวกลาววา ฉันไปละแม. มารดาวาไปเถอะพอ นัยวามารดาของเขามีความคิดอยางนี้วา มันจะไปไหน คงจักนั่งที่นี่ ที่นั่นอยูในเรือนหลังนี้แหละ. ก็กุมารนั้นออกไปตามกําหนดของบุญ ไปถึงกรุงพาราณสี นอนคลุมศีรษะอยูบนแผนมงคลสิลาอาสน ในพระราชอุทยาน. ก็พระเจาพาราณสีนั้น สวรรคตแลวเปนวันที่ ๗. อํามาตยทั้งหลายทําการถวายพระเพลิงแลวนั่งปรึกษาอยูที่ พระลานหลวงวา พระราชามีแตพระธิดา ไมมีพระราชโอรส ราชสมบัติไมมีพระราชา ไมสมควร ใครจะเปนพระราชา ตาง พูดกันวา ทานเปน ทานเปน. ปุโรหิตกลาววา ไมควรเลือกมาก เอาเถอะ พวกเราจักเชิญเทวดาแลวเสี่ยงบุษยรถ (รถเสี่ยงปลอยไป เพื่อหาผูที่สมควรจะครองราชย เมื่อพระราชาองคกอนสวรรคตแลว ไมมีรัชทายาท) ไป. อํามาตยเหลานั้นเทียมมาสินธพ ๔ ตัว มีสีดังดอกโกมุท แลวตั้งเครื่องราชกกุธภัณฑ ๕ อยาง กับเศวตรฉัตรไวบนรถนั่นแหละ ปลอยบุษยรถนั้นไปใหประโคมดนตรีไปขางหลัง. รถออกทางประตูดาน ทิศปราจีน บายหนาไปทางพระราชอุทยาน. อํามาตยบางพวกกลาววา รถบายหนาไปทางพระราชอุทยาน เพราะความคุนเคย พวกทานจงให กลับมา ปุโรหิตกลาววา อยาใหกลับ. รถทําประทักษิณกุมาร แลว ไดหยุดเตรียมพรอมที่จะใหขึ้น ปุโรหิตเลิกชายผาหมตรวจ พื้นเทากลาววา ทวีปนี้จงยกไว ผูนี้สมควรครองราชยในทวีปทั้ง ๔ มีทวีปสองพันเปนบริวาร แลวสั่งใหประโคมดนตรีขึ้น ๓ ครั้งวา

 
  ความคิดเห็นที่ 14  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 289

พวกทานจงประโคมดนตรีขึ้นอีก.

ครั้งนั้น กุมารเปดหนามองดูแลวพูดวา พอทั้งหลาย พวกทาน มาดวยกิจกรรมอะไรกัน. พวกอํามาตยทูลวา ขาแตสมมติเทพ ราชสมบัติถึงแกพระองค. กุมาร พระราชาไปไหน. อํามาตย- ทิวงคตแลว นาย. กุมาร ลวงไปกี่วันแลว. อํามาตย วันนี้เปนวันที่ ๗. กุมาร พระราชโอรสหรือพระราชธิดาไมมีหรือ อํามาตย ขาแต สมมติเทพ พระราชธิดามี พระราชโอรสไมมี. กุมาร เราจัก ครองราชย. อํามาตยเหลานั้นสรางมณฑปสําหรับอภิเษกในขณะนั้น ทันที ประดับพระราชธิดาดวยเครื่องอลังการทุกอยางนํามายัง พระราชอุทยานทําการอภิเษกกับกุมาร.

ครั้งนั้นเมื่อพระกุมารทําการอภิเษกแลว ประชาชนนําผามี ราคาแสนหนึ่งมาถวาย. พระกุมารกลาววา นี้อะไรพอ. พวกอํามาตย ทูลวา ขาแตสมมติเทพ ผานุงพระเจาขา, พระกุมาร เนื้อหยาบมิใช หรือ พอ. ผาอื่นที่เนื้อละเอียดกวานี้ไมมีหรือ? อํามาตย ขาแต สมมติเทพ ในบรรดาผาที่มนุษยทั้งหลายใชสอย ผาที่เนื้อละเอียด กวานี้ไมมี พระเจาขา. พระกุมาร พระราชาของพวกทานทรง นุงผาเห็นปานนี้หรือ อํามาตย พระเจาขา ขาแตสมมติเทพ. พระกุมาร พระราชาของพวกทานคงจะไมมีบุญ พวกทานจงนํา พระเตาทองมา เราจักไดผา. อํามาตยเหลานั้นนำพระเตาทองมาถวาย. พระกุมารนั้นลุกขึ้นลางพระหัตถบวนพระโอฐ. เอาพระหัตถวักน้ำ สาดไปทางทิศตะวันออก ในขณะนั้นเอง ตนกัลปพฤกษก็ชําแรก แผนดินทึบผุดขึ้นมา ๘ ตน ทรงวักน้ําสาดไปอีกทั่วทิศ ๓ ทิศอยางนี้

 
  ความคิดเห็นที่ 15  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 290

คือ ทิศใต ทิศตะวันตก ทิศเหนือ. ตนกัลปพฤกษผุดขึ้นในทิศทั้ง ๔ ทิศละ ๘ ตน รวมเปน ๓๒ ตน. พระกุมารนั้นทรงนุงผาทิพผืนหนึ่ง ทรงหมผืนหนึ่ง แลวรับสั่งวา พวกทานจงเที่ยวตีกลองปาวรอง อยางนี้วา ในแวนแควนของพระเจานันทราช พวกสตรีที่ทําหนาที่ กรอดาย อยากรอดาย ดังนี้แลวใหยกฉัตรขึ้นทรงประดับตกแตง พระองค ทรงขึ้นชางตัวประเสริฐเสด็จเขาพระนคร ขึ้นสูปราสาท เสวยมหาสมบัติ.

ครั้นกาลเวลาลวงไปดวยอาการอยางนี้ วันหนึ่งพระเทวีเห็น มหาสมบัติของพระราชาแลว ทรงแสดงอาการของความกรุณา วาโอ ทานผูมีตปะ ถูกพระราชาตรัสถามวา นี่อะไรกันนะ เทวี จึงทูลวา ขาแตสมมติเทพ สมบัติของพระองคยิ่งใหญ ในอดีตกาล พระองคไดทรงเชื่อตอพระพุทธะทั้งหลายไดทํากรรมดีไว เดี๋ยวนี้ ยังไมทรงกระทํากุศลอันจะเปนปจจัยแกอนาคต พระราชาตรัสวา เราจักใหแกใคร ผูมีศีลไมมี. พระเทวีทูลวา ขาแตสมมติเทพ ชมพู- ทวีปไมวางจากพระอรหันตทั้งหลายดอก พระองคโปรดทรงตระ เตรียมทานไวเทานั้น หมอมฉันจะขอพระอรหันตในวันรุงขึ้น พระราชารับสั่งใหตระเตรียมทานไวที่ประตูดานทิศปราจีน. พระเทวี ทรงอธิษฐานองคอุโบสถแตเชาตรูบายหนาไปทางทิศตะวันออก หมอบลงบนปราสาทชั้นบนแลวกลาววา ถาพระอรหันตมิอยูในทิศนี้ พรุงนี้ขอนิมนตมารับภิกษาหารของขาพเจาทั้งหลายเถิด. ในทิศ นั้นไมมีพระอรหันตก็ไดใหสักการะที่เตรียมไวนั้น แกคนกําพรา และยากาจน ในวันรุงขึ้นตระเตรียมทานไวทางประตูทิศใตแลวได

 
  ความคิดเห็นที่ 16  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 291

กระทําเหมือนอยางนั้น ในวันรุงขึ้นทางประตูทิศตะวันตกก็ได กระทําเหมือนอยางนั้น. ก็ในวันที่ทรงตระเตรียมไวทางประตู ทิศเหนือ พระมหาปทุมปจเจกพุทธเจาผูเปนพี่ชายของพระปจเจกพุทธเจา ๕๐๐ องค ผูเปนโอรสของพระนางปทุมวดี อยูในปาหิมวันต เรียกพระปจเจกพุทธเจาผูเปนนองชายซึ่งถูกพระเทวีนิมนตอยางนั้น มาวา ทานผูนิรทุกขทั้งหลาย พระเจานันทราชนิมนตทานทั้งหลาย จงรับนิมนตของทาวเธอเถิด. พระปจเจกพุทธเจาเหลานั้นรับนิมนต แลว ในวันรุงขึ้นลางหนาที่สระอโนดาดแลวเหาะไปลงที่ประตู ทิศเหนือ.

พวกมนุษยมากราบทูลแกพระราชาวา ขาแตสมมติเทพ พระปจเจกพุทธเจา ๕๐๐ องค มาแลวพระเจาขา. พระราชาเสด็จ ไปพรอมกับพระเทวี ไหวแลวรับบาตรนิมนตพระปจเจกพุทธเจา ทั้งหลายขึ้นสูปราสาท ถวายทานแกพระปจเจกพุทธเจาเหลานั้น บนปราสาทนั้น ในเวลาเสร็จภัตตกิจ พระราชาหมอบที่ใกลเทา พระสังฆเถระ พระเทวีหมอบที่ใกลเทาพระสังฆนวกะ แลวกลาววา ขาแตพระผูเปนเจาทั้งหลาย ทานทั้งหลายจักไมลําบากดวยเรื่อง ปจจัย และขาพเจาทั้งหลายก็จักไมทําบุญใหเสื่อม ขอทานทั้งหลาย จงใหปฏิญญาเพื่ออยูในที่นี้ ตลอดอายุของขาพเจาทั้งหลายเถิด ครั้นใหทานรับปฏิญญาแลวจึงใหตกแตงสถานที่สําหรับ. อยูอาศัย แกพระปจเจกพุทธเจาเหลานั้นในพระอุทยาน โดยอาการทั้งปวง คือ บรรณศาลา ๕๐๐ พลัง ที่จงกรม ๕๐๐ ที่ แลวใหทานอยูใน ที่นั้นนั่นแล. ครั้นกาลเวลาลวงไปดวยประการอยางนั้น เมืองชายแดน

 
  ความคิดเห็นที่ 17  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 292

ของพระราชากอการกําเริบขึ้น. พระองคทรงโอวาทพระเทวีวา พี่จะไประงับเมืองชายแดน เธออยาละเลยพระปจเจกพุทธเจาทั้งหลาย แลวเสด็จออกไปจากพระนคร เมื่อพระองคยังไมเสด็จกลับ พระ ปจเจกพุทธเจาทั้งหลายก็สิ้นอายุสังขาร.

พระมหาปทุมปจเจกพุทธเจา เลนฌานตลอดราตรีทั้ง ๓ ยาม ในเวลาอรุณขึ้น ยืนเหนี่ยวแผนกระดานสําหรับยืดปรินิพพานดวย อนุปาทิเสสนิพพานธาตุ แมพระปจเจกพุทธเจาที่เหลือทั้งหมด ทีเดียว ก็ปรินิพพานแลวโดยวิธีนั้น. ในวันรุงขึ้น พระเทวีใหกระทํา ที่นั่งของพระปจเจกพุทธเจาทั้งหลาย ใหชะอุมดวยของสดเขียว โปรยดอกไม จุดเครื่องหอม นั่งคอยพระปจเจกพุทธเจาทั้งหลายมา เมื่อไมเห็นมาจึงสงราชบุรุษไปวา พอจงไป จงรูวา พระผูเปนเจา ทั้งหลายไมมีความผาสุกอยางไร? ราชบุรุษนั้นไปแลวเปดประตู บรรณศาลาของพระมหาปทุมปจเจกพุทธเจา เมื่อไมพบในบรรณศาลา นั้น จึงไปยังที่จงกรม เห็นทานยืนพิงแผนกระดานสําหรับยึดจึงไหว แลวกลาววา ไดเวลาแลวเจาขา. สรีระของทานผูปรินิพพานแลว จักพูดไดอยางไร. ราชบุรุษนั้นคิดวาเห็นจะหลับ จึงเดินไปเอามือ ลูบที่หลังเทา รูวาปรินิพพานแลว เพราะเทาทั้งสองเย็นและแข็ง จึงไปยังสํานักของพระปจเจกพุทธเจาองคที่ ๒ เมื่อรูวาองคที่ ๒ ปรินิพพานแลวอยางนั้น ก็ไปยังสํานักของพระปจเจกพุทธเจา องคที่ ๓ รูวาพระปจเจกพุทธเจาทุกองคปรินิพพานแลวดวยประการ ดังนี้ จึงไปยังราชสกุล พระเทวีตรัสถามวา พระปจเจกพุทธเจา ทั้งหลายไปไหนพอ จึงกราบทูลวา ขาแตพระเทวี พระปจเจกพุทธเจา

 
  ความคิดเห็นที่ 18  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 293

ทั้งหลาย ปรินิพพานแลว. พระเทวีทรงกรรแสงคร่ําครวญเสด็จ ออกไปที่บรรณศาลานั้นพรอมกับชาวเมือง รับสั่งใหเลนสาธุกีฬา (การเลนที่เกี่ยวกับเรื่องอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) กระทําฌาปนกิจ สรีระของพระปจเจกพุทธเจาทั้งหลาย แลวเก็บธาตุสรางพระเจดีย ไว. พระราชาทรงปราบเมืองชายแดนใหสงบแลวเสด็จกลับมา รับสั่งถามพระเทวีผูเสด็จมาตอนรับวา แมมหาจําเริญ เธอไม ประมาท (คือไมละเลย) ในพระปจเจกพุทธเจาทั้งหลายหรือ? พระผูเปนเจาทั้งหลายสบายดีหรือ พระเทวีทูลวา ขาแตสมมติเทพ พระผูเปนเจาทั้งหลายปรินิพพานเสียแลว. พระราชาทรงพระดําริ วา มรณะยังเกิดแกบัณฑิตทั้งหลายเห็นปานนี้ พวกเราจะพนไป แตไหน พระองคไมเสด็จไปพระนคร เสด็จเขาไปยังพระราชอุทยาน เลยทีเดียว รับสั่งใหเรียกพระโอรสองคใหญมาแลวมอบราชสมบัติ แกพระโอรสนั้นแลวโอวาท. สวนพระองคทรงผนวชเปนสมณะ ประเภทหนึ่ง. ฝายพระเทวีเมื่อพระราชาทรงผนวชแลวทรงดําริวา เราจะทําอะไร จึงทรงผนวชอยูในพระราชอุทยานนั้นเอง พระราชา และพระเทวีแมทั้งสองนั้น บําเพ็ญฌานไดจุติจากอัตตภาพนั้นไป บังเกิดในพรหมโลก.

เมื่อคนทั้งสองนั้นอยูในพรหมโลกนั้นนั่นแหละ พระศาสดา ของเราทั้งหลายอุบัติขึ้นในโลกประกาศพระธรรมจักรอันประเสริฐ เสด็จเขาไปยังกรุงราชคฤหโดยลําดับ. เมื่อพระศาสดาประทับ อยูในกรุงราชคฤหนั้น ปบผลิมาณพนี้ บังเกิดในทองภรรยาหลวง ของกบิลพราหมณในพราหมณคามชื่อมหาติตถะ ในมคธรัฐ นาง

 
  ความคิดเห็นที่ 19  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 294

ภัททา กาปลานี นี้บังเกิดในทองของภรรยาหลวงของพราหมณ โกลิยโคตรในสาคลนครในมคธรัฐ. เมื่อชนทั้งสองนั้นเติบโตขึ้น โดยลําดับ เมื่อนางภัตทามีอายุถึงปที่ ๑๖ ในปที่ ๒๐ ของปบผลิ- มาณพ บิดามารดามองดูบุตรแลวแคนไดอยางหนักวา พอ เจา ก็เติบโตแลวธรรมดาวาตระกูลวงศ จําตองใหดํารงอยู. มาณพ กลาววา ทานทั้งสองอยาไดกลาวถอยคําเห็นปานนี้เขาหูลูกเลย ลูกจะปฏิบัติตราบเทาที่ทานทั้งสองยังมีชีวิตอยู ตอเมื่อทานทั้งสอง ลวงลับไปแลว ลูกจักบวช. บิดามารดาใหเวลาลวงเลยไป ๒ - ๓ วัน ก็กลาวอีก แมมาณพนั้นก็ปฏิเสธเหมือนเดิมนั้นแหละ ตั้งแตนั้น มารดาไดกลาว (ถึงการแตงงาน) อยูเรื่อยๆ ทีเดียว.

มาณพคิดวา เราจะยังมารดาใหยินยอม จึงเอาทองคําสี สุกปลั่งพันลิ่ม ใหชางทองทํารูปหญิงคนหนึ่ง ในเวลาเสร็จงานมี การขัดและบุบเปนตนซึ่งรูปหญิงนั้น จึงใหรูปหญิงนั้นนุงผาแดง ประดับดวยดอกไมอันสมบูรณดวยสีและเครื่องประดับตางๆ แลวใหเรียกมารดามาพูดวา คุณแม เมื่อลูกไดอารมณเห็นปานนี้ จึงจะแตงงาน ถาไมไดจักไมแตง. นางพราหมณีเปนคนมีปญญา จึงคิดวา บุตรของเราเปนผูมีบุญ ใหทานไวแลว สรางอภินิหาร ไวแลว เมื่อจะกระทําบุญคงจะไมทําคนเดียว หญิงผูทําบุญรวมกับ บุตรของเรานี้ จักมีสวนเปรียบดวยทองคําแนแท จึงใหเรียกพราหมณ ๘ คนมา เลี้ยงดูใหอิ่มหนําดวยสิ่งที่ตองการทุกอยาง ใหยกรูปทองคํา ขึ้นตั้งบนรถแลวสงไปวา พอทั้งหลายจงพากันไป พบเห็นทาริกา เห็นปาน (ดังรูปทอง) นี้ ในตระกูลที่เสมอกันกับเราโดยชาติ โคตร

 
  ความคิดเห็นที่ 20  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 295

และโภคทรัพย ในที่ใด จงใหรูปทองนี้แหละใหเปนบรรณการ ใน ที่นั้น.

พราหมณเหลานั้นพากันออกไปดวยตระหนักวา นี้เปน กิจกรรมชื่อวาของพวกเรา จึงคิดวาจะไปที่ไหน ตกลงกันวา ธรรมดา มัททรัฐเปนบอเกิดแหงสตรี พวกเราจักไปมัททรัฐ ดังนี้แลว จึงได ไปยังสาคลนครในมัททรัฐ. ครั้งนั้น แมนมของนางภัตทา ใหนางภัททาอาบน้ําแลวแตงตัวใหนั่งในหองอันโออาแลว (ตนเอง) จะไป อาบน้ํา เห็นรูปนั้นจึงขูดวยเขาใจวา ธิดาแหงแมเจาของเรามาที่นี้ กลาววา แนะแมหัวดื้อ มาที่นี่ทําไม แลวเงื้อฝามือ ที่ขางแกม (พรอม กับ) พูดวา จงรีบไป. มือสะทอนเหมือนติหิน. แมนมนั้นรูวาเปน ของแข็งดวยอาการอยางนี้จึงเลี่ยงไปพูดวา เราเห็นรูปทองเขาก็ เกิดความเขาใจวาธิดาแหงแมเจาของเรา ก็นางนี้ แมจะเปนผูรับ ผานุงของธิดาแหงแมเจาของเรา ก็ยังไมเหมาะสม. ทีนั้น พวกมนุษย เหลานั้นพากันหอมลอมนางแลวถามวา ธิดาแหงเจานายของทาน เห็นปานนี้ไหม หญิงแมนมพูดวา นางนี่นะหรือ ธิดาแหงแมเจา ของเรางามยิ่งกวานางนี้รอยเทา พันเทา เมื่อเธอนั่งอยูในหอง ประมาณ ๑๒ ศอก กิจดวยดวงประทีปไมมี เธอขจัดความมืดดวย แสงสวางจากสรีระนั่นแหละ. พวกมนุษยเหลานั้นกลาววา ถา อยางนั้น จงมากันเถอะ แลวถือเครื่องบูชา ยกรูปทองคําขึ้นบนรถ แลวหยุดอยูที่ประตูบานของพราหมณโกสิยโคตร แจงใหทราบ ถึงการมา

 
  ความคิดเห็นที่ 21  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 296

พราหมณทําปฏิสันถารแลวถามวา พวกทานมาจากไหน ชนเหลานั้นตอบวา มาจากเรือนของกบิลพราหมณ ในมหาติดถคาม ในมคธรัฐ พราหมณถาม มาเพราะเหตุไร ชนเหลานั้นตอบ เพราะเหตุชื่อนี้ พราหมณกลาววา งามละพอทั้งหลาย พราหมณ ของพวกเรามีชาติ โคตร และทรัพยสมบัติเสมอกัน เราจักใหทาริกา (ลูกสาว) ดังนี้แลวก็รับเครื่องบรรณาการ ชนเหลานั้นสงขาวแก กบิลพราหมณวา ไดทาริกาแลว ทานจงทําสิ่งที่จะตองทํา. กบิลพราหมณไดสดับขาวนั้นแลวจึงบอกแกปบผลิมาณพวา เขาวาได ทาริกาแลว. มาณพคิดวา เราคิดวาจักไมได คนเหลานี้พูดวา ไดแลว เราไมมีความตองการ จักสงหนังสือไป (ใหรู) แลวไฟในที่ลับ เขียนหนังสือวา แมภัททาจงไดคูครองเรือนอันสมควรแกชาติ โคตร และทรัพยสมบัติของตน เราจักออกบวช จะไดไมเดือดรอนใน ภายหลัง. แมนางภัททาไดฟงวา เขาใครจะใหเราแกคนโนน จึงไป ในที่ลับเขียนหนังสือวา ลูกเจาจงไดคูครองเรือนอันสมควรแกชาติ โคตร และทรัพยสมบัติของตน เราจักออกบวช จะไดไมเดือดรอน ในภายหลัง. หนังสือทั้งสองฉบับมาประจวบกันในระหวางทาง. ชนเหลานั้น เมื่อถูกฝายนางภัททาถามวา นี้หนังสือของใคร. ก็ กลาววาปบผลิมาณพสงใหนางภัตทา และเมื่อถูกฝายปบผลิมาณพ ถามวา นี้ของใคร ก็กลาววา นางภัททาสงใหปบผลิมาณพ จึงพากัน อานหนังสือ แมทั้งสองฉบับแลวกลาววา ทานทั้งหลายจงดูการ กระทําของเด็กๆ แลวฉีกทิ้งไปในปา เขียนหนังสืออันมีขอความ เสมอกันสงไปใหคนทั้งสองนั้น ทั้งฝายนี้และฝายโนน ดังนั้น คน ทั้งสองนั้นไมปรารถนาเลย ก็ไดมา (อยู) รวมกัน

 
  ความคิดเห็นที่ 22  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 297

ในวันนี้แล แมมาณพก็เอาพวงดอกไมพวงหนึ่งวางไว แม นางภัททากาลาปลานี้ก็เอาพวงดอกไมพวงหนึ่งวางไว. คนแมทั้งสอง บริโภคอาหารเย็นแลว วางพวงดอกไมเหลานั้นไวกลางที่นอน มาพรอมกันดวยหวังใจวาจักขึ้นที่นอน มาณพขึ้นที่นอนทางดานขวา นางภัททาขึ้นที่นอนทางดานซายแลวกลาววา ดอกไมในดานของ คนใดเหี่ยว พวกเราจักรูไดวา ราคจิตเกิดขึ้นแลวแกผูนั้น เพราะ เหตุนั้น พวงดอกไมนี้เราจึงไมแตะตอง. ก็คนทั้งสองนั้นนอนไมหลับ ตลอดราตรีทั้ง ๓ ยาม เพราะกลัวจะถูกตัวของกันและกัน จนราตรี ลวงไป อนึ่ง ในเวลากลางวันก็ไมมีแมสักวาการยิ้มหวัว. คนทั้งสอง นั้นไมเกี่ยวของดวยเรื่องโลกามิส ไมจัดการทรัพยสมบัติตราบเทา ที่บิดามารดายังมีชีวิตอยู เมื่อบิดามารดากระทํากาลกิริยาไปแลว จึงจัดการ. ปบผลิมาณพมีสมบัติ (คิดเปนเงิน) ๘๗ โกฏิ เฉพาะผง ทองคําที่ใชขัดสรีระแลวทิ้งไปวันหนึ่งๆ ควรไดประมาณ ๑๒ ทะนาน โดยทะนานมคธ มีเหมืองน้ําประมาณ ๖๐ แหง ติดเครื่อง ยนต มีการงานที่ทํา (กินเนื้อที่) ประมาณ ๑๒ โยชน มีหมูบานทาส (๑๔ บาน) ขนาดเทาเมืองอนุราธบุรี มีหัตถานึกถือกองชาง ๑๔ กอง มีอัสสานึกคือกองมา ๑๔ กอง มีรถานึกดือกองรถ ๑๔ กอง.

วันหนึ่ง ปบผลิมาณพนั้นขึ้นมาที่ประดับตกแตงแลว แวดลอม ดวยมหาชนไปยังที่ทํางาน ยืนอยูปลายนา เห็นพวกนกมีกาเปนตน คุยเขี่ยสัตวมีไสเดือนเปนตน จากรอยไถเอามากิน จึงถามวา พอ ทั้งหลาย สัตวเหลานี้กินอะไร มหาชนตอบวา นายทาน มันกิน ไสเดือน. มาณพถามวา บาปที่สัตวเหลานี้ทําเปนของใคร มหาชน

 
  ความคิดเห็นที่ 23  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 298

ตอบวา นายทาน บาปเปนของทาน. มาณพคิดวา ถาบาปที่สัตวเหลานี้ กระทําตกเปนของเราไซร ทรัพย ๘๗ โกฏิ จักทําอะไรแกเรา การงาน ๑๒ โยชน เหมืองน้ําติดเครื่องยนต ๖๐ แหง หมูบานทาส (๑๔ แหง) จักทําอะไรแกเรา เราจะมอบทรัพยสมบัติทั้งหมดนี้ แกภัตทากาปลานี แลวออกบวช.

ขณะนั้น นางภัตทากาปลานี ใหหวานเมล็ดงา ๓ หมอ ลง ในระหวางไร พวกแมนมหอมลอมนั่งอยูเห็นพวกกากินสัตวใน เมล็ดงาจึงถามวา แมทั้งหลาย สัตวเหลานี้กินอะไร? พวกแมนม ตอบวา แมเจา พวกมันกินสัตว. นางถามวา อกุศลจะเปนของใคร? พวกแมนมตอบวา เปนของแมเจา จะ. นางคิดวา เราไดผา ๔ ศอก และขาวสุกประมาณหนึ่งทะนานก็ควร ก็ถาอกุศลนี้อันชนมีประมาณ เทานี้กระทําจะเปนของเราไซร เราไมอาจยกหัวขึ้นจากวัฏฏะ ตั้ง ๑,๐๐๐ ภพ เมื่อลูกเจาพอมาถึง เราจะมอบทรัพยสมบัติทั้งหมด แกลูกเจานั้นแลวออกบวช.

มาณพมาแลวอาบน้ําขึ้นปราสาทนั่งบนแทนอันควรคามาก. ครั้งนั้น พวกพอครัวจัดแจงโภชนะอันสมควรแกพระเจาจักรพรรดิ. ชนแมทั้งสองบริโภคแลว เมื่อปริวารชนออกไปแลว ก็ไปในที่รโหฐาน นั่งในที่ที่มีความผาสุก. ลําดับนั้น มาณพกลาวกะนางภัททาวา แมภัททา เธอเมื่อจะมาเรือนนี้ นําเอาทรัพยมาเทาไร. นางภัททา กลาววา พอเจา นํามาหาหมื่นหาพันเลมเกวียน. มาณพกลาววา ทรัพยทั้งหมดนั่น กับทรัพย ๘๗ โกฏิ ในเรือนนี้ และสมบัติอันตาง ดวยเหมือง ๖๐ เหมืองเปนตนที่ติดเครื่องยนต ทั้งหมด เราขอมอบ

 
  ความคิดเห็นที่ 24  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 299

แกเธอเทานั้น. นางภัททากลาววา พอเจา ก็ทานเลา จะไปไหน มาณพ เราจักบวช นางภัททา แมเราก็นั่งคอยการมาของทานอยู แมเราก็จักบวช. ภพทั้งสามปรากฏแกคนทั้งสองนั้นเหมือนกุฎี ใบไมถูกไฟไหมฉะนั้น. คนทั้งสองนั้นใหนําผากาสายะ และบาตรดิน มาจากตลาด ตางปลงผมใหกันและกัน กลาววา การบวชของเรา ทั้งสองอุทิศพระอรหันตในโลก แลวสอดบาตรลงในถุงคลองที่ไหล ลงจากปราสาท. บรรดาทาสหรือกรรมกรทั้งหลายในเรือน ใครๆ จําไมได.

ครั้งนั้น ชนหมูบานทาส จําคนทั้งสองนั้นซึ่งออกจากบาน พราหมณกําลังเดินไปทางประตูบานทาสได ดวยอากัปกิริยา ทาทาง ชนเหลานั้นรองไหหมอบลงที่เทากลาววา นายทาน ทาน จะทําใหพวกขาพเจาไรที่พึ่งหรือ. คนทั้งสองกลาววา แนะพนาย เราทั้งหลายเห็นวา ภพทั้งสามเหมือนบรรณศาลาถูกไฟไหมจึง ไดบวช ถาเราจะการทําบรรดาพวกทานคนหนึ่งๆ ใหเปนไท แม ๑๐๐ ป ก็ไมพอ พวกทานเทานั้น จงลางศีรษะของทานเปนไท เลี้ยงชีวิตอยูเถิด เมื่อชาวบานทาสเหลานั้นคร่ําครวญอยูนั่นแหละ ก็หลีกไปแลว. พระเถระเดินไปขางหนาหันกลับมาแลดูพลางคิดวา ภัททากาปลานี นี้ เปนหญิงมีคาควรแกชมพูทวีปทั้งสิ้น เดินมาขาง หลังเรา มีฐานะอยูที่ใครๆ จะพึงคิดวา ชนเหลานี้ แมบวชแลว ก็ไมอาจแยกกัน กระทําไมสมควรดังนี้ เกิดความคิดวา ใครๆ ทําใจใหประทุษรายในเราทั้งหลาย จะพึงเต็มในอบาย ควรที่เรา จะละนางไปเสีย

 
  ความคิดเห็นที่ 25  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 300

พระเถระเดินไปขางหนาเห็นทาง ๒ แพรง ไดหยุดอยู ที่หัวทางนั้น. ฝายนางภัททามาแลวไหวยืนอยู. ครั้งนั้น พระเถระ กลาวกะนางภัททาวา แมนางเอย มหาชนเห็นสตรีเชนเจาเดินมา ขางหลังเราจะคิดวา ชนเหลานี้แมบวชแลวก็ไมอาจแยกกัน แลวมี จิตประทุษรายในพวกเรา จะพึงเปนผูเต็มอยูในอบาย พวกเรา ยืนอยูแลวในทาง ๒ แพรงนี้ ทานจงถือเอาทางสายหนึ่ง ฉันจะไป ทางอีกสายหนึ่ง. นางภัททากลาววา จริงสิ พอเจา ธรรมดามาตุคาม เปนมลทินของบรรพชิตทั้งหลาย ชนทั้งหลายจักแสดงโทษของ พวกเราวา คนเหลานี้แมบวชแลวก็ยังไมแยกกัน ทานจงถือเอาทาง สายหนึ่ง ฉันจะถือเอาสายหนึ่ง พวกเราจักแยกกัน ดังนี้แลวทํา ประทักษิณ ๓ ครั้ง ไหวดวยเบญจางคประดิษฐในที่ทั้ง ๔ แหง (คือ ขางหนา ขางหลัง ขางซาย ขางขวา) ประคองอัญชลีอันงดงาม ดวยรวมนิ้วทั้งสิบ แลวกลาววา ความสนิทสนมฐานมิตร ซึ่งได ทําไวตลอดกาลนานประมาณแสนกัป จําแตกในวันนี้ แลวกลาววา ทานมีชาติเบื้องขวา ทางขวาสมควรแกทาน ฉันชื่อวาเปนมาตุคาม มีชาติเบื้องซาย ทางซายสมควรแกฉัน ดังนี้ ไหวแลวเดินทางไป. ในเวลาที่ทานทั้งสองนั้นแยกทางกัน มหาปฐพีนี้ไดสะเทือนเลื่อนลั่น เหมือนจะพูดวา เราสามารถรองรับเขาจักรวาล และเขาสิเนรุได แตไมอาจรองรับคุณทั้งสองของพวกทานได. ในอากาศมีเสียงเหมือน ฟาผา ภูเขาจักรวาลก็โอนโนมลง

แมพระสัมมาสัมพุทธเจา ประทับนั่งในพระคันธกุฎี ณ พระเวฬุวันมหาวิหาร ไดสดับเสียงแผนดินไหวจึงทรงพระรําพึงวา แผนดินไหวเพื่อใครหนอ ทรงทราบวา ปบผลิมาณพ และนางภัททา

 
  ความคิดเห็นที่ 26  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 301

กาปลานี ละสมบัติอันนับไมไดแลวบวชอุทิศเรา แผนดินไหวนี้ เกิดดวยกําลังแหงคุณของตนแมทั้งสอง ในตอนที่คนทั้งสองนั้นแยก ทางกัน แมเราก็ควรทําการสงเคราะหคนทั้งสองนี้ จึงเสด็จออกจาก พระคันธกุฎี ลําพังพระองคเอง ทรงถือบาตรและจีวร ไมตรัส เรียกใครๆ ในบรรดาพระมหาสาวก ๘๐ องค เสด็จไปตอนรับ สิ้นทาง ๓ คาวุต ประทับนั่งขัดสมาธิที่โคนตนพหุปุตตกนิโครธ ระหวางกรุงราชคฤหกับเมืองนาลันทา. ก็เมื่อประทับนั่ง มิไดประทับ นั่งเหมือนพระผูถือบังสุกุลเปนวัตรรูปหนึ่ง ทรงถือเพศเปนพระพุทธเจา ประทับนั่งเปลงพระรัศมีทึบประมาณ ๘๐ ศอก ดังนั้น ในขณะนั้น พระพุทธรัศมีมีประมาณเทารมใบไม ลอรถ แลเรือนยอด เปนตน วิ่งฉวัดเฉวียนไปรอบดาน ทําใหเหมือนเวลาพระจันทร และพระอาทิตยขึ้นเปนพันๆ ดวง ไดทําชายปานั้นใหมีแสงสวาง เปนอันเดียวกัน. พื้นทองฟาประหนึ่งระยิบระยับดวยหมูดาว เรืองรองดวยพระสิริแหงพระมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ ชายปา รุงโรจนดุจน้ําที่มีดอกบัวบานสะพรั่ง. ธรรมดาตนนิโครธมีมีลําตน ขาว มีใบเขียว ผลสุกแดง. แตวันนั้น ตนนิโครธกลับมีกิ่งขาว มี สีเหมือนทอง.

พระมหากัสสปเถระคิดวาทานผูนี้จักเปนพระศาสดาของเรา เราบวชอุทิศพระศาสดาพระองคนี้ ดังนี้ จําเดิมแตที่ที่มองเห็น ไดนอมกายเดินไป ไหวในที่ ๓ แหง แลวกราบทูลวา ขาแตพระองค ผูเจริญ พระผูมีพระภาคเจาเปนศาสดาของขาพระองค ขาพระองค เปนสาวก ขาแตพระองคผูเจริญพระผูมีพระภาคเจาเปนศาสดา

 
  ความคิดเห็นที่ 27  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 302

ของขาพระองค ขาพระองคเปนสาวก. ลําดับนั้น พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัสกะพระมหากัสสปเถระวา ดูกอนกัสสป ถาเธอจะพึงทําการ นบนอบนี้ไวในมหาปฐพีไซร แมมหาปฐพีนั้นก็ไมอาจรองรับเอาไวได การนบนอบที่เธอกระทํา ยอมไมอาจทําแมขนของเราใหสั่น เพราะ ตถาคตมีคุณใหญหลวงอยางนี้ นั่งลงเถอะกัสสป เราจะใหทรัพย อันเปนมรดกแกเธอ. ลําดับนั้น พระผูมีพระภาคเจา ไดประทาน อุปสมบทแกพระมหากัสสปเถระดวยโอวาท ๓ ประการ ครั้น ประทานแลวก็เสด็จออกจากโคนตนพหุปุตตกนิโครธเสด็จเดินทาง มีพระเถระเปนปจฉาสมณะ พระสรีระของพระศาสดาตระการ ตาดวยพระมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ สรีระของพระมหากัสสปประดับดวยมหาปุริสลักษณะ ๗ ประการ. พระมหากัสสป นั้นเดินตามเสด็จพระศาสดา เหมือนเรือพวงไปตามเรือใหญสีทอง ฉะนั้น พระศาสดาเสด็จเดินทางไปหนอยหนึ่งแลวแวะลง (ขางทาง) แสดงอาการจะประทับนั่งที่โคนไมแหงหนึ่ง พระเถระระวา พระศาสดามีพระประสงคจะประทับนั่ง จึงกระทําสังฆาฏิอันเปนผา เกาที่ตนหมใหเปน ๔ ชั้น ปูลาดถวาย

พระศาสดาประทับนั่งบนผาสังฆาฏินั้นแลว เอาพระหัตถ ลูบคลําเนื้อผาตรัสวา กัสสป สังฆาฏิอันทําดวยผาเกาผืนนี้ของเธอ นุมดี พระเถระระวา พระศาสดาตรัสถึงสังฆาฏิของเรานุม คงจัก ประสงคจะหม จึงกราบทูลวา ขาแตพระองคผูเจริญ ขอพระผูมี พระภาคเจาทรงหมสังฆาฏิเถิด พระศาสดาตรัสวา กัสสป เธอจะ หมอะไร พระเถระกราบทูลวา ขาพระองคไดผานุงของพระองค

 
  ความคิดเห็นที่ 28  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 303

จึงจักหม. พระศาสดาตรัสวา กัสสป ก็เธอจักอาจทรงผาบังสุกุล ที่ใชจนเกาผืนนี้อยางนี้ไดหรือ ดวยวามหาปฐพีไดไหวจนถึงน้ํารอง แผนดิน ในวันที่เราซักผาบังสุกุลผืนนี้. ธรรมดาวาจีวรที่เกาเพราะ ใชของพระพุทธเจาทั้งหลายนี้ ถึงเกาแลวคนที่มีคุณนิดหนอยไม อาจครองได จีวรเกาดังกลาวนี้ อันบุคคลผูอาจสามารถในการ บําเพ็ญขอปฏิบัติ ผูถือผาบังสุกุลมาแตเดิมจึงจะควรรับเอา แลว ทรงเปลี่ยนจีวรกับพระเถระ.

ก็พระผูมีพระภาคเจาทรงเปลี่ยนจีวรอยางนี้แลว ทรงหม จีวรที่พระเถระหมแลว พระเถระหมจีวรของพระศาสดา. ในสมัยนั้น มหาปฐพีนี้แมไมมีจิตใจก็ไหวจนถึงน้ํารองแผนดินเหมือนจะกลาววา ขาแตพระองคผูเจริญ พระองคทรงทําสิ่งที่ทําไดยาก จีวรที่พระองค หมแลว ชื่อวาเคยไดประทานแกพระสาวกไมมี (คือไมเคยมีการ ประทานจีวรที่ทรงหมแลวแกสาวก) ขาพระองคไมอาจรองรับคุณ ของพระองคได. แมพระเถระก็มิไดกระทําเหยอหยิ่งวา เดี๋ยวนี้ เราไดจีวรสําหรับใชสอยของพระพุทธเจาทั้งหลาย สิ่งที่เราจะพึง ทําใหยิ่งขึ้นไปในบัดนี้ยังจะมีอยูหรือ จึงไดสมาทานธุดงคคุณ ๑๓ ขอในสํานักของพระพุทธเจานั่นแหละ เปนปุถุชนเพียง ๗ วัน ในอรุณที่ ๘ ไดบรรลุพระอรหัตพรอมดวยสูตรทั้งหลายมีอาทิ อยางนี้วา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย กัสสปเปรียบเหมือนพระจันทร เขาไปสูตระกูลทั้งหลาย หลีกกาย หลีกใจจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เปนผูใหมอยูเสมอ ไมคนองในตระกูลทั้งหลาย. ครั้นมาภายหลัง ทรงกระทํากัสสปสังยุตนี้แหละใหเปนเหตุเกิดเรื่อง จึงทรงสถาปนา พระเถระไวในตําแหนงเอตทัคคะดวยพระดํารัสวา มหากัสสปเปน

 
  ความคิดเห็นที่ 29  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 304

ยอดของภิกษุทั้งหลายผูถือธุดงคและสอนเรื่องธุดงค ในศาสนาของเรา ดังนี้แล

จบ อรรถกถาสูตรที่ ๔

 
  ความคิดเห็นที่ 30  
 
chatchai.k
วันที่ 13 มิ.ย. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ