ประวัติพระอนุรุทธเถระ
[เล่มที่ 32] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 304
เอตทัคคบาลี
อรรถกถาสูตรที่ ๕
ประวัติพระอนุรุทธเถระ
พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 304
ในสูตรที่ ๕ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้ :-
บทวา ทิพฺพจกฺขุกาน ยทิทอนุรุทฺโธ ความวา ตรัสวาพระอนุรุทธเถระเปนยอดของภิกษุทั้งหลายผูมีจักษุทิพย พึงทราบวา พระอนุรุทธเถระนั้นเปนผูเลิศ เพราะเปนผูมีความชํานาญอันสั่งสม ไวแลว. ไดยินวาพระเถระเวนแตชั่วเวลาฉันเทานั้น ตลอดเวลา ที่เหลือ เจริญอาโลกกสิณตรวจดูเหลาสัตวดวยทิพยจักษุอยาง เดียวอยู ดังนั้น พระเถระนี้จึงชื่อวาเปนยอดของภิกษุทั้งหลาย ผูมีทิพยจักษุ เพราะเปนผูมีความชํานาญอันสะสมไวตลอดวัน และคืน. อีกอยางหนึ่งเปนยอดของภิกษุผูมีทิพยจักษุที่เหลือ เพราะ ปรารถนาไวตลอดแสนกัป ก็ในเรื่องบุรพกรรมของทานในขอนั้น มีเรื่องที่จะกลาวตามลําดับดังตอไป
ความพิสดารวา ครั้งพระผูมีพระภาคเจาพระนามวา ปทุ- มุตตรนั่นแล กุลบุตรแมนี้ไดไปกับมหาชนผูไปยังวิหารเพื่อฟงธรรม ภายหลังภัตตาหาร. ก็ครั้งนั้น กุลบุตรผูนี้ไดเปนกุฎมพีผูยิ่งใหญ
พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 305
ไมปรากฏชื่อคนหนึ่ง เขาถวายบังคมพระทศพลแลวยืนอยูทาย บริษัทฟงธรรมกถา พระศาสดาทรงสืบตอพระธรรมเทศนาตาม อนุสนธิแลวทรงสถาปนาภิกษุผูมีทิพยจักษุรูปหนึ่งไวในตําแหนง เอตทัคคะ ลําดับนั้น กุฎมพีไดมีดําริดังนี้วา ภิกษุนี้ใหญหนอ พระศาสดาทรงตั้งไวในความเปนยอดของภิกษุผูมีทิพยจักษุเอง ดวย ประการอยางนี้ โอหนอ แมเราก็พึงเปนยอดของภิกษุผูมีจักษุทิพย ในพระศาสนาของพระพุทธเจาผูจะอุบัติในอนาคต ดังนี้แลวเกิด ความคิดดังนี้ขึ้น เดินเขาไประหวางบริษัท ทูลนิมนตพระผูมีพระภาคเจากับพระภิกษุแสนหนึ่ง เพื่อเสวยวันวันพรุงนี้ ในวันรุงขึ้น ถวายมหาทานแกภิกษุสงฆมีพระพุทธเจาเปนประมุข คิดวา เรา ปรารถนาตําแหนงใหญ จึงทูลนิมนตในวันนี้ เพื่อเสวยวันพรุงนี้ แลวทํามหาทานใหเปนไปถึง ๗ วัน โดยทํานองนั้นนั่นแล ถวาย ผาอยางดีเยี่ยมแดพระผูมีพระภาคเจาพรอมทั้งบริวารแลวทําความ ปรารถนาวา ขาแตพระผูมีพระภาคเจา ขาพระองคทําสักการะนี้ เพื่อประโยชนแกทิพยสมบัติหรือมนุษยสมบัติก็หามิได ก็พระองค ทรงตั้งภิกษุใดไวในตําแหนงเปนยอดของภิกษุผูมีทิพยจักษุใน ๗ วันที่แลวมาจากวันนี้ แมขาพระพุทธเจาก็พึงเปนยอดของภิกษุ ผูมีทิพยจักษุเหมือนภิกษุองคนั้น ในพระศาสนาของพระพุทธเจา พระองคหนึ่งในอนาคตกาลดังนี้แลว หมอบลงแทบพระบาทของ พระศาสดา. พระศาสดาทรงตรวจดูในอนาคต ทรงทราบวาความ ปรารถนาของเขาสําเร็จ จึงตรัสอยางนี้วา ดูกอนบุรุษผูเจริญ ในที่สุดแสนกัปในอนาคต พระพุทธเจาพระนามวาโคดม จักอุบัติ ขึ้น ทานจักมีชื่อวาอนุรุทธะเปนยอดของภิกษุผูมีทิพยจักษุ ใน
พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 306
พระศาสนาของพระโคดมพุทธเจานั้น ก็แหละครั้นตรัสอยางนี้แลว ทรงกระทําภัตตานุโมทนาเสด็จกลับไปพระวิหาร.
ฝายกุฎมพีทํากรรมงามไมขาดเลย ตราบที่พระพุทธเจา ยังทรงพระชนมอยู เมื่อพระศาสดาปรินิพพานแลว เมื่อสรางเจดีย ทองประมาณ ๗ โยชนสําเร็จแลว จึงเขาไปหาภิกษุสงฆถามวา อะไรเปนบริกรรมของทิพยจักษุขอรับ. ภิกษุสงฆบอกวาควรให ประทีปนะอุบาสก. อุบาสกกลาววา ดีละขอรับผมจักทํา จึงให สรางตนประทีปพันตนเทากับประทีปพันดวงกอน ถัดจากนั้น สรางใหยอมกวานั้น ถัดจากนั้นสรางใหยอมกวานั้น รวมความวา ไดสรางตนประทีปหลายพันตน. สวนประทีปที่เหลือประมาณไมได เขาทํากัลยาณกรรม อยางนี้ตลอดชีวิต ทองเที่ยวไปในเทวดาและ มนุษยทั้งหลาย ลวงไปแสนกัป ในกาลแหงพระกัสสปสัมมาสัมพุทธเจา บังเกิดในเรือนกุฎมพีใกลกรุงพาราณสี เมื่อพระศาสดา ปรินิพพาน เมื่อสรางเจดียประมาณ ๑ โยชนสําเร็จแลว ใหสราง ภาชนะสําริดเปนอันมาก บรรจุเนยใสจนเต็ม ใหวางไสตะเกียง เวนระยะองคุลี ๑ๆ ในทามกลาง ใหจุดไฟขึ้นใหลอมพระเจดีย ใหขอบปากตอขอบปากจดกัน ใหสรางภาชนะสําริดใหญกวาเขา ทั้งหมดสําหรับตนใสเนยใสเต็ม จุดใสตะเกียงพันดวงรอบๆ ขอบ ปากภาชนะสําริดนั้น เอาผาเกาที่เปนจอมหุมไวตรงกลาง ใหจุดไฟ เทินภาชนะสําริด เดินเวียนเจดียประมาณ ๑ โยชน ตลอดคืนยังรุง. เขาทํากัลยาณกรรมตลอดชีวิต ดวยอัตตภาพแมนั้น ดวยอาการ อยางนี้ แลวบังเกิดในเทวโลก. เมื่อพระพุทธเจายังไมอุบัติขึ้น
พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 307
เขาถือปฏิสนธิในเรือนของตระกูลเข็ญใจ ในนครนั้นนั่นแลอีก เปน คนหาบหญา อาศัยสุมนเศรษฐีอยู เขาไดมีชื่อวา อันนภาระ. ฝาย สุมนเศรษฐีนั้น ใหมหาทานที่ประตูบาน แกคนกําพรา คนเดินทาง วณิพกและยาจก. ทุกวันๆ
ภายหลัง ณ วันหนึ่ง พระปจเจกพุทธเจา นามวาอุปริฏฐะ เขานิโรธสมาบัติ ที่ภูเขาคันธมาทน ออกจากสมาบัตินั้นแลว พิ- จารณาวา วันนี้ ควรจะทําการอนุเคราะหใคร. ก็ธรรมดาพระปจเจกพุทธเจาทั้งหลาย ยอมเปนผูอนุเคราะหคนเข็ญใจ ทานคิดวา วันนี้เราควรทําการอนุเคราะห นายอันนภาระ ทราบวา นายอันนภาระจักออกจากดงมายังบานตน จึงถือบาตรและจีวรจากภูเขา คันธมาทน เหาะขึ้นสูเวหาสมาปรากฏเฉพาะหนานายอันนภาระ ที่ประตูบานนั่นเอง. นายอันนภาระ เห็นพระปจเจกพุทธเจา ถือ บาตรเปลาจึงอภิวาทพระปจเจกพุทธเจาแลวถามวา ทานไดภิกษา บางไหมขอรับ. พระปจเจกพุทธเจากลาววา จักไดผูมีบุญมาก. เขากลาววา โปรดรออยูที่นี้กอนเถิดขอรับ แลวรีบไป ถามแมบาน ในเรือนของตนวา นางผูเจริญ ภัตอันเปนสวนเก็บไวเพื่อเรา มีหรือไม. นางตอบวา มี จะนาย. เขาไปจากที่นั้นรับบาตรจากมือพระปจเจกพุทธเจามากลาววา นางผูเจริญ เพราะคาที่ไมไดทํากัลยาณกรรม ไวในชาติกอน เราทั้ง ๒ จึงหวังไดอยูแตการรับจาง เมื่อความ ปรารถนาจะใหของพวกเรามีอยู แตไทยธรรมไมมี เมื่อไทยธรรมมี ก็ไมไดปฏิคาหก วันนี้เราพบพระอุปริฏฐปจเจกพุทธเจาเขาพอดี และภัตอันเปนสวนแบงก็มีอยู เจาจงใสภัตที่เปนสวนของฉันลง
พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 308
ในบาตรนี้. หญิงผูฉลาดคิดวา เมื่อใดสามีของเราใหภัตซึ่งเปน สวนแบง เมื่อนั้นแมเราก็พึงมีสวนในทานนี้ จึงวางแมภัตอันเปน สวนของตนลงในบาตรถวายแกอุปริฏฐปจเจกพุทธเจา. นายอันนภาระ นําบาตรอันบรรจุภัตมาวางในมือของพระปจเจกพุทธเจา แลวกลาววา ขอใหพวกขาพเจาพนจากความอยูอยางลําบากเห็น ปานนี้เถิดขอรับ. พระปจเจกพุทธเจา อนุโมทนาวา จงสําเร็จ อยางนั้นเถิดผูมีบุญมาก. เขาลาดผาหมของตนลง ณ ที่สวนหนึ่งแลว กลาววา ขอจงนั่งฉันที่นี้เถิด ขอรับ. พระปจเจกพุทธเจานั่ง ณ อาสนะนั้นแลว พิจารณาความเปนของปฏิกูล ๙ อยาง แลวจึงฉัน เมื่อฉันเสร็จแลว นายอันนภาระจึงถวายน้ําสําหรับลางบาตร พระปจเจกพุทธเจา เสร็จภัตกิจแลวกระทําอนุโมทนาวา
สิ่งที่ทานตองการแลวปรารภนาแลว จงสําเร็จ พลันเทียว ความดําริจงเต็มหมดเหมือนพระจันทรเพ็ญ ๑๕ ค่ํา ฉะนั้น สิ่งที่ทานตองการแลว ปรารถนาแลว จงสําเร็จพลันเทียว ความดําริจง เต็มหมด เหมือนมณีมีประกายโชติชวง ฉะนั้น
แลวออกเดินทางไป.
เทวดาที่สิงอยูที่ฉัตรของสุมนเศรษฐีกลาววา นาอัศจรรย ทานที่ตั้งไวดีแลวในพระปจเจกพุทธเจานามวา อุปริฏฐะเปนทาน อยางยิ่งถึง ๓ ครั้ง แลวไดใหสาธุการ สุมนเศรษฐีกลาววา ทาน ไมเห็นเราใหทานอยูตลอดเวลามีประมาณเทานี้ดอกหรือ เทวดา
พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 309
กลาววา เราไมใหสาธุการในทานของทาน เราเลื่อมใสในบิณฑบาต ที่นายอันนภาระถวายแดพระปจเจกพุทธเจานามวาอุปริฏฐะ จึง ใหสาธุการ สุมนเศรษฐีดําริวา เรื่องนี้นาอัศจรรยหนอ เราให ทานตลอดเวลามีประมาณเทานี้ ก็ไมอาจทําใหเทวดาใหสาธุการ นายอันนภาระนี้อาศัยเราอยู ดวยการถวายบิณฑบาตครั้งเดียวเทานั้น ทําใหเทวดาใหสาธุการได เพราะไดบุคคลผูเปนปฏิคาหกที่สมควร เราใหสิ่งที่สมควรแกนายอันนภาระนั้น แลวทําบิณฑบาตนั้นให เปนของของเราจึงจะควร ดังนี้ เรียกนายอันนภาระมาแลวถามวา วันนี้เจาใหทานอะไรๆ แกใครหรือ ขอรับนายทาน ขาพเจาถวาย ภัตรที่เปนสวนของขาพเจาแกพระปจเจกพุทธเจานามวาอุปริฏฐะ เศรษฐีกลาววา เอาเถอะเจา เธอจงรับกหาปณะไปแลวใหบิณฑบาต นั้นแกเราเถอะ ใหไมไดหรอกนายทาน เศรษฐีเพิ่มทรัพยขึ้นจนถึง พันกหาปณะ นายอันนภาระก็ยังกลาววา แมถึงพันกหาปณะก็ยัง ใหไมได เศรษฐีกลาววา ชางเถอะเจา หากเจาไมใหบิณฑบาต ก็จงรับทรัพยพันกหาปณะไปแลวจึงใหสวนบุญแกฉันเถอะ นายอันภาระ กลาววา ขาพเจาไมทราบวาแมสวนบุญนั้นควรใหหรือไมควรให แตขาพเจาจะถามพระปจเจกพุทธเจานามวาอุปริฏฐะดู ถาควร ใหก็จักให ถาไมควรใหก็จักไมให นายอันนภาระเดินไปทันพระปจเจกพุทธเจา ถามวา ทานเจาขา สุมนเศรษฐีใหทรัพยแกขาพเจา พันหนึ่ง ขอสวนบุญในบิณฑบาตที่ถวายแกทาน ขาพเจาควรจะ ใหหรือไมให พระปจเจกพุทธเจากลาววา บัณฑิต เราจักทําอุปมา แกทาน เหมือนอยางวา ในบานตําบลนี้มีรอยตระกูล เราจุดประทีป ไวในเรือนหลังหนึ่งเทานั้น ตระกูลพวกนี้เอาน้ํามันเติมใหใสตะเกียง
พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 310
ชุมแลวมาตอไฟถือไป แสงของประทีปดวงเดิมยังมีอยูหรือหาไม นายอันนภาระกลาววา ทานเจาขา แสงประทีปก็สวางขึ้นไปอีก เจาขา ขอนี้อุปมาฉันใด ดูกอนบัณฑิต ขาวยาคูกระบวยหนึ่ง หรือ ขาวสวยทัพพีหนึ่งจงยกไว เมื่อทานใหสวนบุญแกคนเหลาอื่นใน บิณฑบาตของตน พันคนหรือแสนคนก็ตาม ใหแกคนเทาใด บุญก็ เพิ่มขึ้นแกตนมีประมาณเทานั้น เมื่อทานใหก็ใหบิณฑบาตอันเดียว นั่นแหละ ตอเมื่อใหสวนบุญแกสุมนเศรษฐีอีกเลา บิณฑบาตก็ ขยายไปเปน ๒ คือของทานสวนหนึ่ง ของเศรษฐีสวนหนึ่ง ดังนี้ นายอันนภาระกราบพระปจเจกพุทธเจาแลวกลับไปยังสํานักของ สุมนเศรษฐีกลาววา ขอทานจงรับสวนบุญในบิณฑบาตทานเถิด นายทาน เศรษฐีกลาววา เชิญทานรับทรัพยพันกหาปณะไปเถิด นายอันนภาระกลาววา ขาพเจาไมไดขายบิณฑบาตทาน แตขาพเจา ใหสวนบุญแกทานดวยศรัทธา เศรษฐีกลาววา พออันนภาระ พอให สวนบุญแกเราดวยศรัทธา แตเราบูชาคุณของพอ ฉันใหพันกหาปณะ นี้ จงรับไปเถอะพออันนภาระ นายอันนภาระกลาววา จงเปนอยางนั้น จึงถือเอาทรัพยพันกหาปณะไป เศรษฐีกลาววา พออันนภาระ ตั้งแตพอไดทรัพยพันกหาปณะแลว ไมตองทํากิจเกี่ยวแกกรรมกร ดวยมือของตน จงปลูกเรือนอยูใกลถนนเถิด ถาพอตองการสิ่งใด ฉันจะมอบสิ่งนั้นให พอจงมานําเอาไปเถอะ
ธรรมดาบิณฑบาตที่บุคคลถวายแดพระปจเจกพุทธเจา ผู ออกจากนิโรธสมาบัติ ยอมใหผลในวันนั้นนั่นเอง เพราะฉะนั้น สุมนเศรษฐีในวันอื่นแมไปสูราชตระกูล ไมเคยชวนนายอันนภาระ
พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 311
ไปดวย แตในวันนั้นไดชวนไปดวย เพราะอาศัยบุญของนายอีนนภาระ พระราชาไมมองดูเศรษฐีเลย ทรงมองแตนายอันนภาระ เทานั้น เศรษฐีจึงทูลถามวา เทวขาแตสมมติเทพ เหตุไฉนพระองค จึงทรงมองดูแตบุรุษผูนี้ยิ่งนักพระเจาคะ พระราชาตรัสวา เรา มองดูเพราะไมเคยเฝาในวันอื่นๆ เศรษฐีทูลวา เทวเขาสมควร มองดูอยางไร คุณที่ควรมองดูของเขาคืออะไร เพราะวันนี้เขา ไมบริโภคภัตรที่เปนสวนของตนดวยตนเอง แตถวายแดพระปจเจก พุทธเจานามวาอุปริฏฐะ เขาไดทรัพยพันกหาปณะจากมือของขาพระองค พระเจาขา พระราชาตรัสถามวา เขาชื่อไร ชื่อนายอันภาระพระเจาขา เพราะไดจากมือของทาน ก็ควรจะไดจากมือของเราบาง เราเองก็จักทําการ บูชาเขา จึงพระราชทานทรัพยพันกหาปณะแลวตรัสวา พนาย จงสํารวจดู เรือนที่คนนี้จะอยูได ราชบุรุษทูลวา พระเจาขา ราชบุรุษทั้งหลาย จัดแจงแผวถางที่สําหรับเรือนนั้นไดพบขุมทรัพยชื่อปงคละ ในที่ๆ จอบกระทบแลวๆ ตั้งเรียงกัน จึงมากราบทูลพระราชาใหทรงทราบ พระราชาตรัสวา ถาอยางนั้นจงไปขุดขึ้นมา เมื่อราชบุรุษเหลานั้น ขุดอยู ขุมทรัพยก็จมลงไป ราชบุรุษเหลานั้นไปกราบทูลพระราชา อีก พระราชาตรัสวา จงไปขุดตามคําของนายอันนภาระ ราชบุรุษ ก็ไปขุดตามคําสั่ง ขุมทรัพยเหมือนดอกเห็ดตูมๆ ผุดขึ้นในที่ๆ จอบกระทบแลว ราชบุรุษเหลานั้นขนทรัพยมากองไวในพระราชสํานัก พระราชาประชุมอํามาตยทั้งหลายแลวตรัสถามวา ในเมืองนี้ ใครมีทรัพยมีประมาณถึงเทานี้ไหม อํามาตยทูลวา ไมมีของใคร พระเจาขา ตรัสวา ถาอยางนั้น นายอันนภาระนี้จงชื่อวา ธนเศรษฐี ในพระนครนี้ เขาไดฉัตรประจําตําแหนงเศรษฐีในวันนั้นนั่นเอง.
พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 312
ตั้งแตวันนั้น เขากระทําแตกรรมอันดีงามจนตลอดชีวิต จุติจากภพนั้นไปเกิดในเทวโลก เวียนวายอยูในเทวดาและมนุษย เปนเวลานาน ครั้งที่พระศาสดาของพวกเราทรงอุบัติ ก็มาถือ ปฏิสนธิในนิเวศนเจาศากยะพระนามวา อมิโตทนะ กรุงกบิลพัสดุ ในวันขนานนาม ผูคนทั้งหลายตั้งชื่อเขาวา เจาอนุรุทธ เปนกนิษฐภาคาของเจาศากยะพระนามที่ มหานามะ เปนโอรสของพระเจา อาของพระศาสดา เปนสุขุมาลชาติอยางยิ่ง เปนผูมีบุญมาก ภัตร เกิดขึ้นในถาดทองแกเขาทีเดียว ภายหลังพระมารดาของเขาคิดวา จักใหลูกของเรารูจักบทวา "ไมมี" เอาถาดทองปดถาดทองอีก ใบหนึ่ง แลวสงใบแตถาดเปลาๆ ในระหวางทาง เทวดาทําใหเต็ม ดวยขนมทิพย เขามีบุญมากถึงเพียงนี้ อันเหลานางฟอนที่ประดับ ตกแตงแลวแวดลอมเสวยสมบัติบนปราสาท ๓ หลัง เหมาะแกฤดู ทั้ง ๓ เหมือนเทวดา.
สวนพระโพธิสัตวของเราจุติจากดุสิตในสมัยนั้น มาถือ ปฏิสนธิในครรภของอัครมเหสีของพระเจาสุทโธทนมหาราช ทรง เจริญวัยโดยลําดับ ทรงครองเรือนอยู ๒๙ ป แลวทรงเสด็จออก มหาภิเนษกรมณ ทรงแทงตลอดพระสัพพัญุตญาณโดยลําดับ ทรง ยับยั้งที่โพธิมัณฑสถาน ๗ สัปดาห ประกาศพระธรรมจักร ณ ปาอิสิปตนมิคทายวัน ทรงกระทําการอนุเคราะหโลก ทรงให อํามาตย ๑๐ คน พรอมทั้งบริวารคนละพัน ที่พระราชบิดาทรง สดับขาววา บุตรของเรามายังกรุงราชคฤหแลวตรัสวา ไปเถิด พนาย พวกเจาจงนําบุตรของเรามา ดังนี้ ใหบวชดวยเอหิภิกขุ บรรพชาแลว อันพระกาฬุทายีเถระทูลวิงวอนใหเสด็จจาริกจึงมี
พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 313
ภิกษุแสนรูปเปนบริวาร เสด็จออกจากรุงราชคฤหไปยังกรุงกบิลพัสดุ ทรงทําพระธรรมเทศนาอันวิจิตรมีปาฏิหาริยดวยอิทธิปาฏิหาริยเปนอันมาก ในสมาคมแหงพระญาติ ยังมหาชนใหดื่ม น้ําอมฤตแลว ครั้นวันที่ ๒ ทรงถือบาตรและจีวรไปประทับยืน ที่ทวารพระนคร ทรงรําพึงวา พระสัพพัญูพุทธเจาทั้งหลาย ทรงประพฤติการเสด็จกลับยังพระนครแหงสกุลอยางไรหนอ ดังนี้ ทราบวา ทรงประพฤติเที่ยวบิณฑบาตตามลําดับตรอก จึงทรง เสด็จเพื่อบิณฑบาตตามลําดับตรอก ทรงตรัสธรรมถวายพระราชา ผูทรงสดับขาววา บุตรของเราเที่ยวบิณฑบาตเสด็จมคธแลว ผูมีสักการะ สัมมานะที่พระราชบิดาทูลเชิญใหเสด็จมาแลว ทูลเชิญใหเสด็จเขานิเวศน ของพระองคทรงกระทําแลว ทรงอนุเคราะหพระญาติที่พึงทรงกระทําในที่นั้น ทรงกระทําแลว ทรงอนุเคราะหพระญาติที่พึงทรงกระทําในที่นั้น แลวใหราหุลกุมารบรรพชาแลว ไมนานนัก ก็เสด็จจากกรุงกบิลพัสดุ ไปจาริกในมัลลรัฐแลวเสด็จกลับมายังอนุปยอัมพวัน
สมัยนั้น พระเจาสุทโธทนมหาราช ทรงประชุมศากยะสกุล ทั้งหลายตรัสวา ถาบุตรของเราจักครองเรือน จักเปนพระเจา จักรพรรดิ์ ประกอบดวยรัตนะ ๗ แมราหุลกุมารนัดดาของเรา จักแวดลอมพระเจาจักรพรรดิ์นั้นเที่ยวไปกับหมูกษัตริย อนึ่ง ขอใหพวกทานทั้งหลายจงทราบความขอนี้ไวเถิดวา แตบัดนี้ บุตร ของเราทรงเปนพระพุทธเจาแลว ขัตติยกุมารจงเปนบริวารของ พระองคเถิด พวกทานจงใหทารกคนหนึ่ง จากตระกูลหนึ่งๆ ครั้น พระเจาสุทโธทนตรัสอยางนี้แลว ขัตติยกุมารถึงพันองคจึงออก
พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 314
ผนวชโดยพระดํารัสครั้งเดียวเทานั้น สมัยนั้นเจามหานาม เปนเจาแหงกุฎมพี จึงเขาไปหาเจาศากยะพระนามวา อนุรุทธะ ไดกลาวคํานี้วา พออนุรุทธะ บัดนี้ ศากยะกุมารที่มีชื่อเสียงออก ผนวชตามพระผูมีพระภาคเจาผูทรงผนวชแลว ไมมีใครๆ ออก ผนวชจากสกุลของเราเลย ถากระนั้นเจาจงบวช หรือวาพี่จักบวช เจาอนุรุทธไดฟงดํารัสของเจาพี่แลวไมยินดีในการครองเรือน ไดออกผนวชเปนพระองคที่ ๗ ลําดับแหงการผนวชของเจาอนุรุทธ นั้นมาแลวในคัมภีรสังฆเภทขันธกะ เจาอนุรุทธเสด็จไปยังอนุปยอัมพวัน บวชแลวดวยประการฉะนี้ บรรดาเจาศากยะกุมารเหลานั้น พระภัททิยเถระบรรลุพระอรหัตภายในพรรษานั่นเอง พระอนุรุทธเถระทําทิพยจักขุใหบังเกิด พระเทวทัตทําสมาบัติ ๘ ใหบังเกิด พระอานนทเถระตั้งอยูในโสดาปตติผล พระภัคคุเถระและพระกิมภิละเถระไดบรรลุอรหัตในภายหลัง ก็อภินิหารแหงความปรารถนา แตปางกอนของพระเถระทุกรูปนั้น จักมาถึงในเรื่องของแตละคน
ก็พระอนุรุทธเถระนี้เรียนกรรมฐานในสํานักของพระธรรม เสนาบดีแลวไปบําเพ็ญสมณธรรมปาจีนวังสทายวัน แควนเจติยะ ก็ตรึกแลวถึงมหาปริวิตก ๗ ประการ ลําบากในวิตกที่ ๘ พระ ศาสดาทรงทราบวา พระอนุรุทธลําบากในมหาปุริสวิตกที่ ๘ ทรงพระดําริวา เราจักทําความดําริของเธอใหเต็มจึงเสด็จไปใน ที่นั้น ประทับนั่งบนพุทธอาสนอันประเสริฐที่เขาปูลาดไว ทรงทํา มหาปุริสวิตกที่ ๘ ใหเติมแลวตรัสมหาอริยวงสปฏิปทา ประดับ ไปดวยความสันโดษดวยปจจัย ๔ และมีภาวนาเปนที่มายินดีแลว
พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 315
เสด็จเหาะไปถึงเภสกฬาวันเทียว พอพระตถาคตเสด็จไปแลวเทานั้น พระเถระมีวิชา ๓ เปนพระมหาขีณาสพใหญ คิดวา พระศาสดา รูใจของเรา เสด็จมาประทานมหาปุริสวิตกที่ ๘ ใหเต็ม อนึ่ง มโนรถ ของเรานั้นถึงที่สุดแลว ปรารภธรรมเทศนาอันไพเราะของพระพุทธเจาทั้งหลาย และธรรมที่ตนแทงตลอดแลวไดภาษิตอุทาน คาถาเหลานี้วา
พระศาสดาผูยอดเยี่ยมในโลก ทรงทราบความดําริของเราแลว เสด็จมาหาเราดวยมโนมยิทธิทางกาย เมื่อใดความดําริไดมีแกเรา เมื่อนั้นพระพุทธเจาทรงแสดงธรรมใหสูงขึ้น พระพุทธเจาผูทรง ยินดีในธรรมเครื่องไมเนิ่นชา ไดทรงแสดงธรรมเครื่องไมเนิ่นชา เรารูทั่วถึงธรรมของพระองคแลว เปนผูยินดีในพระศาสนาอยู วิชา ๓ เราก็บรรลุโดยลําดับแลว คําสั่งสอนของพระพุทธเจา เราก็ทําเสร็จแลว ดังนี้.
ตอมาภายหลัง พระศาสดาประทับอยู ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงสถาปนาทานไวในตําแหนงเอตทัคคะวา อนุรุทธะเปน ยอดของเหลาภิกษุสาวกผูมีทิพยจักขุในศาสนาของเรา
จบ อรรถกถาสูตรที่ ๕