ประวัติพระมหากัจจายนเถระ

 
chatchai.k
วันที่  15 มิ.ย. 2564
หมายเลข  34425
อ่าน  858

[เล่มที่ 32] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๑ หน้า 333

เอตทัคคบาลี

อรรถกถาสูตรที่ ๑๐

ประวัติพระมหากัจจายนเถระ


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 15 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 333

พึงทราบวินิจฉัยในสูตรที่ ๑๐ ดังตอไปนี้.

บทวา สงฺขิตฺเตน ภาสิตสฺส ความวา ของธรรมที่ตรัสไว โดยยอ. บทวา วิตฺถาเรน อตฺถ วิภชนฺตาน ความวา จําแนกอรรถ ออกทําเทศนานั้นใหพิสดาร. นัยวาพวกภิกษุเหลาอื่นไมอาจทํา พระดํารัสโดยยอของพระตถาคตใหบริบูรณ ทั้งโดยอรรถทั้งโดย พยัญชนะได แตพระเถระนี้อาจทําใหบริบูรณไดแมโดยทั้ง ๒ อยาง เพราะฉะนั้นทานจึงกลาววาเปนยอด. ก็แมความปรารถนาแตปาง กอนของพระเถระนั้น ก็เปนอยางนี้. อนึ่ง ในปญหากรรมของ พระเถระนั้น มีเรื่องที่จะกลาวตามลําดับดังตอไปนี้ :-

ไดยินวา ครั้งพระสัมมาสัมพุทธเจาพระนามวา ปทุมุตตระ พระเถระนั้นบังเกิดในสกุลคฤหบดีผูมหาศาล เจริญวัยแลว วันหนึ่ง ไปวิหารตามนัยที่กลาวแลวนั้นแล ยืนฟงธรรมอยูทายบริษัท เห็น ภิกษุรูปหนึ่งที่พระศาสดาทรงสถาปนาไวในตําแหนงเปนยอด ของเหลาภิกษุผูจําแนกอรรถแหงพระดํารัสที่พระองคตรัสโดยยอ ใหพิสดาร จึงคิดวา ภิกษุซึ่งพระศาสดาทรงชมเชยอยางนี้เปนใหญ หนอ แมในอนาคตกาล เราก็ควรเปนอยางภิกษุนี้ในศาสนาของ พระพุทธเจาพระองคหนึ่งดังนี้. จึงนิมนตพระศาสดาถวายมหาทาน

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
chatchai.k
วันที่ 15 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 334

๗ วัน ตามนัยที่กลาวแลวนั่นแล. หมอบลงแทบบาทมูลของพระศาสดา การทําความปรารถนาวาพระเจาขา ดวยผลแหงสักการะนี้ ขาพระองคไมปรารถนาสมบัติอื่น แตในอนาคตกาล ขอขาพระองค พึงไดตําแหนงนั้นในศาสนาของพระพุทธเจาพระองคหนึ่ง เหมือน ภิกษุที่พระองคทรงสถาปนาไวในตําแหนง ในวันสุดทาย ๗ วัน นับแตวันนี้ พระศาสดาทรงตรวจดูอนาคตกาล ทรงเห็นวา ความ ปรารถนาของกุลบุตรนี้จักสําเร็จ จึงทรงพยากรณวา กุลบุตร ผูเจริญ ในที่สุดแหงแสนกัปในอนาคต พระพุทธเจาพระนามวา โคดม จักทรงอุบัติขึ้น ทานจักเปนยอดของเหลาภิกษุผูจําแนก อรรถแหงคําที่ตรัสโดยสังเขปใหพิสดาร ในศาสนาของพระองค ดังนี้ทรงกระทําอนุโมทนาแลวเสด็จกลับไป.

ฝายกุลบุตรนั้นบําเพ็ญกุศลตลอดชีพแลวเวียนวายในเทวดา และมนุษยทั้งหลายแสนกัป ครั้งพระกัสสปพุทธเจาก็มาถือปฏิสนธิ ในครอบครัวกรุงพาราณสี เมื่อพระศาสดาปรินิพพานแลว ก็ไป ยังสถานที่สรางเจดียทอง จึงเอาอิฐทองมีคาแสนหนึ่งบูชา ตั้งความ ปรารถนาวา ขาแตพระผูมีพระภาคเจา สรีระของขาพระองค จงมีวรรณเพียงดังทองในที่ๆ เกิดแลวเถิด. ตอแตนั้น ก็การทํา กุศลกรรมตราบเทาชีวิต เวียนวายในเทวดาและมนุษยพุทธันดร หนึ่ง ครั้งพระทศพลของเราอุบัติ มาบังเกิดในเรือนแหงปุโรหิต ในกรุงอุชเชนี ในวันขนานนามทาน มารดาบิดาปรึกษากันวา บุตรของเรามีสรีระมีผิวดังทอง คงจะถือเอาชื่อของตนมาแลว จึง ขนานนามทานวากาญจนมาณพ ดังนี้

 
  ความคิดเห็นที่ 3  
 
chatchai.k
วันที่ 15 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 335

พอทานโตขึ้นแลวก็ศึกษาไตรเพท เมื่อบิดาวายชนมแลว ก็ไดตําแหนงปุโรหิตแทน โดยโคตรชื่อวากัจจายนะ พระเจาจัณฑปชโชตทรงประชุมอํามาตยแลวมีพระราชดํารัสวา พระพุทธเจา ทรงบังเกิดขึ้นในโลกแลว พวกเจาเปนผูสามารถจะทูลนําพระองค มาได ก็จงนําพระองคมานะพอนะ อํามาตยทูลวา ขาแตสมมติเทพ คนอื่นชื่อวาเปนผูสามารถจะนําพระทศพลมาไมมี อาจารยกาญจนพราหมณเทานั้นสามารถ ขอจงทรงสงทานไปเถิดพระเจาขา พระราชาตรัสเรียกใหกัจจายนะมาตรัสสั่งวา พอจงไปยังสํานัก ของพระทศพลเจา อ.ทูลวา ขาแตมหาราชเจา เมื่อขาพระองค ไปแลวไดบวชก็จักไป พระราชาตรัสวา เจาจะทําอยางใดอยางหนึ่ง แลวก็นาพระตถาคตมาซิพอ. กัจจายนอํามาตยนั้นคิดวา สําหรับ ผูไปสํานักของพระพุทธเจาไมจําตองทําดวยคนจํานวนมากๆ จึงไปเพียง ๘ คน. ครั้งนั้นพระศาสดาทรงแสดงธรรมแกอํามาตย นั้น จบเทศนาทานไดบรรลุพระอรหัตพรอมทั้งปฏิสัมภิทากับ ชนทั้ง ๗ คน พระศาสดาทรงเหยียดพระหัตถตรัสวา เอถ ภิกฺขโว (ทานทั้งหลายจงเปนภิกษุเถิด) ในขณะนั้นนั่นเทียว ทุกๆ คนก็มี ผมและหนวดหายไป ทรงบาตรและจีวรอันสําเร็จดวยฤทธิ์ เปน ประดุจพระเถระ ๑๐๐ พรรษาฉะนั้น. พระเถระเมื่อกิจของตน ถึงที่สุดแลวไมนั่งนิ่ง กลาวสรรเสริญการเสด็จไปกรุงอุชเชนี ถวายพระศาสดาเหมือนพระกาฬุทายีเถระ พระศาสดาสดับคํา ของทานแลวทรงทราบวา พระกัจจายนะยอมหวังการไปของเรา ในชาติภูมิของตน แตธรรมดาพระพุทธเจาทั้งหลายทรงอาศัยเหตุ อันหนึ่ง จึงไมเสด็จไปสูที่ที่ไมสมควรเสด็จ. เพราะฉะนั้นจึงตรัสกะ

 
  ความคิดเห็นที่ 4  
 
chatchai.k
วันที่ 15 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 336

พระเถระวา ภิกษุ ทานนั่นแหละจงไป เมื่อทานไปแลว พระราชา จักทรงเลื่อมใส พระเถระคิดวา พระพุทธเจาทั้งหลายไมตรัสเปน คําสอง ดังนี้จึงถวายบังคมพระตถาคต ไปกรุงอุชเชนีพรอมกับ ภิกษุทั้ง ๗ รูปที่มาพรอมกับตนนั่นแหละ ในระหวางทางภิกษุ เหลานั้นไดเที่ยวบิณฑบาตในนิคมชื่อวา นาลินิคม.

ในนิคมแมนั้น มีธิดาเศรษฐี ๒ คน คนหนึ่งเกิดในตระกูล เกาแกเข็ญใจ เมื่อมารดาบิดาลวงไปแลว ก็อาศัยเปนนางนมเลี้ยง ชีพ. แตอัตภาพของเธอบึกบึน ผมยาวเกินคนอื่นๆ , ในนิคมนั้น นั่นแหละ ยังมีธิดาของตระกูลอิศรเศรษฐีอีกคนหนึ่ง เปนคนไมมีผม เมื่อกอนนั้นมาแมนางจะกลาววา ขอใหนาง (ผมดก) สงไปให ฉันจักใหทรัพย๑๐๐ หนึ่ง หรือ ๑,๐๐๐ หนึ่งแกเธอ ก็ใหเขานํา ผมมาไมได ก็ในวันนั้น ธิดาเศรษฐีนั้นเห็นพระมหากัจจายนเถระ มีภิกษุ ๗ รูปเปนบริวาร เดินมามีบาตรเปลา คิดวาภิกษุผูเปน เผาพันธุพราหมณรูปหนึ่ง มีผิวดังทองรูปนี้เดินไปบาตรเปลา ทรัพยอยางอื่นของเราก็ไมมี แตวาธิดาเศรษฐีบานโนน (เคย) สง (คน) มาเพื่อตองการผมนี้ ตอนนี้เราอาจถวายไทยธรรมแก พระเถระไดดวยทรัพยที่เกิดจากที่ไดคาผมนี้ ดังนี้จึงสงสาวใช ไปนิมนตพระเถระทั้งหลายใหนั่งภายในเรือน พอพระเถระนั่งแลว (นาง) ก็เขาหองตัดผมของตน กลาววา แนแม จงเอาผมเหลานี้ ใหแกธิดาเศรษฐีบานโนน แลวเอาของที่นางใหมา เราจะถวาย บิณฑบาตแกพระผูเปนเจาทั้งหลาย. สาวใชเอาหลังมือเช็ดน้ําตา เอามือขางหนึ่งกุมเนื้อตรงหัวใจปกปดไวในสํานักพระเถระทั้งหลาย ถือผมนั้นไปยังสํานักของธิดาเศรษฐี. ธรรมดาขึ้นชื่อวาของที่จะขาย

 
  ความคิดเห็นที่ 5  
 
chatchai.k
วันที่ 15 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 337

แมมีสาระ (ราคา) เจาของนําไปใหเอง ก็ไมทําใหเกิดความเกรงใจ. ฉะนั้น ธิดาเศรษฐีจึงคิดวา เมื่อกอนเราไมอาจจะใหนําผมเหลานี้ มาไดดวยทรัพยเปนอันมาก แตบัดนี้ตั้งแตเวลาตัดออกแลว ก็ไมได ตามราคาเดิม จึงกลาวกะสาวใชวา เมื่อกอนฉันไมอาจใหนําผมไป แมดวยทรัพยเปนอันมาก แตผมนี้นําไปที่ไหนๆ ก็ได ไมใชผมของ คนเปน มีราคาแค ๘ กหาปณะ จึงใหไป ๘ กหาปณะเทานั้น สาวใช นํากหาปณะไปมอบใหแกธิดาเศรษฐี. ธิดาเศรษฐีก็จัดบิณฑบาต แตละที่ ใหมีคาที่ละกหาปณะหนึ่งๆ ใหถวายแดพระเถระทั้งหลาย แลว. พระเถระรําพึงแลว เห็นอุปนิสัยของธิดาเศรษฐี จึงถามวา ธิดาเศรษฐีไปไหนะ สาวใชตอบวา อยูในหองเจาคะ พระเถระวา จงไปเรียกนางมาซิ. พระเถระพูดครั้งเดียวนางมาดวยความเคารพ ในพระเถระ ไหวพระเถระแลวเกิดศรัทธาอยางแรง บิณฑบาต ที่ตั้งไวในเขตอันบริสุทธิ์ ยอมใหวิบากในปจจุบันชาติทีเดียว เพราะ ฉะนั้น พรอมกับการไหวพระเถระ ผมทั้งหลายจึงกลับมาตั้งอยูเปน ปกติ

ฝายพระเถระทั้งหลายถือเอาบิณฑบาตนั้นเหาะขึ้นไปทั้งที่ ธิดาเศรษฐีเห็น ก็ลงพระราชอุทยานชื่ออุทธยานกัญจนะ คนเฝา พระราชอุทยานเห็นพระเถระนั้นแลวจึงไปเขาเฝาพระราชา กราบ ทูลวา ขาแตสมมติเทพ พระคุณเจาภัจจายนะปุโรหิตของเราบวช แลวกลับมายังอุทยานแลวพระเจาขา พระเจาจัณฑปชโชตจึงเสด็จ ไปยังอุทยาน ไหวพระเถระผูกระทําภัตกิจแลวดวยเบญจางคประดิษฐ แลวประทับนั่ง ณ ที่สมควรสวนหนึ่ง ตรัสถามวา ทานเจาขา พระผูมีพระภาคเจาประทับอยู ณ ที่ไหนละ พระเถระทูลวา พระองค

 
  ความคิดเห็นที่ 6  
 
chatchai.k
วันที่ 15 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 338

มิไดเสด็จมาเอง ทรงสงอาตมะมา มหาบพิตร พระราชาตรัสถามวา ทานผูเจริญ วันนี้พระคุณเจาไดภิกษา ณ ที่ไหน พระเถระทูล บอกเรื่องที่กระทําไดโดยยากที่ธิดาเศรษฐีกระทําทุกอยางให พระราชาทรงทราบ ตามถอยคําควรแกที่ตรัสถาม พระราชา ตรัสใหจัดแจงที่อยูแกพระเถระแลวนิมนตพระเถระไปยังนิเวศน แลวรับสั่งใหไปนําธิดาเศรษฐีมาตั้งไวในตําแหนงอัครมเหษีแลว ก็การไดยศในปจจุบันชาติไดมีแลวแกหญิงนี้ จําเดิมแตนั้นพระราชา ทรงกระทําสักการะใหญแกพระเถระ มหาชนเลื่อมใสในธรรมกถา ของพระเถระ บวชในสํานักของพระเถระ จําเดิมแตกาลนั้น ทั่ว พระนครก็รุงเรื่องดวยผากาสาวพัตรเปนอันเดียวกัน คลาคล่ํา ไปดวยหมูฤาษี ฝายพระเทวีนั้นทรงครรภ พอลวงทศมาสก็ประสูติ พระโอรส ในวันถวายพระนามโอรสนั้น พระญาติทั้งหลายถวาย พระนามของเศรษฐีผูเปนตาวา โคปาลกุมาร. พระมารดาก็มี พระนามวา โคปาลมารดาเทวี ตามชื่อของพระโอรส พระนาง ทรงเลื่อมใสในพระเถระอยางยิ่ง ขอพระราชานุญาตสรางวิหาร ถวายพระเถระในกัญจนราชอุทยาน. พระเถระยังชาวอุชเชนี ใหเลื่อมใสแลว ไปเฝาพระศาสดาอีกครั้งหนึ่ง ตอมาภายหลัง พระศาสดาเมื่อประทับอยู ณ เชตวันมหาวิหาร ทรงการทําพระสูตร ๓ สูตร เหลานี้คือ มธุบิณฑิกสูตร, กัจจายนเปยยาลสูตร, ปรายนสูตร ใหเปนอรรถุปบัติเหตุ แลวทรงสถาปนาพระเถระไวในตําแหนง เปนยอดของเหลาภิกษุ ผูจําแนกอรรถแหงพระดํารัสที่ทรงตรัส โดยยอใหพิสดารแลว

จบ อรรถกถาสูตรที่ ๑๐

จบวรรคที่ ๑๐

 
  ความคิดเห็นที่ 7  
 
chatchai.k
วันที่ 15 มิ.ย. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

 
  ความคิดเห็นที่ 8  
 
Witt
วันที่ 31 ต.ค. 2564

ขออนุโมทนาครับ

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ