๖. ปฐมเสขสูตร ว่าด้วยโยนิโสมนสิการได้บรรลุผลสูงสุด

 
chatchai.k
วันที่  22 มิ.ย. 2564
หมายเลข  34468
อ่าน  703

[เล่มที่ 45] พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อิติวุตตก เล่ม ๑ ภาค ๔ - หนาที่ 115

๖. ปฐมเสขสูตร

วาดวยโยนิโสมนสิการไดบรรลุผลสูงสุด

[๑๙๔] จริงอยู พระสูตรนี้พระผูมีพระภาคเจาตรัสแลว พระสูตรนี้ พระผูมีพระภาคเจาผูเปนพระอรหันตตรัสแลว เพราะเหตุนั้น ขาพเจาไดสดับ มาแลววา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เมื่อภิกษุผูเปนเสขะยังไมบรรลุอรหัตตผล ปรารถนาความเกษมจากโยคะอันยอดเยี่ยมอยู เราไมพิจารณาเห็นแมเหตุอันหนึ่ง อยางอื่น กระทําเหตุที่มี ณ ภายในวามีอุปการะมาก เหมือนโยนิโสมนสิการ นี้เลย ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุมนสิการโดยแยบคาย ยอมละอกุศลเสียได ยอมเจริญกุศลใหเกิดมี.

พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสเนื้อความนี้แลว ในพระสูตรนั้น พระผูมีพระภาคเจาตรัสคาถาประพันธดังนี้วา

ธรรมอยางอื่นอันมีอุปการะมากเพื่อ บรรลุประโยชนอันสูงสุด แหงภิกษุผูเปน พระเสขะ เหมือนโยนิโสมนสิการ ไมมี เลย ภิกษุเริ่มตั้งไวซึ่งมนสิการโดยแยบ- คาย พึงบรรลุนิพพานอันเปนที่สิ้นไปแหง ทุกขได

เนื้อความแมนี้พระผูมีพระภาคเจาตรัสแลว เพราะฉะนั้น ขาพเจาได สดับมาแลว ฉะนั้นแล

จบปฐมเสขสูตรที่ ๖


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 22 มิ.ย. 2564

[เล่มที่ 45] พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อิติวุตตก เล่ม ๑ ภาค ๔ - หนาที่ 116

อรรถกถาปฐมเสขสูตร

ในปฐมเสขสูตรพึงทราบวินิจฉัยดังตอไปนี้ :-

คําวา เสกฺโข ในบทวา เสกฺขสฺส นี้ มีความวาอยางไร. ชื่อวา เสกขะ เพราะไดเสกขธรรม. สมดังที่ทานกลาวไววาขาแตทานผูเจริญ ดวยเหตุ เพียงเทาไร ภิกษุชื่อวาเปนเสกขะ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ประกอบดวยทิฏฐิอัน เปนเสกขะ ฯลฯ ประกอบดวยสมาธิอันเปนเสกขะ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ดวยเหตุเพียงเทานี้แล ภิกษุชื่อวาเปนเสกขะ อีกอยางหนึ่ง ชื่อวา เสกขะเพราะ ยังตองศึกษา แมขอนี้ก็ตรัสไววา สิกฺขตีติ โข ภิกฺขเว ตสิมา เสกฺโขติ วุจฺจจิ ดูกอนภิกษุทั้งหลายเพราะภิกษุยังตอศึกษา ฉะนั้นจึงเรียกวา เสกขะ. ถามวาศึกษาอะไร. ตอบวา ศึกษาอธิศีลบางอธิจิตบาง อธิปญญาบาง เพราะยังตองศึกษา ดังนี้แล ฉะนั้นจึงเรียกวาเสกขะ แมผูที่เปนกัลยาณปุถุชน กระทําใหบริบูรณดวยอนุโลมปฏิปทา ถึงพรอมดวยศีล คุมครองทวารใน อินทรียทั้งหลาย รูจักประมาณในโภชนะ ประกอบความเพียรโดยไมเห็นแก นอนมากนัก ประกอบความเพียรดวยการเจริญโพธิปกขิยธรรมตลอดราตรีตน ราตรีปลาย ดวยหวังวา เราจักบรรลุ สามัญญผลอยางใดอยางหนึ่ง ในวันนี้ หรือในวันพรุงนี้ ทานก็เรียกวา เสกขะ เพราะยังตองศึกษา ในขอนี้ทาน ประโยคสงคเอาพระเสขะผูยังไมแทงตลอด ที่แทก็เปนกัลยาณปุถุชน

ชื่อวา อปฺปตฺตมานโส เพราะอรรถวา ยังไมบรรลุอรหัตตผล ทานกลาวราคะวาเปนมานสะ ในบทนี้วา บทวา มานส ไดแก ราคะเที่ยวไป ดุจตาขายลอยอยูบนอากาศ ไดแกจิตในบทนี้วา จิต มนะ ชื่อวา มานสะ ไดแก พระอรหัตในบทนี้วา พระเสกขะ ยังไมบรรลุพระอรหัต พึงทํากาละ

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
chatchai.k
วันที่ 22 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย อิติวุตตกเลม ๑ ภาค ๔ - หนาที่ 117

ในหมูชน. ในสูตรนี้ทานประสงคเอาพระอรหัตอยางเดียว. ดวยเหตุนั้นจึงเปน อันกลาวไดวา อปฺปตฺตารหตฺตสฺส แปลวา ยังไมบรรลุพระอรหัต. บทวา อนุตฺตร คือ ประเสริฐที่สุด อธิบายวาไมมีเหมือน. ชื่อวา โยคกฺเขม ทีเดียว.

บทวา ปฏยมานสฺส ไดแก ความปรารถนาสองอยาง คือ ตณฺหาปฏนา (ความปรารถนาดวยตัณหา) ๑ ฉนฺทปฏนา (ความปรารถนา ดวยความพอใจ) ๑. ตณฺหาปฏนา ไดในบทนี้วา

ปรารถนา กระซิบกระซาบถึงตัณหา หรือ บนถึงแตในการประดับตกแตง.

กตฺตุกมฺยตากุสลจฺฉนฺทปฏนา ปรารถนาความพอใจในกุศล ใครจะทําไดในบทนี้วา

กระแสตัณหาของคนลามก ถูกตัด แลว ถูกกําจัดแลว ถูกทําใหหมดมานะ แลว ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจง เปนผูมากไปดวยความปราโมทยเถิด จงปรารถนาความเกษมเถิด.

ในที่นี้ทานประสงคเอา ฉันทปฏฐนานี้แล. ดวยเหตุนั้น บทวา ปตฺถยมานสฺส จึงมีอธิบายวา เปนผูใครเพื่อจะทําความเกษมจากโยคะนั้น คือ นอม โนมโอน ไปสูความเกษมนั้น.

บทวา วิหรโต ไดแกตัดขาดทุกขในอิริยาบถหนึ่ง ดวยอิริยาบถหนึ่ง แลวนําอัตภาพอันยังไมตกไป. อีกอยางหนึ่ง พึงเห็นความในบทนี้โดยนิเทศนัย

 
  ความคิดเห็นที่ 3  
 
chatchai.k
วันที่ 22 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย อิติวุตตกเลม ๑ ภาค ๔ - หนาที่ 118

(ชี้แจง) มีอาทิวา ภิกษุนอมไปอยูวา สังขารทั้งหลายทั้งปวงไมเที่ยงยอมอยู ดวยศรัทธา.

บทวา อชฺฌตฺติก ไดแก มีอยูในภายใน คือ ภายในตน ชื่อวา อัชฌัตติกะ. บทวา องฺค ไดแก เหตุ. บทวา อิติ กริตฺวา คือ ทําอยาง นี้ ความยอในบทนี้วา น อฺ เอกงฺคมฺป สมนุปสฺสามิ นี้มีดังนี้ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เราไมพิจารณาเห็นแมเหตุหนึ่งอยางอื่น กระทําเหตุอันมี ในภายใน คือ เหตุที่ตั้งอยูในสันดานของตนอยางนี้. บทวา เอว พหุปการ ยถยิท โยนิโสมนสิกาโร ไดแก มนสิการโดยอุบาย มนสิการโดยคลองธรรม มนสิการโดยนัยในอนิจจลักษณะเปนตนวา เปนของไมเที่ยงเปนตน หรือการ พิจารณา การตามพิจารณา การรําพึง การใครครวญ การใสใจ อนุโลมใน ของไมเที่ยงนี้ ชื่อวา โยนิโสมนสิการ.

บัดนี้ เพื่อทรงแสดงถึงอานุภาพแหงโยนิโสมนสิการ พระผูมีพระภาคเจาจึงตรัสวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุมนสิการอยูโดยแยบคาย ยอมละอกุศล ยอมเจริญกุศล ดังนี้.

ในบทเหลานั้น บทวา โยนิโส มนสิกโรนฺโต ความวายังโยนิโสมนสิการใหเปนไปในอริยสัจ ๔ วา นี้ ทุกขอริยสัจ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ดังนี้.

ตอไปนี้เปนความอธิบายอยางแจมแจงในอริยสัจ ๔ นั้น พระสูตรนี้ หมายเอาเสกขบุคคลโดยไมแปลกกันโดยแท แตเราจักกลาวกรรมฐานดวยสามารถ มรรค ๔ ผล ๔ โดยทั่วไป โดยสังเขป. พระโยคาวจรใดผูบําเพ็ญกรรมฐาน คือ อริยสัจ ๔ เปนผูบําเพ็ญกรรมฐาน คืออริยสัจ ๔ ในสํานักอาจารยมากอน อยางนี้วา ขันธทั้งหลายอันเปนไปในภูมิ ๓ มีตัณหา เปนโทษ เปนทุกข

 
  ความคิดเห็นที่ 4  
 
chatchai.k
วันที่ 22 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย อิติวุตตกเลม ๑ ภาค ๔ - หนาที่ 119

ตัณหาเปนเหตุใหเกิดทุกข ความไมเปนไปของทั้งสองนั้นเปนความดับทุกข การใหถึงความดับทุกข เปนมรรค ดังนี้ สมัยตอมา พระโยคาวจรนั้นขึ้นสู วิปสสนามรรค ยอมพิจารณาขันธอันเปนไปในภูมิ ๓ โดยแยบคายวา นี้ทุกข คือ พิจารณาและเห็นแจงโดยอุบาย คือ โดยคลองธรรม. ความจริง ในสูตรนี้ ทานกลาวถึงวิปสสนาดวยหัวขอมนสิการ. พระโยคาวจรยอมมนสิการโดย แยบคายวา ตัณหา มีในภพกอนอันเปนเหตุใหเกิดทุกขนั้น ชื่อวา ทุกขสมุทัย. ยอมมนสิการโดยแยบคายวา ก็เพราะนี้ทุกข นี้สมุทัย ทุกขทั้งหลายถึง ฐานะนี้แลว ยอมดับ ยอมไมเปนไป ฉะนั้นจึงถือวา นิพพานนี้คือ ทุกขนิโรธ. พระโยคาวจร ยอมมนสิการโดยแยบคาย ยอมพิจารณาและยอมเห็นแจงมรรค มีองค ๘ อันทําใหถึงความดับทุกขโดยอุบายโดยคลองวา นี้ทุกขนิโรธคามินี ปฏิปทา.

ในขอนั้น ชื่อวายึดมั่นโดยอุบายนี้ยอมมีในขันธ๕ ไมมีในนิพพาน. เพราะฉะนั้น จึงมีอธิบายดังตอไปนี้. พระโยคาวจร ยึด มหาภูตรูป ๔ โดยนัย มีอาทิวา ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ มีอยูในกายนี้ และ อุปาทารูป โดยทํานอง เดียวกับมหาภูตรูป ๔ นั้น แลวกําหนดวา นี้รูปขันธ ดังนี้. เมื่อใหกําหนด ดังนั้น จึงกําหนดถึงธรรม คือ จิตและเจตสิก อันมีรูปขันธนั้นเปนอารมณวา ธรรมเหลานี้คือ อรูปขันธ ๔. จากนั้นยอมกําหนดวา ขันธ๕ เหลานี้เปนทุกข. ก็ขันธ เหลานั้นโดยยอมีสองสวน คือ นามและรูป. พระโยคาวจรยอมกําหนด เหตุและปจจัยวาก็นามรูปนี้ มีเหตุ มีปจจัย จึงเกิดขึ้น อวิชชา ภพตัณหาเปนตน นี้ เปนเหตุของนามรูปนั้น อาหารเปนตนเปนปจจัยของนามรูปนั้น. พระโยคาวจรนั้น กําหนดลักษณะพรอมดวยกิจรสของปจจัยทั้งหลายเหลานั้น และธรรม ที่เกิดโดยปจจัย ตามความเปนจริงแลว ยกขึ้นสูอนิจจลักษณะวา ธรรมทั้งหลาย เหลานี้ไมมีแลว ครั้นมีแลวยอมดับไป เพราะฉะนั้น ธรรมทั้งหลายจึงไมเที่ยง

 
  ความคิดเห็นที่ 5  
 
chatchai.k
วันที่ 22 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย อิติวุตตกเลม ๑ ภาค ๔ - หนาที่ 120

ยอมยกขึ้นสูทุกขลักษณะวา ธรรมทั้งหลาย ชื่อวา เปนทุกข เพราะถูกความเกิด ความเสื่อม เบียดเบียน. ยอมยกขึ้นสูอนัตตลักษณะวา ธรรมทั้งหลาย ชื่อวา เปนอนันตตา เพราะไมเปนไปในอํานาจ. พระโยคาวจรครั้นยกขึ้นสูไตรลักษณ อยางนี้แลว เห็นแจงอยูกําหนดทางและมิใชทางวา เมื่อวิปสสนูปกิเลสมีแสงสวาง เปนตนเกิดขึ้นในขณะอุทยัพพยญาณเกิด นี้ไมใชทางอุทยัพพยญาณเทานั้นเปน อุบาย คือ เปนทางอันเปนสวนเบื้องตนของอริยมรรคแลว ยังอุทยัพพยญาณ และภังคญาณเปนตนใหเกิดขึ้นตามลําดับ ยอมบรรลุโสดาปตติมรรคเปนตน. ในขณะนั้นพระโยคาวจรยอมแทงตลอดอริยสัจ ๔ โดยการแทงตลอดครั้ง เดียวเทานั้น ยอมตรัสรูดวยการตรัสรูครั้งเดียว. ในอริยสัจนั้นพระโยคาวจร ยอมแทงตลอดทุกขดวยการแทงตลอดดวยกําหนดรู ยอมตรัสรูดวยการตรัสรู ครั้งเดียว. ในอริยสัจนั้น พระโยคาวจร แทงตลอดทุกขดวยการแทงตลอดดวย กําหนดรู แทงตลอดสมุทัยโดยแยบคายดวยการแทงตลอดดวยการละ ยอมละ อกุศลทั้งปวงได. พระโยคาวจรแทงตลอดนิโรธโดยการตรัสรูดวยการทําใหแจง แทงตลอดมรรคโดยการตรัสรูดวยภาวนา ยอมเจริญกุศลทั้งปวง. จริงอยู อริยมรรคชื่อวากุศล เพราะอรรถวากําจัดสิ่งที่นาเกลียดโดยตรง ก็เมื่อเจริญอริยมรรคแลว โพธิปกขิยธรรมอันหาโทษมิได เปนกุศลแมทั้งหมดก็ยอมถึงความ บริบูรณดวยภาวนา เพราะเหตุนั้น พระโยคาวจรเมื่อมนสิการโดยแยบคายอยางนี้ ยอมละอกุศลเสียได ยอมเจริญธรรมที่เปนกุศล. สมดังที่พระผูมีพระภาคเจา ตรัสเปนอาทิวา พระโยคาวจรยอมมนสิการโดยแยบคายวา นี้ทุกข นี้ทุกขสมุทัย ดังนี้. พระผูมีพระภาคเจาตรัสแมขออื่นอีกวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เมื่อ ภิกษุถึงพรอมแลวดวยโยนิโสมนสิการ ภิกษุจักเจริญมรรคองค ๘ อันเปน อริยะที่จะพึงหวังได จักทําใหมากซึ่งมรรคมีองค ๘ อัน เปนอริยะ ดังนี้

 
  ความคิดเห็นที่ 6  
 
chatchai.k
วันที่ 22 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย อิติวุตตกเลม ๑ ภาค ๔ - หนาที่ 121

ตอไปนี้เปนความยอแหงคาถาวา โยนิโส มนสิกาโร ชื่อวา เสกขะ เพราะยังตองศึกษาสิกขาบททั้งหลาย หรือเพราะยังมีการศึกษาอยูเปนปกติ. ชื่อวา ภิกษุ เพราะเห็นภัยในสงสาร ธรรมไรๆ อื่นที่มีอุปการะมาก เหมือนอยางโยนิโสมนสิการ เพื่อใหภิกษุผูยังเปนเสกขะนั้นบรรลุพระอรหัต อันมีประโยชนอยางสูงสุด ยอมไมมี ถามวา เพราะเหตุไร. ตอบวา เพราะ พระโยคาวจรมุงมนสิการ โดยอุบายอันแยบคาย แลวเริ่มตั้งความเพียรดวย สัมมัปปธาน ๔ อยาง พึงถึงความสิ้นทุกขได คือ พึงถึง พึงบรรลุพระนิพพาน อันเปนที่สิ้นสุดวัฏทุกขอันเศราหมองสิ้นเชิง ฉะนั้น โยนิโสมนสิการจึงเปน ธรรมมีอุปการะมาก ดังนี้

จบอรรถกถาปฐมเสกขสูตรที่ ๖

 
  ความคิดเห็นที่ 7  
 
chatchai.k
วันที่ 22 มิ.ย. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ