พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๗. ตติยอาชานียสูตร ว่าด้วยองค์ ๓ ของม้าต้นและของภิกษุ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  22 ต.ค. 2564
หมายเลข  38730
อ่าน  362

[เล่มที่ 34] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้า 488

ทุติยปัณณาสก์

โลณผลวรรคที่ ๕

๗. ตติยอาชานียสูตร

ว่าด้วยองค์ ๓ ของม้าต้นและของภิกษุ


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 34]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 เม.ย. 2565

พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้า 488

๗. ตติยอาชานียสูตร

ว่าด้วยองค์ ๓ ของม้าต้นและของภิกษุ

[๕๓๘] (สูตรนี้ก็เหมือนกัน ต่างกันแต่แก้ภิกษุมีเชาว์ เป็นพระอรหันต์ ดังนี้) ฯลฯ

ภิกษุมีเชาว์ เป็นอย่างไร? ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ ฯลฯ ในปัจจุบันนี้ อย่างนี้เรียกว่า ภิกษุมีเชาว์.

จบตติยอาชานียสูตรที่ ๗

อรรถกถาตติยอาชานียสูตร

ในสูตรที่ ๗ อรหัตตผล พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้แล้ว มรรคกิจ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้แล้วด้วยอรหัตตผลนั่นเอง. ส่วนผลไม่ควรเรียกว่า เชาว์ เพราะเกิดขึ้นได้ด้วยเชาว์ที่แล่นไปแล้ว.

จบอรรถกถาตติยอาชานียสูตรที่ ๗